66 ผลลัพธ์ สำหรับ -bibliog.-
หรือค้นหา: -bibliog.-, *bibliog.*

เนื่องจากผลลัพธ์มีน้อย ระบบจึงเปลี่ยนคำค้นเป็น bibliog

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
bibliography(n) บรรณานุกรม, See also: รายชื่อหนังสือโดยสังเขป, Syn. bibliog.

Hope Dictionary
bibliographer(บิบบลิออก'กระเฟอร์) n. ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับบรรณานุกรม
bibliography(บิบบลิออก'กระฟี่) n. บรรณานุกรม, รายชื่อหนังสือเฉพาะเรื่องหรือกลุ่มเรื่อง, See also: bibliographic adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม bibliographical adj. เกี่ยวกับบรรณานุกรม

Nontri Dictionary
bibliographer(n) บรรณารักษ์
bibliography(n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Bibliographerผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographerผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา, ผู้รวบรวมจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา]
Bibliographic citationการอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic controlการควบคุมทางบรรณานุกรม, Example: <p>การควบคุมทางบรรณานุกรม หมายถึง การเข้าถึงบันทึกความรู้ต่างๆ โดยการใช้บรรณานุกรม การควบคุมทางบรรณานุกรมช่วยให้ทราบว่ามีสิ่งพิมพ์หรือบันทึกความรู้ใดบ้างที่มีผู้บันทึกหรือจัดทำไว้ในสาขาวิชาต่างๆ ซึ่งสามารถเป็นเครื่องมือในการค้นคว้า นำออกมาใช้ได้ การควบคุมทางบรรณานุกรมสามารถทำได้โดย การจัดทำบรรณานุกรม ดรรชนี สาระสังเขป นามานุกรม เป็นต้น <p>องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ ได้มีรายงานเกี่ยวกับการปรับปรุงการควบคุมทางบรรณานุกรมที่ปารีส ค.ศ. 1950 ถึงความจำเป็นในการควบคุมทางบรรณานุกรม ว่าจำเป็นต้องมีการจัดทำบรรณานุกรมแห่งชาติเพื่อบันทึกหลักฐานของสิ่งพิมพ์และวัสดุความรู้อื่นๆ ที่ผลิตภายในประเทศ หน้าที่หนึ่งในจำนวนหน้าที่หลายประการขององค์การศึกษาฯ ก็คือ การปรับปรุงงานด้านการศึกษา ซึ่งรวมถึงกิจกรรมที่จัดทำขึ้นเพื่อปรับปรุงงานห้องสมุด งานด้านบรรณานุกรมและการผลิตสิ่งพิมพ์ <p>บทบาทขององค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติในการควบคุมบรรณานุกรมแห่งชาติ คือ <p>1. ร่วมกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ในการสำรวจงานด้านบรรณานุกรมและจัดพิมพ์ผลการสำรวจชื่อ Bibliographical Services : Their Present State and Posibilities of Improvement (ปี ค.ศ. 1953) <p>2. ชักชวนให้ทุกประเทศที่เป็นสมาชิกองค์การศึกษาฯ จัดทำบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ใหม่ๆ และร่วมมือในการให้ข้อมูลทางบรรณานุกรมแก่กัน จึงได้เริ่มรณรงค์เพื่อความร่วมกันดังกล่าว ตั้งแต่ ค.ศ. 1946 <p>3. จัดพิมพ์คู่มือการทำงานด้านการควบคุมทางบรรณานุกรม เขียนโดย Knud Larsen ชื่อ National Bibliographical Services : Their Creation and Operation และตีพิมพ์บทความ เขียนโดย Knud Larsen ในวารสาร Unesco Bulletin for Libraries ปีที่ 15 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ค.ศ. 1961 กล่าวถึง หน้าที่ของศูนย์บรรณานุกรมแห่งชาติ ซึ่งมีความสำคัญในการส่งเสริมให้มีกิจกรรมทางบรรณานุกรม <p>4. สำรวจและจัดพิมพ์ Guide to National Bibliographical Centeres (ปี ค.ศ. 1970) <p>5. การส่งเสริมการก่อตั้งระบบสารนิเทศแห่งชาติ (National Information System หรือ NATIS) วัตถุประสงค์ของระบบสารนิเทศแห่งชาติ คือ การสร้างโครงงานสำหรับกิจกรรมเพื่อที่จะประสานงานกันในงานสารนิเทศของประเทศต่างๆ ช่วยให้รัฐบาลของประเทศต่างๆ มองเห็นแนวทางที่จะดำเนินงานนี้ร่วมกัน และมุ่งจะช่วยให้ประเทศที่มีพัฒนาการต่างกันได้ประโยชน์จากระบบสารนิเทศของโลกทั่วกัน และมีส่วนร่วมในการกระจายสารนิเทศสองทาง คือ เป็นผู้ให้สารนิเทศและเป็นผู้ที่รับสารนิเทศด้วย องค์การศึกษาฯ ได้กำหนดให้ประเทศต่างๆ จัดกิจกรรมต่างๆ โดยให้ความสนับสนุนเพื่อให้ความพยายามที่จะควบคุมบรรณานุกรมสากล (Universal Bibliographical Control หรือ UBC) โดยให้เข้าถึงข้อมูลทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ทุกชิ้นโดยที่มีการบันทึกหลักฐานทางบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ไว้ในแบบแผนที่เป็นสากล <p>บรรณานุกรม <p>สุนทรี หังสะสูต. การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic formatรูปแบบการลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographic instructionการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม, Example: <b>การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรม (Bibliographic instruction)</b> เป็นบริการที่บรรณารักษ์ต้องเป็นผู้ให้ บริการแก่ผู้ใช้โดยการสอนหรือสร้างทักษะการรู้สารสนเทศให้แก่ผู้ใช้ ประกอบด้วยโปรแกรมการเรียนการสอนที่ออกแบบมาเพื่อสอนผู้ใช้ห้องสมุดเกี่ยวกับวิธีการค้นหาข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพเป็นการช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ด้วยตนเอง ในการสอนมักจะครอบคลุมถึงระบบของห้องสมุด โครงสร้างของวรรณกรรมในสาขา วิธีการวิจัยที่เหมาะสมในสาขาวิชา ทรัพยากรโดยเฉพาะ และเครื่องมือที่ใช้ในการค้นหา (บัตรรายการห้องสมุด ดัชนีและบริการสาระสังเขป ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ฯลฯ ) โดยการสอนแนวคิดและตรรกะในการเข้าถึงสารสนเทศและการประเมินผล และโดยสนับสนุนความเป็นอิสระของสารสนเทศและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนการใช้ห้องสมุดเกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ในชั้นเรียนแบบเป็นทางการ ในกลุ่มขนาดเล็ก การพบกันแบบตัวต่อตัว การนำเสนอด้วยวีดิทัศน์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน<br> <br>ในห้องสมุดมหาวิทยาลัย การสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมอาจเป็นการสอนโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาหรือเป็นการสอนแบบบูรณาการกับรายวิชาอื่นในหลักสูตร ห้องสมุดที่มีห้องปฏิบัติการการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ที่มีอุปกรณ์ครบครันสามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสอนเกี่ยวกับการใช้บัตรรายการออนไลน์ ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และทรัพยากรอินเทอร์เน็ต ซึ่งหน้าที่สอนการเข้าถึงรายการบรรณานุกรมเป็นหน้าที่หลักสำคัญของบรรณารักษ์ผู้ให้บริการที่ได้รับการฝึกอบรมเป็นพิเศษและมีประสบการณ์ในด้านวิธีการสอน อย่างไรก็ตามการสอนการเข้าถึงบรรณานุกรมโดยให้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาที่เรียนในหลักสูตรนั้น คณาจารย์อาจต้องร่วมมือกับบรรณารักษ์ของห้องสมุด เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิธีค้นสารสนเทศด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป นอกจากนั้นห้องสมุดมหาวิทยาลัยบางแห่งอาจจัดช่วงเวลาให้กับผู้ใช้ที่ทำวิจัย โดยบรรณารักษ์จะทำงานกับผู้ใช้แบบหนึ่งต่อหนึ่งเพื่อช่วยให้คำปรึกษาการทำวิจัยแก่ผู้ใช้ที่ทำวิจัยโดยเฉพาะ [Assistive Technology]
Bibliographic serviceบริการจัดทำบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical citationการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Bibliographical citationsการอ้างถึงทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading]

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bibliographic(n) รายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เอกสารอ้างอิง(n) bibliography, Example: ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่ม, Thai Definition: เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรณานุกรม[bannānukrom] (n) EN: bibliography  FR: bibliographie [ f ]
ดรรชนีชื่อหนังสือ[datchanī cheū nangseū] (n, exp) EN: title index  FR: bibliographie [ f ]
เอกสารอ้างอิง[ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography
ค้นคว้าเพิ่มเติม[khonkhwā phoēmtoēm] (n, exp) FR: références bibliographiques [ fpl ]

CMU Pronouncing Dictionary
bibliography
 /B IH2 B L IY0 AA1 G R AH0 F IY0/
/บิ บลี่ อ๊า เกรอะ ฝี่/
/bˌɪbliːˈɑːgrəfiː/
bibliographic
 /B IH2 B L IY0 AA1 G R AA2 F IH0 K/
/บิ บลี่ อ๊า กรา ฝิ ขึ/
/bˌɪbliːˈɑːgrˌɑːfɪk/
bibliographies
 /B IH2 B L IY0 AA1 G R AH0 F IY0 Z/
/บิ บลี่ อ๊า เกรอะ ฝี่ สึ/
/bˌɪbliːˈɑːgrəfiːz/
bibliographical
 /B IH2 B L IY0 AA0 G R AA1 F IH0 K AH0 L/
/บิ บลี่ อ่า กร๊า ฝิ เขิ่ล/
/bˌɪbliːɑːgrˈɑːfɪkəl/

Oxford Advanced Learners Dictionary
bibliography
 (n) /b i2 b l i o1 g r @ f ii/ /บิ บลิ เอ๊าะ เกรอะ ฝี่/ /bˌɪblɪˈɒgrəfiː/
bibliographer
 (n) /b i2 b l i o1 g r @ f @ r/ /บิ บลิ เอ๊าะ เกรอะ เฝิ่ร/ /bˌɪblɪˈɒgrəfər/
bibliographers
 (n) /b i2 b l i o1 g r @ f @ z/ /บิ บลิ เอ๊าะ เกรอะ เฝอะ สึ/ /bˌɪblɪˈɒgrəfəz/
bibliographies
 (n) /b i2 b l i o1 g r @ f i z/ /บิ บลิ เอ๊าะ เกรอะ ฝิ สึ/ /bˌɪblɪˈɒgrəfɪz/

WordNet (3.0)
bibliographer(n) someone trained in compiling bibliographies
bibliographic(adj) relating to or dealing with bibliography, Syn. bibliographical
bibliography(n) a list of writings with time and place of publication (such as the writings of a single author or the works referred to in preparing a document etc.)

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Bibliograph

n. Bibliographer. [ 1913 Webster ]

Bibliographer

n. [ Gr. &unr_;, fr. &unr_; book + &unr_; to write : cf. F. bibliographe. ] One who writes, or is versed in, bibliography. [ 1913 Webster ]

Bibliographical

{ } a. [ Cf. F. bibliographique. ] Pertaining to bibliography, or the history of books. -- Bib`li*o*graph"ic*al*ly, adv. [1913 Webster]

Variants: Bibliographic
Bibliography

pos>n.; pl. Bibliographies [ Gr. bibliografi`a: cf. F. bibliographie. ] 1. a history or description of books and manuscripts, with notices of the different editions, the times when they were printed, etc. [ 1913 Webster ]

2. a list of books or other printed works having some common theme, such as topic, period, author, or publisher. [ PJC ]

3. a list of the published (and sometimes unpublished) sources of information referred to in a scholarly discourse or other text, or used as reference materials for its preparation. [ PJC ]

4. the branch of library science dealing with the history and classification of books and other published materials. [ PJC ]


CC-CEDICT CN-EN Dictionary
传略[zhuànlu:è, ㄓㄨㄢˋlu:ㄜˋ,   /  ] bibliographic sketch #92,885 [Add to Longdo]
目录学[mù lù xué, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ ㄒㄩㄝˊ,    /   ] bibliography #97,300 [Add to Longdo]
传记性[zhuàn jì xìng, ㄓㄨㄢˋ ㄐㄧˋ ㄒㄧㄥˋ,    /   ] bibliographic #276,482 [Add to Longdo]

DING DE-EN Dictionary
Bibliografie { f }; Bibliographie { f } | Bibliografien { pl }; Bibliographien { pl } | abgeschlossene Bibliographiebibliography | bibliographies | closed bibliography [Add to Longdo]
Bibliograph { m }bibliographer [Add to Longdo]
bibliographischbibliographic [Add to Longdo]
bibliographische Beschreibung { f }bibliographic description [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
参照[さんしょう, sanshou] (n, vs) reference; bibliographical reference; consultation; browsing (e.g. when selecting a file to upload on a computer); checking out; (P) #418 [Add to Longdo]
書誌[しょし, shoshi] (n, adj-no) bibliography #3,825 [Add to Longdo]
総覧;綜覧;總覽(oK)[そうらん, souran] (n, vs, adj-no) guide; general survey; conspectus; comprehensive bibliography #7,159 [Add to Longdo]
ビブリオグラフィー[biburiogurafi-] (n) bibliography [Add to Longdo]
国際書誌[こくさいしょし, kokusaishoshi] (n) international bibliography [Add to Longdo]
参考書目[さんこうしょもく, sankoushomoku] (n) bibliography [Add to Longdo]
参考文献一覧[さんこうぶんけんいちらん, sankoubunken'ichiran] (n) bibliography [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] (n) (1) bibliography (i.e. the study of books); (2) bibliology (i.e. the study of books, booklore and bibliography); (P) [Add to Longdo]
書誌作成技術[しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu] (n) (technique of) bibliography [Add to Longdo]
書誌参照[しょしさんしょう, shoshisanshou] (n) bibliographic reference [Add to Longdo]

COMPDICT JP-EN Dictionary
国際書誌[こくさいしょし, kokusaishoshi] international bibliography [Add to Longdo]
参照[さんしょう, sanshou] bibliographical reference [Add to Longdo]
書誌[しょし, shoshi] bibliography [Add to Longdo]
書誌学[しょしがく, shoshigaku] bibliology, bibliography [Add to Longdo]
書誌作成技術[しょしさくせいぎじゅつ, shoshisakuseigijutsu] bibliography [Add to Longdo]
書誌参照[しょしさんしょう, shoshisanshou] bibliographic reference [Add to Longdo]
書誌要素[しょしようそ, shoshiyouso] bibliographic element [Add to Longdo]
新刊書誌[しんかんしょし, shinkanshoshi] current bibliography [Add to Longdo]
全国書誌[ぜんこくしょし, zenkokushoshi] national bibliography [Add to Longdo]
遡及書誌[そきゅうしょし, sokyuushoshi] retrospective bibliography [Add to Longdo]

JDDICT JP-DE Dictionary
書誌学[しょしがく, shoshigaku] Bibliographie, Buecherkunde [Add to Longdo]

Time: 0.0353 seconds, cache age: 7.006 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/