บล็อก | น. แม่พิมพ์ทำด้วยแผ่นโลหะหรือไม้ ใช้ในกิจการพิมพ์. |
volcanic block | บล็อกภูเขาไฟ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
fault block | บล็อกรอยเลื่อน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
recovery block | บล็อกสำหรับกู้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
randomised block; randomized block | บล็อกเชิงสุ่ม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
randomized block; randomised block | บล็อกเชิงสุ่ม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
Blog | บล็อก, บล็อก เป็นคำผสมจากคำว่า Web และ Log [การจัดการความรู้] |
Block | บล็อก [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด] |
blog | บล็อก, ระบบการบันทึกข้อมูลลำดับเหตุการณ์ในแต่ละวัน ประสบการณ์ ความคิดของผู้เขียนบล็อกผ่านเว็บไซต์ ในรูปแบบการนำเสนอหัวข้อ ซึ่งผู้อื่นสามารถอ่านและแสดงความเห็นได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
microblog | ไมโครบล็อก, บล็อกที่มีการแสดงหัวข้อและความคิดเห็นที่กระชับ กะทัดรัด ผู้ใช้ที่เป็นสมาชิกสามารถเลือกหัวข้อจากบล็อกอื่นให้มาปรากฏในไมโครบล็อกของตนเอง หรือเลือกตามสมาชิกอื่นได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
บล็อก | [blǿk] (n) EN: blog FR: blog [ m ] ; journal personnel [ m ] |
บล็อก | [blǿk] (x) EN: block ; crucible |
cryptocurrency | (n) เงินตราเข้ารหัสลับ, คริปโทเคอร์เรนซี, สินทรัพย์ดิจิทัลที่เป็นสื่อกลางในการทำธุรกรรม ซึ่งใช้วิทยาการเข้ารหัสลับสำหรับรับประกันความถูกต้องของธุรกรรมนั้น เพื่อควบคุมการสร้างหน่วยเงินดิจิทัลเพิ่ม และเพื่อยืนยันความถูกต้องของการโอนสินทรัพย์ เป็นเงินดิจิทัลรูปแบบหนึ่งที่ควบคุมโดยกระจายศูนย์กลางผ่านบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
blockchain | (n) บล็อกเชน, วิธีการเก็บข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลงตามหลักการทางบัญชี โดยการเข้ารหัสและจัดเรียงข้อมูลเหล่านี้ต่อกันตามลำดับเวลาที่ข้อมูลเข้ามา กลุ่มข้อมูลดังกล่าวจะเผยแพร่ไปให้ผู้ใช้ในเครือข่ายที่กำหนดได้ทราบทั่วกัน ทั้งนี้ ผู้ใช้ทุกคนจะทราบการแก้ไขเพิ่มเติมรายการเปลี่ยนแปลงในบล็อกเชนทุกรายการตลอดเวลา [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
bitcoin | (n) บิตคอยน์, ชื่อสกุลเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทหนึ่งซึ่งใช้เทคโนโลยีบล็อกเชน [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
mould | (n) แม่พิมพ์, See also: บล็อก, Syn. cast |
block diagram | แผนภาพบล็อก <คำแปล>หมายถึงแผนภาพที่แสดงบล็อกรูปต่าง ๆ ที่มีการโยงด้วยเส้นหรือลูกศรให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ หรือการไหล (flow) หรือทิศทางเดินของข้อมูล |
blocking factor | จำนวนระเบียนต่อกลุ่มหมายถึง จำนวนระเบียนในหนึ่งบล็อก (block) ในการบันทึกข้อมูลลงแถบบันทึก (tape) นั้น จะบันทึก 1 ระเบียน (record) ต่อ 1 บล็อก หรือหลายระเบียนต่อ 1 บล็อกก็ได้ดู block ประกอบ |
drag and drop | ลากแล้วปล่อยลากไปวางหมายถึง การใช้เมาส์ลากสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (ภาพหรือข้อความทั้งบล็อก) บนจอภาพ ไปวางไว้ยังตำแหน่งใหม่ โดยต้องกำหนด (select) ให้คอมพิวเตอร์รู้ก่อน แล้วจึงใช้เมาส์ลากไป การลากด้วยเมาส์นั้น จะต้องกดนิ้วชี้บนปุ่มซ้ายของเมาส์แช่ไว้ ในขณะที่ลากเมาส์เพื่อนำไปวางในที่ ๆ ต้องการ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงจะยกนิ้วออกจากเมาส์ได้ ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) อาจลากไปได้ทั้งแถวหรือทั้งคอลัมน์ |
ibg | (ไอบีจี) ย่อมาจาก interblock gap (ช่องว่างระหว่างบล็อก) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ |
interblock gap | ช่องว่างระหว่างบล็อกใช้ตัวย่อว่า IBG (อ่านว่า ไอบีจี) ในการบรรจุข้อมูลลงในแถบบันทึกหรือเทป (tape) นั้นเราจะบรรจุลงเป็นระเบียน (record) หน่วยขับแถบบันทึกหรือเทป (tape drive) จะจัดให้มีช่องว่างระหว่างระเบียน (record) เพื่อไว้ช่วยในการปรับความเร็วในการอ่านและบันทึก (read/wtite) แต่ยิ่งมีระเบียนมาก ก็จะยิ่งเสียเนื้อที่ของเทปมากเพราะจะต้องมีช่องว่างมาก เพื่อเป็นการลดช่องว่าง จึงนิยมนำหลาย ๆ ระเบียนมารวมกัน เรียกว่า กลุ่มระเบียน หรือบล็อก และระหว่างกลุ่มแต่ละกลุ่ม ก็จะมีช่องว่าง ซึ่งเรียกว่า ช่องว่างระหว่างกลุ่มระเบียนดู interrecord gap เปรียบเทียบ |