Video | วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
วีดิทัศน์ | วีดิทัศน์, <br />วีดิทัศน์<br />มาจากคำว่า <br /><ul><li>วีติ หมายถึง รื่นเริง, ยินดี</li><li>ทัศน์ หมายถึง ความเห็น, การเห็น, การแสดง<br /></li></ul><br /> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Video cassette | วีดิทัศน์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Video cassette | วีดิทัศน์, Example: <p><p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110527-Video-cassette.jpg" Title="Video cassette" alt="Video cassette"> <p>วีดิทัศน์ จัดเป็นทรัพยากรไม่ตีพิมพ์ ประเภทโสตทัศนวัสดุ คือ ทรัพยากรที่ผู้ใช้สามารถรับรู้ข้อมูล ความรู้ผ่านการดูและฟัง ด้วยภาพและเสียง ทั้งนี้ต้องใช้อุปกรณ์พิเศษเพื่อช่วยในการอ่าน <p>การบันทึกข้อมูลภาพและเสียงในวีดิทัศน์ มีการบันทึกลงบนสารสังเคราะห์ที่เคลือบด้วยแม่เหล็กในรูปแบบม้วน ตลับ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ด้วยระบบอนาล็อค (Analog) หรือ ระบบดิจิทัล (Digital) โดยสามารถลบแล้วบันทึก หรือบันทึกซ้ำได้ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Ditidal video disk | แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล, แผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล หรือแผ่นดิจิทัลอเนกประสงค์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Video | วีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด] |
DVD | แผ่นดิจิทัลอเนกประสงค์ หรือแผ่นวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Thai Sign Language Program: computer vocabulary | ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย [Assistive Technology] |
Digital video | วีดิทัศน์ระบบดิจิทัล [TU Subject Heading] |
DVD-Video discs | จานวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล [TU Subject Heading] |
Erotic videos | วีดิทัศน์ด้านกามรมณ์ [TU Subject Heading] |
Video art | วีดิทัศน์ศิลป์ [TU Subject Heading] |
Video catalogs | รายการวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video compression | การบีบอัดข้อมูลวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video recording | การบันทึกวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video recordings | วัสดุวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video recordings for foreign speakers | วัสดุวีดิทัศน์สำหรับผู้พูดภาษาต่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Video rental services | บริการให้เช่าวัสดุวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tape advertising | โฆษณาทางแถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tape industry | อุตสาหกรรมแถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tape recorders | เครื่องบันทึกและเล่นแถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tapes | แถบวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Video tapes in education | แถบวีดิทัศน์เพื่อการศึกษา [TU Subject Heading] |
Videodisc players | เครื่องเล่นจานวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Videodiscs | จานวีดิทัศน์ [TU Subject Heading] |
Videoconference | การประชุมทางวีดิทัศน์, Example: <b>การประชุมทางวีดิทัศน์ (Videoconference)</b> คือ การนำเทคโนโลยีต่างๆ เช่น คอมพิวเตอร์ กล้องโทรทัศน์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมมาผสมผสานกันในระบบการประชุมทางไกล ซึ่งเป็นการประชุมที่ผู้เข้าร่วมประชุมอยู่ต่างกันคนละสถานที่ โดยไม่จำกัดระยะทาง สามารถประชุมร่วมกัน โต้ตอบซึ่งกันและกัน และติดต่อรับส่งข้อมูลได้ทั้งภาพและเสียง โดยใช้กล้องวิดีโอ ไมโครโฟน และจอโทรทัศน์ขนาดใหญ่หรือจอคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งในสถานที่ที่เชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่ายดิจิตอล และการส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม โดยการบีบอัดภาพ เสียงและข้อความ กราฟิกต่างๆ ไปยังสถานที่ประชุมต่างๆ ทำให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถเห็นภาพและข้อความต่างๆ ได้ คุณภาพของภาพและเสียงที่ได้จะขึ้นอยู่กับความเร็วของช่องทางสื่อสารที่ ใช้เชื่อมต่อกันระหว่าง จุดต่อจุดหรือจุดต่อหลายๆจุดโดยผ่านระบบสื่อสาร อุปกรณ์ที่ต้องมีในระบบประชุมทางไกลนี้ ได้แก่ จอโทรทัศน์หรือคอมพิวเตอร์ ลำโพง ไมโครโฟน กล้อง และอุปกรณ์ Codec ซึ่งเป็นตัวเข้ารหัสสัญญาณภาพและเสียงที่ได้จากกล้องและไมโครโฟน โดยส่ง ผ่านเส้นทางสื่อสารไปยังอีกฝั่งหนึ่ง รวมถึงถอดรหัสสัญญาณที่ได้รับ มาอีกฝั่งให้กลับเป็นสัญญาณภาพ และเสียงแสดงบนจอและลำโพงนั่นเองเส้นทางสื่อสารขนาด 384 Kbps ขึ้นไปก็สามารถให้คุณภาพภาพในระดับที่ยอมรับได้ โดยอาจใช้ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ISDN หรือ ATM เป็นต้น<br><br> ข้อดีของการประชุมทางไกล คือ สามารถให้ความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกัน สามารถประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรียนรู้ทางไกลและในองค์กรที่มีหน่วยงานอยู่ห่างไกลกันมาก และยังช่วยแก้ปัญหาจราจรได้ทางหนึ่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
FireWire | พอร์ตไฟร์ไวร์, พอร์ตอนุกรมที่ใช้ในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ เช่น กล้องถ่ายรูปดิจิทัล กล้องถ่ายวีดิทัศน์ และฮาร์ดดิสก์ พอร์ตไฟร์ไวร์มีความเร็วในการรับส่งข้อมูลอยู่ที่ 400 Mbps หรือ 800 Mbps [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
video conference | ประชุมทางวีดิทัศน์, การประชุมที่ผู้ที่ร่วมประชุมไม่ต้องอยู่ที่เดียวกัน โดยจะใช้เครือข่ายในการถ่ายทอดภาพและเสียง ซึ่งจะต้องมีอุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณภาพในรูปของกล้องและอุปกรณ์ถ่ายทอดเสียงเพื่อส่งออกไปยังอีกจุดหนึ่ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sender | ผู้ส่ง, คนหรืออุปกรณ์ที่ใช้สำหรับส่งข้อมูล/ข่าวสาร ซึ่งอาจเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ กล้องวีดิทัศน์ เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
social networking Web sites | เว็บไซต์เครือข่ายทางสังคม, เว็บไซต์ที่สมาชิกมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน โดยมีเป้าหมายในการเป็นจุดเชื่อมโยงระหว่างผู้ใช้ โดยอาจเชื่อมโยงผ่านกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่งที่ผู้ใช้มีความสนใจร่วมกัน เช่น การแบ่งปันวีดิทัศน์ การเล่าสู่กันฟังถึงประสบการณ์ที่ได้รับ การแสดงความรู้สึกหรือความคิดเห็น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Video on demand (VOD) | วีดิทัศน์ตามคำขอ (วีโอดี), วีดิทัศน์ตามคำขอ, Example: <b>วีดิทัศน์ตามคำขอ (Video on demand)</b> คือ ระบบการเรียกดูภาพยนตร์ตามสั่งที่จะอำนวยความสะดวกให้ผู้ใช้งานสามารถเลือกดูภาพยนตร์ หรือข้อมูลภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการ โดยสามารถใช้งานนี้ได้จากเครือข่ายสื่อสาร (Telecommunications Networks) ผู้ใช้งานซึ่งอยู่หน้าเครื่องลูกข่าย (Video Client) สามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวได้ทุกเมื่อตามต้องการ และสามารถควบคุมข้อมูลวิดีโอนั้นๆ ได้โดยสามารถย้อนกลับ (Rewind) หรือกรอไปข้างหน้า (Forward) หรือหยุดชั่วคราวได้เปรียบเหมือนการดูวิดีทัศน์อยู่ที่บ้านนั่นเอง ทั้งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายไม่จำเป็นต้องดูข้อมูลเดียวกันกล่าวคือสามารถดูภาพยนตร์เรื่องเดียวกันหรือต่างกันก็ได้<br><br> การใช้งานวีดิทัศน์ตามคำขอ จะให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้ โดยผู้ใช้แต่ละคนจะสามารถเลือกดูรายการที่ตนเองสนใจเวลาใดก็ได้ โดยไม่ขึ้นอยู่กับผู้อื่นและไม่ต้องรอตารางเวลา แต่จะต้องใช้ความเร็วของเครือข่ายสื่อสารให้มากตามไปด้วย เนื่องจากจะต้องมีการส่งสัญญาณวิดีโอ 1 stream สำหรับผู้ใช้ 1 คน ระบบวีดิทัศน์ตามคำขอนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ทั้งในแง่ให้ความบันเทิงและให้ความรู้ ตามแต่เนื้อหาของวิดีทัศน์ที่บรรจุลงไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |