ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ท้วง*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ท้วง, -ท้วง-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ท้วง(v) object, See also: protest against, oppose, argue against, criticize, remonstrate, expostulate, Syn. ท้วงติง, ทัดทาน, คัดค้าน, แย้ง, ติง, Ant. สนับสนุน, เห็นด้วย, Example: พ่อท้วงลูกเรื่องการออกไปเที่ยวนอกบ้าน, Thai Definition: พูดเป็นทำนองไม่เห็นด้วย
ทักท้วง(v) protest, See also: protest, remonstrate with, advise against, object to, oppose, admonish, Syn. ทัดทาน, คัดค้าน, ท้วง, ต้านไว้, แย้ง, ท้วงติง, Ant. เห็นด้วย, สนับสนุน, Example: ในการประชุม มีสมาชิกบางคนทักท้วงข้อเสนอเรื่องการสร้างโรงงาน, Thai Definition: กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองว่ายังไม่เห็นด้วย
ท้วงติง(v) warn against, See also: protest against, object to, argue against, criticize, remonstrate, expostulate, Syn. ท้วง, คัดค้าน, ทักท้วง, ค้าน, Ant. สนับสนุน, Example: เขานั่งเฉยโดยไม่ท้วงติง
ประท้วง(v) protest, See also: object, oppose, Syn. คัดค้าน, ค้าน, ต่อต้าน, Example: พนักงานประท้วงเพื่อขอขึ้นเงินเดือน, Thai Definition: กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง
การท้วงติง(n) objection, See also: protest, warning, admonition, expostulation, remonstration, Syn. การท้วง, การค้าน, การแย้ง, การติง
ผู้ประท้วง(n) protester, See also: demonstrator, Syn. คนประท้วง, คนคัดค้าน, ผู้คัดค้าน, Ant. ผู้สนับสนุน, Example: ฝ่ายตำรวจได้ปะทะกวาดล้างผู้ประท้วง จนมีผู้เสียชีวิตไปมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ท้วงก. พูดเป็นทำนองไม่เห็นด้วย
ท้วงพยุง, ประคอง, พา, เคลื่อนไหว, เช่น ท้วงตนหนีไปได้.
ท้วงติงก. แย้งและให้ข้อคิด.
ท่วงท่าน. กิริยาท่าทาง.
ท่วงทำนองน. ลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทำนอง.
ท่วงทีน. ท่าทาง, หน่วยก้าน, ชั้นเชิง.
ทักท้วงก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองว่ายังไม่เห็นด้วย.
ทันท่วงทีว. ทันต่อเหตุการณ์พอดิบพอดี.
ประท้วงก. กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง เช่น อดข้าวประท้วง เขียนหนังสือประท้วง.
กรม ๓(กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น.
กระลา ๑น. ท่วงที. (อนันตวิภาค)
กระโวยกระวายว. อาการที่ส่งเสียงร้องเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น, โวยวาย ก็ว่า.
กระแหน่น. เล่ห์กล, แง่งอน, ท่วงที, เช่น ข้ากระไดกระแหน่ แต่งแง่แผ่ตนท่า (ลอ).
กรับเสภาน. กรับชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้แก่นเช่นไม้ชิงชัน มี ๔ ด้าน ด้านหนึ่งโค้งสำหรับกระทบให้เกิดเสียง ยาวประมาณ ๒๐ เซนติเมตร หนาประมาณ ๕ เซนติเมตร ลบเหลี่ยมเล็กน้อยเพื่อมิให้บาดมือและให้สามารถกลิ้งตัวกระทบกันได้สะดวก ใช้ขยับประกอบในการขับเสภา โดยผู้ขับเสภาจะต้องใช้กรับ ๒ คู่ ประคองไว้ในอุ้งมือข้างละคู่ ขณะที่ขับเสภาก็ขยับกรับแต่ละคู่ให้กระทบกันให้สอดคล้องกับท่วงทำนองขับ, กรับขยับ ก็ว่า.
กรีด ๒(กฺรีด) ก. มีท่วงท่าที่มีลีลางดงามอย่างละครรำ.
กลอก(กฺลอก) น. ลักษณะของเสียงที่บรรเลงเลื่อนไหลไปตามท่วงทำนองอย่างนุ่มนวลกลมกลืน เหมือนลักษณะของหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน, ในการขับร้องหมายถึง เสียงที่เปล่งออกจากลำคอพอสมควรสลับกับเสียงทางจมูก แล้วตวัดเสียงให้สะบัดวกวนกลับไปกลับมา ๒ หรือ ๓ ครั้ง สุดแต่ผู้ขับร้องจะเห็นเหมาะสม.
แกนนำน. ผู้ที่เป็นหลักหรือหัวหน้าของกลุ่มที่ชุมนุมเพื่อเรียกร้องหรือประท้วงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น กลุ่มผู้ชุมนุมที่เรียกร้องให้เพิ่มค่าแรงในครั้งนี้มีแกนนำอยู่ ๒-๓ คน
เขบ็จขบวน(ขะเบ็ดขะบวน) น. ท่าทาง, ระเบียบ, ชั้นเชิง, ท่วงที.
เข้าทีก. มีท่วงทีดี, มีชั้นเชิงดี, มีท่าทีจะสำเร็จ.
ค้อนติงก. ทักท้วงแสดงความไม่เห็นด้วย.
คุมเชิงก. คอยระวังท่วงทีของอีกฝ่ายหนึ่ง.
จริยวัตร, จริยาวัตรความประพฤติ ท่วงทีวาจา และกิริยามารยาท.
โจทนา(โจดทะนา) น. การทักท้วง, การฟ้องหา
เฉพาะหน้าว. ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ๆ และจะต้องรีบแก้ไขให้ทันท่วงที เช่น ปัญหาเฉพาะหน้า เหตุการณ์เฉพาะหน้า.
ชั้นเชิงน. เล่ห์เหลี่ยม, ท่วงที, อุบาย, เชิงชั้น ก็ว่า.
เชิง ๒ท่าที, ท่วงที, เช่น คุมเชิง หยั่งเชิง ลองเชิง
เชิงชั้นน. เล่ห์เหลี่ยม, ท่วงที, อุบาย, ชั้นเชิง ก็ว่า.
ดุก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น.
ติง ๑ก. ทักไว้, ท้วงไว้.
ติงทุเลาก. ถ่วงเวลา, แย้งขอให้ระงับไว้ก่อน, เช่น แลอั้นคำค้านเสียมิได้ถามพญาณ แลอั้นคำท้วงติงทุเลาเสีย (สามดวง พระธรรมนูน), ครั้นว่าพี่มีคำติงทุเลา ช่างกระไรไม่เอาสักอย่าง (รามเกียรติ์ ร. ๒).
ทัดทานก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองห้ามหรือท้วงเพื่อให้งดไว้.
ทันกินก. คิดหรือทำการใด ๆ ทันท่วงที (โดยปรกติใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ทำการงานช้าไม่ทันกิน มัวงุ่มง่ามอยู่อย่างนี้ไม่ทันกิน.
ท่า ๒น. ลักษณะท่วงทีของร่างกายในอิริยาบถหนึ่ง ๆ เช่น ท่ายืน ท่านั่ง ท่านอน
ท่า ๒ชั้นเชิง, ท่วงที, เช่น พลาดท่า ได้ท่า เสียท่า.
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา(ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา.
ประ- ๑(ปฺระ-) ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง
แผ่แง่ก. แสดงท่าทางท่วงทีเป็นชั้นเชิง.
พระมาลัยมาโปรดน. ผู้ที่มาช่วยเหลือในยามที่กำลังตกทุกข์ได้ยากได้ทันท่วงที.
พริบไหวน. ความรู้เท่าในกิจการ, ความรู้ทันท่วงที, โดยมากมักใช้ว่า ไหวพริบ.
ยักท่าก. ไม่ปฏิบัติตามที่ตกลงกันไว้ เป็นการเล่นแง่เพื่อดูท่วงทีของอีกฝ่ายหนึ่ง.
ลีลาท่วงทำนอง เช่น ลีลาการพูด ลีลาการเขียน
เลี่ยงก. ลักษณะอาการที่เบี่ยงออกไปจากทางหรือแนวเดิม เช่น คำนี้ไม่สุภาพเลี่ยงไปใช้คำอื่น เจ้าหน้าที่ไม่ต้องการยิงให้ถูกผู้ประท้วงจึงยิงเลี่ยงไปทางอื่น ขับรถเลี่ยงลงข้างทางเพื่อไม่ให้ชนวัวที่ยืนขวางถนน, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เลี่ยงงาน เลี่ยงกฎหมาย เลี่ยงภาษี เลี่ยงบาลี.
โวยก. ส่งเสียงแสดงความไม่พอใจเกินกว่าเหตุ เช่น เรื่องเล็กนิดเดียวก็โวยเสียเป็นเรื่องใหญ่โต, ประท้วงด้วยการส่งเสียงเอะอะ เช่น เขาโวยว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม
โวยวายก. ส่งเสียงร้องเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจ เป็นต้น เช่น พอประกาศเงินเดือนขึ้นอีกกลุ่มก็โวยวาย.
โวยวายว. อาการที่ส่งเสียงเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น เช่น เขาไม่ได้เงินเดือนขึ้นก็ส่งเสียงโวยวาย, กระโวยกระวาย ก็ว่า.
สลายตัวอาการที่ฝูงชนซึ่งรวมตัวกันเพื่อประท้วงเป็นต้นแล้วต่อมาได้แยกย้ายกันไป เช่น กลุ่มชนที่มาประท้วงได้สลายตัวไปหมดแล้ว.
สอบสัมภาษณ์ก. สอบท่วงทีวาจาและไหวพริบพิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่.
สัมภาษณ์การสอบท่วงทีวาจาและไหวพริบ พิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่ เรียกว่า สอบสัมภาษณ์.
สำนวนถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง, ถ้อยคำที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษ เฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ เช่น สำนวนฝรั่ง สำนวนบาลี, ชั้นเชิงหรือท่วงทำนองในการแต่งหนังสือหรือพูด เช่น สำนวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สำนวนยาขอบ สำนวนไม้ เมืองเดิม
เสียที ๑ก. พลาดท่วงที เช่น คนซื่อเกินไปมักเสียทีคนปลิ้นปล้อน.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
picketing๑. การถือป้ายประท้วง๒. การขัดขวางไม่ให้เข้าทำงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
picketing๑. การถือป้ายประท้วง๒. การขัดขวางไม่ให้เข้าทำงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
point of orderการประท้วงในที่ประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
representation๑. การเป็นผู้แทน๒. หนังสือแสดงความไม่พอใจ (เบากว่าประท้วง)๓. การแถลงในนามของรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
remonstranceการประท้วง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
remonstranceการทัดทาน, การประท้วง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
sit-inการยึดพื้นที่ประท้วง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
order, point ofการประท้วงในที่ประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
unlawful picketing๑. การประท้วงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย๒. การขัดขวางการเข้าทำงานโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Protest movementsขบวนการประท้วง [TU Subject Heading]
Student strike, [ date ]การประท้วงของนักศึกษา, ปี... [TU Subject Heading]
Tiananmen Square incident, 1989เหตุการณ์ชุมนุมประท้วงที่จตุรัสเทียนอันเหมิน, ค.ศ. 1989 [TU Subject Heading]
Amnesty Internationalองค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต]
Demarcheการยื่นหนังสือประท้วง [การทูต]
Diplomatic Expressionsถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต]
point of orderประท้วง หรือขัดจังหวะในระหว่างการประชุม หรือระหว่างการกล่าวถ้อยแถลงในเรื่องผิดข้อบังคับการประชุม [การทูต]
State Peace and Development Councilสภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
เดินขบวนประท้วงรัฐบาล[doēnkhabūan prathūang ratthabān] (v, exp) EN: march in protest against the government
การประท้วง[kān prathūang] (n) FR: protestation [ f ]
การประท้วงหยุดงาน[kān prathūang] (n, exp) EN: strike  FR: arrêt de travail [ m ]
การถือป้ายประท้วง[kān theū pāi prathūang] (n, exp) EN: picketing
ผู้ประท้วง[phū prathūang] (n, exp) EN: protester ; demonstrator  FR: protestataire [ m ] ; contestataire [ m ] ; manifestant [ m ]
ประท้วง[prathūang] (v) EN: protest ; object ; oppose  FR: protester ; rouspéter
ทักท้วง[thakthūang] (v) EN: protest ; protest ; remonstrate with ; advise against ; object to ; oppose ; admonish  FR: protester ; objecter
ท้วง[thūang] (v) EN: object to ; protest against ; argue against ; put forward an objection ; raise an objection ; criticize ; remonstrate ; expostulate  FR: s'opposer (à) ; protester (contre) ; être en désaccord (avec) ; rouspéter (fam.)
ท่วงท่า[thūangthā] (n) EN: bearing ; comportment ; appearance ; manner ; attitude ; posture ; gesture ; action ; motion  FR: allure [ f ] ; attitude [ f ]
ท่วงที[thūangthī] (n) EN: manners ; deportment ; bearing ; attitude  FR: air [ m ] ; aspect [ m ]
ท่วงทีวาจา[thūangthī wājā] (n, exp) EN: manner of speaking
ท้วงติง[thūangting] (v) EN: advise against ; dissuade

English-Thai: Longdo Dictionary
picket sign(n) ป้ายประท้วง เช่น The strikers carried picket signs prepared by the Unions.

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
admonition(n) การตักเตือน, See also: การท้วงติง, การเตือนให้ระวังข้อผิดพลาด
blackleg(n) ผู้ยังคงทำงาน ขณะที่คนอื่นหยุดงานประท้วง
be out(phrv) หยุดทำงาน (เพราะขัดแย้ง), See also: หยุดงานประท้วง, Syn. bring out
book off(phrv) ประท้วงไม่ทำงาน, See also: ประกาศไม่เข้าทำงาน
bring out(phrv) หยุดงานประท้วง, Syn. be out, call out, come out
crush(vt) ปราบการประท้วง
call out(phrv) กระตุ้นให้ประท้วงหยุดงาน, See also: ทำให้ประท้วงหยุดงาน, Syn. bring out
chuck down one's tools(idm) ประท้วงต่อ (คำไม่เป็นทางการ)
demonstrate against(phrv) เดินขบวนประท้วง, See also: ประท้วง, คัดค้าน
fetch out(phrv) ประท้วงหยุดงาน, Syn. bring out
fling down one's tools(idm) หยุดงานเพราะไม่เห็นด้วย, See also: ประท้วงเพราะไม่เห็นด้วย, Syn. chuck down, throw down
demonstrate(vi) ประท้วง, Syn. protest
demonstration(n) การประท้วง, See also: การเดินขบวน
demonstrator(n) ผู้เดินขบวน, See also: คนเดินขบวน, คนประท้วง
expostulate(vi) แสดงความไม่เห็นด้วย, See also: ติง, ท้วง, ทักท้วง, คัดค้าน, Syn. dissuade, oppose, remonstrate
expostulation(n) การแสดงความไม่เห็นด้วย, See also: การท้วงติง, การทักท้วง, Syn. dissuasion, protest, remonstrance
fink(n) คนที่ยังทำงานในขณะที่คนอื่นผละงานประท้วง (คำสแลง), See also: คนงานที่ไม่ยอมหยุดงานขณะมีการประท้วงหยุดงาน, Syn. strikebreaker, scab
get out(phrv) หยุดงานประท้วง, Syn. bring out
go back(phrv) กลับไปทำงาน, See also: หยุดประท้วง, Syn. bring out
go out(phrv) หยุดงานประท้วง
go-slow(n) การประท้วงโดยทำงานล่าช้ากว่าปกติของคนงาน
hue and cry(idm) การส่งเสียงประท้วงกึกก้อง
immolate(vt) เผาตัวตายเพื่อประท้วง (คำทางการ), Syn. sacrifice
insurgence(n) การจลาจล, See also: การก่อจลาจล, การประท้วง, Syn. rebellion, revolt, Ant. obedience, compliance
insurgency(n) การจลาจล, See also: การก่อจลาจล, การประท้วง, Syn. rebellion, revolt, Ant. obedience, compliance
insurgent(n) กบฏ, See also: ผู้ก่อกบฏ, ผู้ต่อต้านรัฐบาล, ผู้ประท้วง, Syn. rebel, revolter
lockout(n) การปิดโรงงานโดยเจ้าของกิจการในช่วงที่มีการประท้วง
object(vi) คัดค้าน, See also: ท้วงติง, ทัดทาน, ท้วง, Syn. resist, protest, Ant. admit, concur, consent
open letter(n) จดหมายประท้วง, See also: จดหมายร้องเรียน
protest(vt) คัดค้าน, See also: ทักท้วง, ขัดขวาง, ประท้วง, Syn. disagree, object, Ant. agree
protest(vi) คัดค้าน, See also: ทักท้วง, ขัดขวาง, ประท้วง
protest(n) การคัดค้าน, See also: การประท้วง, Syn. denial, compliant, Ant. agreement
protestant(n) ์ผู้คัดค้าน, See also: คนทักท้วง
protestation(n) การประท้วง, See also: การต่อต้าน
protester(n) ผู้ต่อต้าน, See also: ผู้ประท้วง, Syn. rebel, dissident
protest against(phrv) คัดค้าน, See also: ประท้วง, Syn. demur at, object to
remonstrance(n) การประท้วง, Syn. protest, complaint, rebuke, reproach
eco warrior(sl) นักประท้วงทางสิ่งแวดล้อม
scab(n) คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมหยุดงานประท้วง, See also: คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมสหภาพแรงงาน, Syn. apostate, deserter, knobstick, traitor, turncoat, strikebreaker
sit-in(n) การชุมนุมประท้วง, Syn. protest, march
strike(vi) หยุดงานประท้วง, See also: ก่อการจลาจล, Syn. mutiny, revolt, walk out
strike(n) การหยุดงานประท้วง, Syn. revolution, walkout
strikebound(adj) ปิดเพราะการหยุดงานประท้วง, Syn. closed by strike
strikebreaker(n) คนที่ยังทำงานอยู่ในขณะเกิดการประท้วง, Syn. nonstriker, scab
strikebreaker(n) คนที่เข้าทำงานแทนพวกหยุดงานประท้วง
striker(n) คนงานที่หยุดงานประท้วง, Syn. protester, walk-outer
struck(adj) ปิดเพราะการหยุดงานประท้วง
stay in(phrv) ยังประท้วงต่อ, See also: ยังคัดค้านต่อ
stop out(phrv) ยังประท้วงต่อ, Syn. bring out
strike against(phrv) ประท้วงต่อ, Syn. hang out for, hold out for, stand out for, stick out for

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
outcry(เอาทฺ'ไคร) n. เสียงร้องดัง, เสียงโวยวาย, การโวยวาย, การประท้วงหรือคัดค้านอย่างรุนแรง,
protest(โพรเทสทฺ') vt., vi. คัดค้าน, ประท้วง, ประกาศยืนยัน, ยืนยัน, เสนอแย้ง, ปฏิเสธชำระ (บิล) n. (โพร'เทสทฺ) การคัดค้าน, การประท้วง, การปฏิเสธการชำระบิล, คำร้อง., See also: protester n. protestingly adv., Syn. objection
protestant(พรอท'ทิสเทินทฺ) n. ศาสนิกชนของนิกายศาสนาคริสต์ที่แยกตัวจากโรมันคาทอลิกตั้งแต่ศตวรรษที่ 16, , See also: protestant n. ผู้ประท้วง ผู้คัดค้าน adj. เกี่ยวกับนิกายดังกล่าว, ซึ่งประท้วง
protestation(พรอท'ทิสเท'เชิน) n. การคัดค้าน, การประท้วง, การประกาศยืนยัน, การเสนอแย้ง
remonstrance(รีมอน'สเทรินซฺ) n. การคัดค้าน, การทัดทาน, การประท้วง, การโต้แย้ง
remonstrant(รีมอน'สเทรินทฺ) adj. คัดค้าน, ทัดทาน, ประท้วง, โต้แย้ง n. ผู้คัดค้าน, ผู้ทัด-ทาน, ผู้ประท้วง, ผู้โต้แย้ง
remonstrate(รีมอน'สเทรท) vt. คัดค้าน, ทัดทาน, ประท้วง, โต้แย้ง vi. คัดค้านหรือโต้แย้งด้วยเหตุผล, See also: remonstration n. remonstrative adj. remonstrator n., Syn. protest, object, contend
roof(รูฟ) n. หลังคา, หลังคาสิ่งปลูกสร้าง, หลังคารถ, โครงค้ำหลังคา, สิ่งที่คล้ายหลังคาบ้าน, เพดาปาก, ส่วนบน, แผ่นบน -Phr. (raise the roof ทำให้เกิดเสียงดัง, บ่นหรือประท้วงด้วยเสียงที่ดังทะเลาะกันเสียงดัง) vt. มุงหลังคา, ครอบ, ปิดคลุม pl. roofs
sit-in(ซิท'อิน) n. การจับกลุ่มนั่งประท้วง
spell checkerโปรแกรมตรวจตัวสะกดหมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ช่วยในการตรวจสอบตัวสะกดการันต์ของข้อความที่พิมพ์ โดยเทียบกับพจนานุกรม (โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ) มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประมวลคำ (word processing) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาไปมากนอกจากจะทักท้วงถ้าพบตัวที่สะกดผิดแล้ว ยังแสดงคำที่สะกดถูกให้ด้วย
walk(วอล์ค) vi. vt. เดิน, ดำเนินวิถีชีวิต -Phr. (walk out ประท้วงโดยการเดินออกจากที่ประชุม) n. การเดิน, ระยะที่เดิน, ท่าทางการเดิน, ฐานะ, สภาพ, ทางเดิน, สถานที่เดิม, ไร่นา, กลุ่ม, ฝูง, ทางเร่ขาย, See also: walkable adj.
walkout(วอค'เอาทฺ) n. การประท้วงโดยเดินออกจากที่ประชุม S. strike

English-Thai: Nontri Dictionary
object(vt) ทักท้วง, คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย
objection(n) ข้อขัดข้อง, การคัดค้าน, การท้วงติง, การโต้แย้ง
objectionable(adj) ค้านได้, น่ารังเกียจ, น่าท้วงติง
protest(n) การประท้วง, คำคัดค้าน, การคัดค้าน, การต่อต้าน
protest(vt) ประท้วง, คัดค้าน, ต่อต้าน, ขัดขวาง
protestant(n) ผู้นับถือลัทธิโปรเตสแตนต์, ผู้ประท้วง, ผู้คัดค้าน
protestation(n) คำประท้วง, คำคัดค้าน, คำร้อง
remonstrance(n) การประท้วง, การคัดค้าน, การทัดทาน
remonstrate(vt) ประท้วง, คัดค้าน, ทัดทาน, โต้แย้ง
striking(vt) เด่น, สะดุดตา, นัดหยุดงาน, ประท้วง

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
picketer[pik-ke-ter] (n) คนเดินขบวนประท้วงเรื่องธุรกิจ

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
デモ隊[でもたい, demotai] (n) ผู้ชุมนุมประท้วง

German-Thai: Longdo Dictionary
etw. gefallen lassen(phrase) ยอมรับ หรือ ไม่ต่อต้านให้สิ่งนั้นๆ เกิดขึ้น หรือ ยอมทนให้เกิดขึ้น เช่น Demonstration gefallen lassen = ยอมให้มีการประท้วงเกิดขึ้น
Stacheldraht(n) |der, pl. Stacheldrähte| ลวดหนามที่ใช้ทำรั้ว หรือสำหรับใช้ในกรณีมีการประท้วงเกิดขึ้น เช่น der Stacheldrahtzaun = รั้วลวดหนาม
betroffen(adv) |von etw.(D), über etw.(A)| ได้รับผลกระทบ เช่น Manche Mitarbeiter in der Firma sind vom Streik der Bahn betroffen. พนักงานส่วนใหญ่ของบริษัทได้รับผลกระทบจากการประท้วงของการรถไฟ

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top