ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ชาวบ้าน, -ชาวบ้าน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ชาวบ้าน | (n) villager, See also: folk, ordinary people, commoner, people, neighbours, Syn. คนเดินดิน, สามัญชน, คนธรรมดา, ประชาชน, ราษฎร, Example: ชาวบ้านส่วนใหญ่ในหมู่บ้านนี้มีอาชีพทำการเกษตร, Count Unit: คน | คติชาวบ้าน | (n) folklore, See also: folk story, Example: แดงกำลังสนใจศึกษาคติชาวบ้านของชาวไทยภูเขา, Thai Definition: เรื่องราวของชาวบ้านที่เล่าปากต่อปากและประพฤติสืบกันมาหลายชั่วอายุคน | วิถีชาวบ้าน | (n) folkways, Syn. วิถีประชา, Example: บัดนี้วิถีชาวบ้านแบบดั้งเดิมของชาวไทยภูเขาได้เปลี่ยนไปแล้ว, Thai Definition: ลักษณะนิสัยหรือแบบอย่างประเพณีที่นิยมกันว่าเป็นสิ่งที่ดีงาม | เพลงชาวบ้าน | (n) folk song, Example: ผมชอบท่วงทำนองและเนื้อหาของเพลงชาวบ้าน ฟังแล้วเข้าใจง่ายดี, Count Unit: เพลง | สังคมชาวบ้าน | (n) folk society, Example: ครูต้องเข้ากับสังคมชาวบ้านได้ดีถึงจะเป็นประโยชน์กับตัวครูเอง | ลูกเสือชาวบ้าน | (n) civil boy scout, Example: เขามาฝึกเป็นลูกเสือชาวบ้าน เพื่อไปทำประโยชน์แก่คนในท้องถิ่น, Thai Definition: ชาวบ้านที่ฝึกอบรมให้มีระเบียบวินัยแบบลูกเสือ | ภูมิปัญญาชาวบ้าน | (n) folk wisdom, Syn. ภูมิปัญญาท้องถิ่น, Example: สมุนไพรพื้นบ้านเหล่านี้ล้วนเกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้านที่สั่งสมมานาน, Thai Definition: ความรู้ความสามารถของชาวบ้านซึ่งเรียนรู้มาจากบรรพบุรุษหรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่างๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องของการทำมาหากิน เช่น การจับปลา การจับสัตว์ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น | ภูมิปัญญาชาวบ้าน | (n) folk wisdom, Syn. ภูมิปัญญาท้องถิ่น, Example: สมุนไพรพื้นบ้านเหล่านี้ล้วนเกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้านที่สั่งสมมานาน, Thai Definition: ความรู้ความสามารถของชาวบ้านซึ่งเรียนรู้มาจากบรรพบุรุษหรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่างๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องของการทำมาหากิน เช่น การจับปลา การจับสัตว์ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น |
| คติชาวบ้าน | น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. | ชาวบ้าน | น. ผู้ที่อยู่ในพื้นถิ่นหนึ่ง ๆ เช่น ชาวบ้านแถบอัมพวา, ประชาชนทั่วไป เช่น ชาวบ้านอย่างเราจะไปรู้เรื่องอะไร, ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดธรรมชาติ และมีวิถีชีวิตแบบบรรพกาล, ผู้ที่มีชีวิตแบบเรียบง่าย ธรรมดา มักจะด้อยการศึกษา. | กระตั้วแทงเสือ | น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่งของชาวบ้าน ประกอบขบวนแห่ทั่วไป, บางทีเรียก บ้องตันแทงเสือ. | กล่อม ๓ | (กฺล่อม) น. ชื่อเพลงเครื่องปี่พาทย์ ทำตอนพระเข้าหานาง ซึ่งเรียกว่า โลม หรือตอนขับบำเรอ เรียกว่า กล่อมมโหรี อันใช้เป็นเครื่องสายประสมในภายหลัง และมีชื่อเป็นชนิดต่าง ๆ คือ กล่อมช้าง กล่อมพระยา กล่อมนารี และกล่อมในพิธีพราหมณ์ เรียกว่า ช้าหงส์ หรือ ช้าเจ้าหงส์, ชาวบ้านมักเรียกว่า กล่อมหงส์. | กลางบ้าน | ว. ใช้เรียกยาเกร็ดที่ชาวบ้านเชื่อถือกันเอง ว่า ยากลางบ้าน. | กินูน | น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Scarabaeidae ลำตัวมีขนาดและสีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในดินกินรากพืช ตัวเต็มวัยอาศัยอยู่บนต้นไม้กินใบไม้ มักบินเข้าหาแสงไฟ ชาวบ้านในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมนำมารับประทาน ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Anomala antiqueGyllenhal ลำตัวสีดำเหลือบน้ำเงิน ยาว ๑๘-๒๐ มิลลิเมตร ชนิด Sophrops foveatus Moser ลำตัวสีน้ำตาลแดง ยาวประมาณ ๑๕ มิลลิเมตร, แมลงนูน ก็เรียก. | แก้วกุ้ง | น. รังไข่ของกุ้งที่เจริญเต็มที่ มีสีแดงอมส้มหรือสีส้ม, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นมันกุ้งที่เป็นก้อนอยู่ในหัวกุ้ง. | ไก่นา ๒ | น. ชื่อที่ชาวบ้านเรียกนกที่อาศัยตามทุ่งนาหลายชนิด เช่น คุ่มสี [ Coturnix chinensis (Linn.) ] และนกอื่น ๆ หลายชนิด ในวงศ์ Rallidae เช่น กวัก [ Amaurornis phoenicurus (Pennant) ] อีล้ำ [ Gallinula choropus (Linn.) ] อีลุ้ม [ Gallicrex cinerea (Gmelin) ]. | จับมือ | ก. ทักทายตามธรรมเนียมตะวันตกโดยบุคคล ๒ คน ประสานมือขวาของกันและกันแล้วเขย่า, เรียกอาการที่ครูสอนโดยจับมือผู้เริ่มเรียนให้ทำตามในการสอนบางวิชาเช่น ฟ้อนรำ ดนตรี หรืองานฝีมือบางอย่าง เช่น จับมือรำ จับมือตีระนาด, โดยปริยายหมายถึงร่วมมือกัน เช่น ชาวบ้านจับมือกันพัฒนาแหล่งน้ำ. | ใช้เวลา | ก. เอาเวลามาทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น งานฝีมือชิ้นนี้ใช้เวลาทำ ๒ เดือน วัน ๆ ได้แต่ใช้เวลานินทาชาวบ้าน. | ตามีตามา, ตาสีตาสา | น. ชาวบ้านทั่ว ๆ ไป. | ตาดำ ๆ | ว. ที่น่าสงสาร, ที่ขาดที่พึ่ง, เช่น เด็กตาดำ ๆ ชาวบ้านตาดำ ๆ. | บงสุกูลิก | น. ผู้ใช้ผ้าบังสุกุลเป็นวัตร, เป็นชื่อธุดงค์ประการหนึ่งของภิกษุผู้ใช้ผ้าเฉพาะที่เก็บได้จากกองฝุ่นกองหยากเยื่อมาทำเป็นเครื่องนุ่งห่ม คือ ไม่ใช้ผ้าที่ชาวบ้านถวาย. | เปร็ง | (เปฺร็ง) น. ชื่อไผ่ชนิดหนึ่ง ต้นเล็ก ชาวบ้านใช้ปล้องทำเป็นกล้องยาสูบ. | พวงมาลัย | ชื่อการเล่นของชาวบ้านชนิดหนึ่ง เรียกว่า เพลงพวงมาลัย. | ฟันม้า | น. ชื่อแร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีหลายสี ส่วนมากมักมีสีขาวขุ่นคล้ายฟันม้า ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า หินฟันม้า. (ดู เฟลด์สปาร์). | เฟลด์สปาร์ | น. ชื่อแร่ประกอบหินชนิดหนึ่ง มีหลายสี ส่วนมากมักมีสีขาวขุ่นคล้ายฟันม้า, ชาวบ้านมักเรียกกันว่า หินฟันม้า. | ภาษาธรรม | น. ภาษาที่ใช้มีความหมายในทางธรรม ต่างกับความหมายที่ชาวบ้านใช้ เช่น คำว่า เวทนา ในภาษาธรรมหมายถึง การเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือเฉย ๆ แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง สงสารสลดใจ หรือคำว่า สงสาร ในภาษาธรรมหมายถึง การเวียนว่ายตายเกิด แต่ชาวบ้านใช้หมายถึง รู้สึกเห็นใจในความเดือดร้อนหรือความทุกข์ของผู้อื่น. | ยากลางบ้าน | น. ยาเกร็ดที่ชาวบ้านเชื่อถือกันเอง. | ระราน | ก. ประพฤติเป็นพาลเกเร ทำให้เดือดร้อน เช่น เขาเที่ยวระรานชาวบ้าน, มักใช้เข้าคู่กับคำ เกะกะ เป็น เกะกะระราน. | รามา | ก. ข่มเหง, รบกวน, เช่น พอเมาเหล้าก็ชอบรามาชาวบ้าน. | ราวี | ก. รบ เช่น ยกทัพไปราวีข้าศึก, รบกวนหรือระรานโดยใช้กำลังรังแกเป็นต้น เช่น อันธพาลชอบราวีชาวบ้าน, (ปาก) สู้กัน, ตะลุมบอนกัน, เช่น นักเรียนกำลังราวีกัน. | แรงงาน | น. คนงาน, ผู้ใช้แรงในการทำงาน, เช่น การพัฒนาชนบทต้องอาศัยแรงงานจากท้องถิ่น งานก่อสร้างต้องการแรงงานเพิ่ม, ประชากรในวัยทำงาน ไม่รวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แม่บ้าน นักบวช ทหาร ผู้ต้องขัง และผู้ประกอบกิจการเพื่อหากำไร เช่น วันแรงงาน, แรงที่ใช้ในการทำงาน เช่น ถนนนี้สร้างสำเร็จด้วยแรงงานของชาวบ้าน | ลูกบ้าน | น. ชาวบ้านที่อยู่ในปกครองของนายบ้าน ซึ่งในปัจจุบันได้แก่ กำนันและผู้ใหญ่บ้านหรือนายอำเภอแล้วแต่กรณี. | วิถีชีวิต | น. ทางดำเนินชีวิต เช่น วิถีชีวิตชาวบ้าน. | ศิลปะพื้นบ้าน | น. ศิลปะแขนงต่าง ๆ เช่น วรรณกรรม สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม นาฏศิลป์ หัตถกรรม ที่ชาวบ้านได้สร้างสรรค์ขึ้นจากการเรียนรู้และฝึกปรือในครอบครัวหรือในหมู่บ้าน เป็นงานสร้างสรรค์ของสังคมชาวบ้าน และได้พัฒนาปรับปรุงอย่างต่อเนื่องกันมาหลายชั่วคน. | สอดรู้, สอดรู้สอดเห็น | ก. เที่ยวเข้าไปรู้ในเรื่องของคนอื่น (มักใช้ในทางไม่ดี) เช่น ใครเขาจะทำอะไรกันที่ไหน ก็เที่ยวไปสอดรู้เขาหมด เขาเป็นคนช่างสอดรู้สอดเห็น มีเรื่องของชาวบ้านมาเล่าเสมอ. | สะเดาอินเดีย | น. ชื่อไม้ต้นชนิด Azadirachta indica A. Juss. var.indica ในวงศ์ Meliaceae ใบมีรสขม ใบอ่อนและช่อดอกกินได้และใช้ทำยาได้, ชาวบ้านเข้าใจว่าเป็นชนิดเดียวกับต้นควินินหรือซิงโคนา (Cinchona spp.) ที่ใช้เปลือกสกัดเป็นยาควินิน. | สังคม, สังคม- | วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น สังคมชาวบ้าน. | สารหนูขาว | น. สารประกอบชนิดหนึ่ง ซึ่งมีธาตุสารหนูและออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ มีสูตร As2O3 ลักษณะเป็นผงสีขาว มีพิษอย่างร้ายแรง ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทำสีบางประเภท และยาฆ่าแมลง, ชาวบ้าน เรียกว่า สารหนู. | ออกปาก | ก. พูดขอความช่วยเหลือ เช่น ออกปากขอแรงชาวบ้านมาช่วยงาน | เอ็น | น. กลุ่มหรือมัดเส้นใยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ซึ่งเรียงตัวในทิศทางเดียวเห็นได้ชัด และไม่มีกล้ามเนื้อยึดที่ปลาย, ชาวบ้านเรียก เส้นเอ็น. |
|
| | | ชาวบ้าน | [chāobān] (n) EN: villager ; folk ; ordinary people ; commoner ; people ; neighbours ; laypeople ; grassroots FR: villageois [ mpl ] ; voisins [ mpl ] ; gens [ fpl ] ; personnes [ fpl ] ; laïcs [ mpl ] | คติชาวบ้าน | [khatichāobān] (n) EN: folklore ; folk story | ลูกเสือชาวบ้าน | [lūkseūa chāobān] (n, exp) EN: civil boy scout | เพลงชาวบ้าน | [phlēng chāobān] (n, exp) EN: folk song FR: chanson populaire [ f ] ; chanson folklorique [ f ] | ภูมิปัญญาชาวบ้าน | [phūmpanyā chāobān] (n, exp) EN: folk wisdom FR: sagesse populaire [ f ] | สังคมชาวบ้าน | [sangkhom chāobān] (n, exp) EN: folk society | วิถีชาวบ้าน | [withī chāobān] (n, exp) EN: folkways |
| keeping up with the joneses | (phrase) การมีอะไร (เงิน วัตถุ ชื่อเสียง) ทัดเทียมคนอื่น, ไม่น้อยหน้าชาวบ้าน เช่น Keeping up with the Joneses isn't necessary, especially if you need payday loans because you can't afford it. |
| boy scout | (n) ลูกเสือชาวบ้าน, Ant. girl scout | folk | (n) ประชาชน, See also: ชาวบ้าน, กลุ่มชน, Syn. people | folk | (adj) ที่มีพื้นฐานความเชื่อของชาวบ้าน | folk | (adj) เกี่ยวกับขนบประเพณีของชาวบ้าน, See also: เกี่ยวกับพื้นบ้าน | folk dance | (n) การเต้นรำพื้นเมือง, See also: ระบำพื้นเมือง, การเต้นรำของชาวบ้าน | folk tale | (n) นิทานชาวบ้าน, See also: นิทานพื้นบ้าน | folklore | (n) ประเพณีและความเชื่อของผู้คน, See also: คติชาวบ้าน | perversity | (n) ความผิดปกติ, See also: ความวิปริต, การไม่เหมือนชาวบ้าน, Syn. wrongheadedness | road hog | (n) คนขับรถขวางทางชาวบ้าน | villager | (n) ชาวบ้าน, See also: ลูกบ้าน, คนที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน, Syn. inhabitant, civilian | wench | (n) หญิงสาวชาวบ้าน (คำโบราณ), See also: หญิงสาวชนบท |
| clown | (เคลานฺ) { clowned, clowning, clowns } n. ตัวตลก, คนหยาบคาย, ชาวบ้านนอก vi. แสดงเป็นตัวละครตลก, See also: clownish adj. clownishness n., Syn. buffoon | countryfolk | (คัน'ทรีโฟล์ค) n. ชาวชนบท, ชาวบ้านนอก, คนที่มาจากประเทศเดียวกัน, เพื่อนร่วมชาติ, Syn. countrypeople, rustics | folk | (โฟล์ค) n. ประชาชน, ชาวบ้าน, คนทั่วไป, ญาติสมาชิกของครอบครัว, พ่อแม่. adj. เกี่ยวกับชาวบ้าน หรือสามัญชน. ซึ่งกำเนิดในหมู่สามัญชน., See also: folkish adj. folkishness n., Syn. persons, people | folk song | n. เพลงลูกทุ่ง, เพลงชาวบ้าน | folklore | (โฟล์ค'ลอร์) n. คติชาวบ้าน, ความเชื่อหรือขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวบ้าน. -folkloric adj., See also: folklorist n. folkloristic adj. | hayseed | n. เมล็ดหญ้า, เศษหญ้าแห้ง, ชาวบ้านนอก | provincial | (พระวิน'เชิล) adj. เกี่ยวกับจังหวัด, เกี่ยวกับมณฑล, เกี่ยวกับส่วนภูมิภาค, ใจคับแคบ, ไม่สละสลวย, บ้านนอก. n. ชาวต่างจังหวัด, ชาวบ้านนอก, คนใจแคบ. | snoopy | (สนู'พี) adj. สอดรู้สอดเห็น, สอดแนม, ชอบยุ่งเรื่องของชาวบ้าน, Syn. prying |
| | hi5 | (n) เว็บไซต์ยอดนิยมของคนไทย ซึ่งสามารถลงรูปถ่ายส่วนตัว ลงเพลง อัพjournalสั้นๆ หรือแม้แต่ตกแต่ง พูดคุยสื่อสารกับชาวบ้าน http://www.hi5.com/ |
| 村人 | [むらびと, murabito] TH: ชาวบ้าน EN: villager | 民宿 | [みんしゅく, minshuku] TH: บ้านของชาวบ้านที่เปิดให้เช่าพักราคาถูก EN: a private home providing lodging for travelers |
| hochnäsig sein | (phrase) หยิ่ง, นึกว่าตัวเองเก่งหรือดีกว่าชาวบ้าน, จองหอง |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |