thesis | (n) หัวข้อของบทความ |
thesis | (n) วิทยานิพนธ์, Syn. dissertation, research |
thesis | (n) ข้อวินิจฉัย, See also: ข้อสมมุติ, ข้อสรุป, Syn. contention, proposal |
thesis | (ธี'ซิส) n. วิทยานิพนธ์, ข้อวินิจฉัย, ข้อสมมุติ, ข้อสรุป, บทความวิจัย, บทความ pl. theses |
anthesis | (แอนธี' ซิส) n. ระยะบานของดอกไม้ |
hypothesis | (ไฮพอธ'ธิชิส) n.สมมุติฐาน, ข้อสมมุติ, See also: hypothesist n. -pl, hypotheses |
hypothesise | (ไฮพอธ'ธิไซซ) vi., vt. สร้างสมมุติฐาน. vi. ให้เป็นสมมุติฐานก่อน |
parasynthesis | n. การสร้างคำศัพท์ที่ประกอบทั้งอุปสรรค (prefix) และอาคม (suffix) . |
parathesis | n. = parenthesis (ดู) |
parenthesis | (พะเรน'ธิซิส) n. วงเล็บ, See also: parenthetical adj. |
photosynthesis | (โฟโทซิน'ธิซิส) n. กระบวนการที่พืชสร้างคาร์โบไฮเดรตโดยรวมกันกับคาร์บอนไดอ๊อคไซด์และน้ำเมื่อมีแสงกับคลอ-โรฟิลล์., See also: photosynthetic adj. |
synthesis | (ซินธี'ซิส) n. การสังเคราะห์, See also: synthesist n. pl. syntheses |
synthesise | (ซิน'ธิไซซ) vt. สังเคราะห์, See also: synthesisation n. synthesization n. synthesis z er n. |
thesis | (n) วิทยานิพนธ์, ข้อสมมุติ, เรื่องแต่ง, ข้อวินิจฉัย, บทความ |
antithesis | (n) การต่อต้าน, ความตรงกันข้าม, สิ่งที่ตรงกันข้าม |
hypothesis | (n) สมมุติฐาน, การเดา |
parenthesis | (n) วงเล็บ, นขลิขิต |
synthesis | (n) การปะติดปะต่อ, การสังเคราะห์, การประสม |
thesis | ภาวะพื้นฐาน [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
thesis | ๑. ข้อปัญหา๒. วิทยานิพนธ์ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
thesis novel; problem novel | นวนิยายปัญหา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
thesis play; problem play | ละครปัญหา [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Thesis | วิทยานิพนธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Thesis | วิทยานิพนธ์, Example: บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดหัวข้อเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยหรือพรรณนาขยายความ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก วิทยานิพนธ์มีรูปแบบและมีส่วนประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ <p> <p> <p>1. ส่วนประกอบตอนต้น ( Preliminary Section) <p>2. ส่วนเนื้อความ (Text Section or Body of Text) <p>3. ส่วนอ้างอิงหรือส่วนประกอบตอนท้าย (References Section) <p>1. ส่วนประกอบดอนต้น (Preliminary Section) ส่วนนี้รวมตั้งแต่ปกหน้าไปจนถึงหน้าท้ายสุดก่อนส่วนเนื้อความ มีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ <p>1.1 ปก มีข้อมูลประกอบเฉพาะของวิทยานิพนธ์ คือ ชื่อเรื่องของวิทยานิพนธ์ ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ข้อมูลที่แจ้งว่าวิทยานิพนธ์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปริญญาใด ระดับการศึกษาใด ชื่อปริญญา ภาควิชา สถาบันการศึกษา ปีที่สำเร็จ และการอนุมัติปริญญา <p>1.2 ปกใน มีข้อมูลเช่นเดียวกับปก จะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.3 หน้าอนุมัติ หรือหน้าตรวจรับรอง (Approval page)จะมีข้อมูลหัวข้อวิทยานิพนธ์ ผู้เขียน ภาควิชา อาจารย์ที่ปรึกษา ข้อความอนุมัติและลายเซ็นต์คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ <p>1.4 บทคัดย่อ หรือสาระสังเขป (Abstract) ประกอบด้วยข้อความสรุปเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ที่สั้นกระทัดรัด ชัดเจน ทำให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ์อย่างรวดเร็ว มีทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.5กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ข้อความแสดงความขอบคุณบุุคคล สถาบัน และ/หรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อเขียนวิทยานิพนธ์ ตลอดทั้งคณะกรรมการสอบ ผู้สนับสนุนเงินทุนวิจัย ผู้ให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อมูล และผู้ที่อนุญานให้ใช้ข้อเขียนหรือเครื่องมือในการวิจัย <p>1.6 สารบัญ (Contents) เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสำคัญทั้งหมดของวิทยานิพนธ์ <p>1.7 สารบัญตาราง (List of Tables) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ พิมพ๋เรียงลำดับต่อจากส่วนสารบัญ <p>1.8 สารบัญภาพหรือสารบัญแผนภูมิ (List of Figures or List of Illustrations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งหน้าของรูปภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ <p>1.9 คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อ (List of Abbreviations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์และคำย่อต่างๆ ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ <p>2. ส่วนเนื้อความหรือเนื้อเรื่อง (Body of Text) ประกอบด้วย บทนำ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ <p>3. ส่วนอ้างอิง (Refereces Section) เป็นส่วนท้ายเล่ม ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
วิทยานิพนธ์ | (n) thesis, Example: ในปีพ.ศ. 2543 ท่านได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาคุมการทำวิทยานิพนธ์ และเป็นกรรมการด้วยผู้หนึ่ง, Count Unit: ฉบับ, เรื่อง, Thai Definition: บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยและพรรณนาขยายความเพื่อเสนอรับปริญญา |
วิทยานิพนธ์ | [witthayāniphon] (n) EN: thesis FR: thèse [ f ] |
thesis |
thesis |
thesis | (n) an unproved statement put forward as a premise in an argument |
Thesis | n.; I told them of the grave, becoming, and sublime deportment they should assume upon this mystical occasion, and read them two homilies and a thesis of my own composing, to prepare them. Goldsmith. [ 1913 Webster ] |
These { f } | Thesen { pl } | thesis | theses [Add to Longdo] |
総合(P);綜合 | [そうごう, sougou] (n, vs, adj-no) (1) synthesis; coordination; putting together; integration; composite; (adj-f) (2) comprehensive; (P) #254 [Add to Longdo] |
統合 | [とうごう, tougou] (n, vs) (1) integration; unification; synthesis; (adj-no) (2) integrated; built-in; (P) #714 [Add to Longdo] |
提出(P);堤出(iK) | [ていしゅつ, teishutsu] (vs) (1) to present; to submit (e.g. a report or a thesis); to hand in; to file; to turn in; (n) (2) presentation; submission; filing; (P) #808 [Add to Longdo] |
対 | [つい, tsui] (n) (1) pair; couple; set; (2) (See 対句) antithesis; (ctr) (3) counter for items that come in pairs; (4) counter for sets (of clothes, small furniture, utensils, etc.); (P) #879 [Add to Longdo] |
逆 | [ぎゃく, gyaku] (adj-na, n) (1) reverse; opposite; (2) converse (of a hypothesis, etc.); (P) #1,515 [Add to Longdo] |
義 | [ぎ, gi] (n, adj-no) (1) morality; righteousness; justice; honour (honor); (2) meaning; (3) { Buddh } teachings; doctrine; (n, n-pref) (4) nonconsanguineous relationship (i.e. of in-laws); (5) prosthesis #1,914 [Add to Longdo] |
出す | [だす, dasu] (v5s, vt) (1) to take out; to get out; (2) to put out; to reveal; to show; (3) to submit (e.g. thesis); to turn in; (4) to publish; to make public; (5) (See 手紙を出す) to send (e.g. letter); (6) (See 声を出す) to produce (a sound); to start (fire); (7) to serve (food); (suf) (8) to begin; (P) #1,943 [Add to Longdo] |
論文 | [ろんぶん, ronbun] (n) thesis; essay; treatise; paper; article; (P) #1,980 [Add to Longdo] |
反 | [はん, han] (n, vs, n-pref) anti-; opposite; antithesis; antagonism; (P) #2,315 [Add to Longdo] |
合成 | [ごうせい, gousei] (n, vs) (1) composition; synthesis; (adj-no) (2) composite; compound; synthetic; mixed; combined; (P) #3,012 [Add to Longdo] |
プレフィックス表記法 | [プレフィックスひょうきほう, purefikkusu hyoukihou] prefix notation, Polish notation, parenthesis-free notation, Lukasiewicz notation [Add to Longdo] |
ポーランド表記法 | [ポーランドひょうきほう, po-rando hyoukihou] prefix notation, Polish notation, parenthesis-free notation, Lukasiewicz notation [Add to Longdo] |
ルカーシェビッチ表記法 | [ルカーシェビッチひょうきほう, ruka-shiebicchi hyoukihou] prefix notation, Polish notation, parenthesis-free notation, Lukasiewicz notation [Add to Longdo] |
右小括弧 | [みぎしょうかっこ, migishoukakko] closing parenthesis ()) [Add to Longdo] |
音声合成 | [おんせいごうせい, onseigousei] voice synthesis [Add to Longdo] |
仮説の検定 | [かせつのけんてい, kasetsunokentei] hypothesis testing [Add to Longdo] |
学位論文 | [がくいろんぶん, gakuironbun] thesis, dissertation [Add to Longdo] |
左小括弧 | [ひだりしょうかっこ, hidarishoukakko] opening parenthesis [Add to Longdo] |
前置表記法 | [ぜんちひょうきほう, zenchihyoukihou] prefix notation, Polish notation, parenthesis-free notation, Lukasiewicz notation [Add to Longdo] |