ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ดูหมิ่น, -ดูหมิ่น- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ดูหมิ่นดูแคลน | (v) insult, See also: underestimate, disparage, disdain, slight, snub, affront, look down upon, scorn, hold in c, Syn. ดูถูก, Example: คนในหมู่บ้านดูหมิ่นดูแคลนครอบครัวที่ขายลูกกินอย่างเขา, Thai Definition: แสดงอาการเป็นเชิงดูหมิ่นหรือเหยียดหยามเขาว่าไม่มีความสามารถหรือไม่มีคุณสมบัติที่ดี | ลบหลู่ดูหมิ่น | (v) disdain, See also: disparage, show disrespect, Syn. ดูหมิ่น, ลบหลู่ |
|
| ดูหมิ่น, ดูหมิ่นถิ่นแคลน | ก. แสดงกิริยาท่าทาง พูด หรือเขียน เป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะตํ่าต้อยหรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, หมิ่น ก็ว่า. | ดูหมิ่นซึ่งหน้า | น. เป็นฐานความผิดอาญาลหุโทษ ที่ผู้กระทำ ดูถูกเหยียดหยามผู้อื่นซึ่งหน้า หรือด้วยการโฆษณา. | ขี้หน้า | น. หน้า (ใช้ในความหมั่นไส้ รังเกียจ หรือดูหมิ่น) เช่น เกลียดขี้หน้า ขายขี้หน้า. | คนพรรค์นั้น | น. คนพวกนั้น (มักใช้ในทางดูหมิ่นดูแคลน). | คาดหน้า | ก. หมายหน้าเป็นเชิงดูหมิ่น. | แคลน | (แคฺลน) ว. ขัดสน, อัตคัด, มักใช้ประกอบคำอื่น เช่น ขาดแคลน = ทั้งขาดทั้งแคลน หมายความว่า อัตคัด, ขัดสน ดูแคลน = ดูหมิ่นเพราะเห็นเขาขัดสน ดูหมิ่นถิ่นแคลน = ดูถูกว่ามีฐานะตํ่าต้อย. | ดูแคลน, ดูถูกดูแคลน | ก. พูดหรือแสดงอาการเป็นเชิงดูหมิ่นหรือเหยียดหยามผู้อื่นที่ขัดสนหรือยากจนกว่า. | ดูถูก | ก. พูดหรือแสดงอาการเป็นเชิงดูหมิ่นหรือเหยียดหยามผู้อื่นที่รู้สึกว่าต่ำต้อยหรือไร้ความสามารถ. | ดูดำ | ก. ดูหมิ่น เช่น เปนม่ายชายดูดำ กุมเกษกำแก้ผม ผลักล้มจมดินทราย แสร้งอวยอายอยดยศ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). | เด็กเมื่อวานซืน | น. คำกล่าวเชิงดูหมิ่นหรือเชิงสั่งสอนว่า มีความรู้หรือมีประสบการณ์น้อย. | ถุย | ออกเสียงดังเช่นนั้นแสดงกิริยาดูถูกดูหมิ่น. | น้ำหน้า | น. หน้า (ใช้ในความแดกดัน รังเกียจ หรือดูหมิ่น เป็นต้น) เช่น นํ้าหน้าอย่างนี้ทำไม่สำเร็จดอก เกลียดนํ้าหน้า ชังนํ้าหน้า | ประมาท | ดูหมิ่น เช่น ประมาทฝีมือ. | แพ้ภัยตัว | ก. เป็นภัยแก่ตัวเอง, เดือดร้อนตัวเอง, ให้มีอันเป็นไปเพราะดูถูกดูหมิ่นผู้ใหญ่เป็นต้น. | มีหน้า | ว. ไม่รู้สึกอาย (ใช้ในความแดกดัน รังเกียจ หรือดูหมิ่น), มักใช้กับคำ ยัง เช่น โกรธกันแล้วยังมีหน้ามาพูด เก่าไม่ใช้ ยังมีหน้ามายืมใหม่อีก. | ไม่ใช่ขี้ไก่ | ว. ไม่เลว, มีอะไรดีเหมือนกัน ดูหมิ่นไม่ได้. | ร้าวราน | ก. แตกสามัคคีกัน เช่น การดูหมิ่นกันทำให้เกิดร้าวรานในหมู่เพื่อนฝูง. | ล่วงเกิน | ก. แสดงอาการเกินสมควรต่อผู้อื่นโดยล่วงจารีตประเพณีหรือจรรยามารยาทด้วยการลวนลาม ดูหมิ่น สบประมาท เป็นต้น เช่น ไม่ควรล่วงเกินพ่อแม่ด้วยกิริยาวาจาที่ไม่สุภาพ. | ลองดี | ก. หาทางพิสูจน์ว่าจะดีจริงหรือไม่ (โดยมากเป็นไปในเชิงดูหมิ่นหรือท้าทาย) เช่น พูดจาท้าทายลองดีนักเลงใหญ่ ล้วงคองูเห่าด้วยการลองดีกับตำรวจ. | สบประมาท | ก. แสดงกิริยาวาจาดูถูกดูหมิ่นซึ่ง ๆ หน้า เช่น เขาถูกสบประมาทในที่ประชุม, ประมาทหน้า. | ส่องกระจก | ก. ดูภาพตนเองในกระจกเงา, โดยปริยายหมายความว่า ให้สำรวจดูฐานะหรือข้อบกพร่องของตน (มักใช้ในอาการที่ดูหมิ่น) เช่น กลับไปส่องกระจกดูเงาตัวเองเสียบ้าง. | เสียตา | โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่อยากดูให้เสียตาหรอก, เสียสายตา ก็ว่า. | เสียตีน | ก. สูญเสียตีนไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น บ้านของเขา ฉันไม่ไปเหยียบให้เสียตีนหรอก. | เสียมือ | ก. สูญเสียมือไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น คนอย่างนี้ ฉันไม่ไหว้ให้เสียมือหรอก. | เสียสายตา | โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น ของอย่างนี้ ฉันไม่ดูให้เสียสายตาหรอก, เสียตา ก็ว่า. | เสียหู | ก. สูญเสียหูไป, โดยปริยายใช้ในความดูถูกดูหมิ่น เช่น เรื่องไร้สาระเช่นนี้ ฉันไม่ฟังให้เสียหูหรอก. | หมิ่น ๑ | ก. แสดงกิริยาท่าทาง พูด หรือเขียน เป็นเชิงดูถูกว่ามีฐานะต่ำต้อยหรือไม่ดีจริงไม่เก่งจริงเป็นต้น, ดูหมิ่น หรือ ดูหมิ่นถิ่นแคลน ก็ว่า. | หมิ่นประมาท | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สามโดยประการที่น่าจะทำให้ผู้อื่นนั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง. | หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ | (หฺมิ่นพฺระบอรมมะเดชานุพาบ) ก. กระทำการอันเป็นการหมิ่นประมาทหรือดูหมิ่นองค์พระมหากษัตริย์. | หยาม | ก. ดูหมิ่น, ดูถูก. | หยามน้ำหน้า | ก. ดูหมิ่นเกียรติ, ดูหมิ่นศักดิ์ศรี. | เหยียดหยาม | ก. ดูหมิ่น. | เหวย ๆ | อ. คำร้องเรียกแสดงว่ามีอำนาจหรือแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยามเป็นต้น เช่น เหวย ๆ เจ้าเด็กน้อย. | อปมาน | (อะปะ-) น. การดูหมิ่น, การดูถูก. | อัจจัย | การล่วงเกิน, การดูหมิ่น. | อ้าย ๒ | น. คำประกอบคำอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศชายหรือสัตว์ตัวผู้ เช่น อ้ายหนุ่ม อ้ายด่าง, คำประกอบหน้าชื่อผู้ชายที่มีฐานะตํ่ากว่า อย่างนายเรียกคนใช้, คำประกอบหน้าชื่อเพื่อนฝูงแสดงว่ามีความสนิทสนมมาก มักใช้กันในหมู่เด็กผู้ชาย, คำใช้ประกอบหน้าชื่อผู้ชายแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คำประกอบคำบางคำที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้ชายหรือผู้ชายที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น อ้ายหนู อ้ายน้องชาย, คำประกอบหน้าคำบางคำเพื่อเน้น เช่น อ้ายเราก็ไม่ดี อ้ายจะไปก็ไม่มีที่จะไป อ้ายจะอยู่หรือก็คับใจ, คำประกอบหน้าชื่อสัตว์บางชนิดโดยไม่เน้นเพศ เช่น อ้ายเหลือม อ้ายทุย, คำประกอบหน้าคำบางคำเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น อ้ายทึ่ม อ้ายโง่ อ้ายควาย, คำใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกัน เช่น อ้ายนั่น อ้ายนี่, เขียนเป็น ไอ้ ก็มี, (โบ) คำนำหน้าชื่อผู้ชาย มักใช้ในทางไม่ดี เช่น อ้ายดีผู้ร้ายรับเปนสัจให้การซัดพวกเพื่อนถึงอ้ายเชด อ้ายแสน อ้ายคง อ้ายมั้น (สามดวง). | อี ๑ | น. คำประกอบคำอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศหญิงหรือสัตว์ตัวเมีย เช่น อีสาว อีเหมียว, คำประกอบหน้าชื่อผู้หญิงที่มีฐานะตํ่ากว่า, คำใช้ประกอบหน้าชื่อผู้หญิงแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คำประกอบคำบางคำที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้หญิงหรือผู้หญิงที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น อีหนู, คำประกอบหน้าคำบางคำเพื่อเน้น เช่น อีทีนี้จะเอาอะไรกินกันล่ะ อีตอนนั้นไม่สบายเลยไม่ได้ไป, คำประกอบหน้าคำบางคำเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น อีบ้า อีงั่ง อีควาย, คำใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกัน เช่น เอาอีนี่ออกไปซิ, (โบ) คำนำหน้าชื่อผู้หญิงสามัญชนทั่วไป เช่น อีอยู่อีคงทาษภรรยาพระเสนานน (สามดวง), ถ้าใช้ในทางเสียหายโดยเฉพาะทางด้านชู้สาว มักใช้ว่า อี่ เช่น หย่างไอ้ดีบวดอยู่วัดโพเสพเมถุนธรรมด้วยอี่ทองมาก อี่เพียน อี่พิ่ม อี่บุนรอด อี่หนู อี่เขียว (สามดวง). | ไอ้ | คำใช้ประกอบหน้าชื่อผู้ชายแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คำประกอบคำบางคำที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้ชายหรือผู้ชายที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น ไอ้หนู ไอ้น้องชาย |
| slander | การดูหมิ่นซึ่งหน้า [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | obscene libel | การดูหมิ่นเหยียดหยาม, การหมิ่นประมาทซึ่งหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | affront | ดูหมิ่นซึ่งหน้า, การสบประมาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | abuse | ๑. ดูหมิ่น๒. หยาบหยาม๓. กระทำในทางที่ไม่ถูกต้อง๔. ใช้อำนาจโดยมิชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | contempt of court | การดูหมิ่นศาล, การละเมิดอำนาจศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | insult | ดูหมิ่น, หมิ่นประมาท (ปพพ.) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | verbal injury | การดูหมิ่นซึ่งหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] |
| ดูหมิ่น | [dūmin] (v) EN: underestimate ; look down upon ; disparage ; disdain ; slight ; insult FR: mépriser ; dédaigner ; narguer | ดูหมิ่นดูแคลน | [dūmindūkhlaēn] (v) EN: insult | ดูหมิ่นเหยียดหยาม | [dūminyīetyām] (v) EN: despise | การดูหมิ่น | [kān dūmin] (n) EN: despising | การดูหมิ่นศาล | [kān dūmin sān] (n, exp) EN: contempt of court |
| affront | (n) การดูถูก, การดูหมิ่น, การสบประมาท, การปรามาส เช่น It is an affront to call German women with the title of 'Fräulein'. (Fräulein = Miss) | noob | (n, collq) มือใหม่, คนที่ไม่ประสีประสา (อาจใช้ในความหมายเชิงดูหมิ่น), See also: newbie, Syn. rookie |
| blaspheme | (vt) พูดดูหมิ่นหรือสบประมาทศาสนา, See also: กล่าวถ้อยคำหยาบคาย, Syn. defile, desecrate, Ant. honor, revere | blaspheme | (vi) พูดดูหมิ่นศาสนาหรือสิ่งศักดิ์สิทธ์, Syn. defile, desecrate, profane, Ant. honor, revere | blasphemous | (adj) เกี่ยวกับการดูหมิ่นเหยียดหยาม, See also: อันหยาบคาย, Syn. profane, irreligious, Ant. religious, pious | blasphemously | (adv) ที่ดูหมิ่นเหยียดหยาม, See also: ที่หยาบคาย, Syn. profanely | blasphemy | (n) การสบประมาทหรือการดูหมิ่น, See also: การสบประมาทศาสนา, Syn. desecration, profanation | contemptible | (adj) น่าเหยียดหยาม, See also: ซึ่งสมควรแก่การดูถูกดูหมิ่น, Syn. despicable, worthless | contemptuous | (adj) ซึ่งดูหมิ่นหรือเหยียดหยามผู้อื่น, See also: ซึ่งแสดงการดูหมิ่น, ซึ่งสบประมาท, Syn. disdainful, insulting, scornful | contumely | (n) การสบประมาท, See also: การดูหมิ่น, การเหยียดหยาม, Syn. abuse, insult, revilement | desecrate | (vt) ดูหมิ่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์, See also: ทำลายสิ่งศักดิ์สิทธิ์, Syn. defile, profane, Ant. honor, revere | desecration | (n) การดูหมิ่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์, See also: การทำลายสิ่งศักดิ์สิทธิ์, Syn. sacrilege, profanation | despise | (vt) เหยียดหยาม, See also: ดูหมิ่น, ดูถูก, ดูแคลน, Syn. abhor, contemn, detest, Ant. love, like | disparage | (vt) ดูถูก, See also: ดูหมิ่น, วิพากษ์วิจารณ์, Syn. belittle, minimize, diminish, Ant. esteem | disparagement | (n) การดูถูกดูหมิ่น, See also: การวิพากษ์วิจารณ์ในทางลบ, Syn. depreciation, detraction | disrespect | (n) การขาดความเคารพ, See also: การดูหมิ่น; ความหยาบคาย, Syn. lack of respect, rudeness;impoliteness | disrespectful | (adj) ที่ไม่เคารพ, See also: หยาบคาย, ดูหมิ่น, Syn. impolite, insolent, insulting, rude | flout | (vi) เยาะเย้ย, See also: ดูหมิ่น, ดูถูก, เหยียดหยาม, Syn. mock, disdain, scorn, Ant. praise, esteem | flout | (n) คำพูดเยาะเย้ย, See also: คำพูดเหยียดหยาม, การดูหมิ่น, Syn. insult, gibe, Ant. respect, praise | laugh in someone's face | (idm) ไม่รับฟัง, See also: ดูถูก, ดูหมิ่น, ไม่ยอมฟัง, ไม่เชื่อฟัง, ไม่ยอมรับนับถือ | look down on | (phrv) ดูถูก, See also: ไม่ชอบ, ดูหมิ่น, Syn. look down one's nose (at) | look down one's nose | (idm) ดูถูก, See also: ไม่ชอบ, ดูหมิ่น, Syn. look down on | look down one's nose at | (idm) ดูถูก, See also: ดูหมิ่น, Syn. look down on | look down upon | (phrv) ดูหมิ่น, See also: ดูถูก, Syn. disdain, scorn | profanation | (n) การทำให้เสื่อมเสีย, See also: การดูหมิ่น | sacrilege | (n) การลบหลู่ศาสนา, See also: การเหยียดหยามศาสนา, การดูหมิ่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์, Syn. desecration, blasphemy, profanation | sacrilegious | (adj) ซึ่งมีความผิดฐานล่วงเกิน, See also: ซึ่งดูหมิ่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์, Syn. profane, sinful | scorn | (vt) ดูหมิ่น, See also: ดูถูก, Syn. disdain | scorner | (n) ผู้ดูหมิ่น | scornful | (adj) ดูถูก, See also: ดูหมิ่น, รังเกียจ, Syn. contemptous, disdainful | scornfulness | (n) การดูหมิ่น | slighting | (adj) ดูหมิ่น | snoot | (vt) ดูถูก (คำไม่เป็นทางการ), See also: เหยียดหยาม, ดูหมิ่น | snub | (vt) ดูแคลน, See also: ดูหมิ่น, ดูถูก, Syn. scorn, ignore, spurn | supercilious | (adj) ดูหมิ่น, See also: ดูถูก, เหยียดหยาม, หยิ่งยโส, Syn. contemptuous, disdainful, scornful | snap one's fingers at | (idm) ดูถูก, See also: ดูหมิ่น | talk down | (phrv) พูดดูหมิ่น |
| blaspheme | (แบลสฟีม') { blasphemed, blaspheming, blasphemes } v. ดูหมิ่น, สบประมาท, กล่าวร้าย, ด่า , ดูหมิ่นศาสนา, See also: blasphemer n. ดูblaspheme | blasphemous | (แบลส'ฟิมัส) adj. adj. ซึ่งดูหมิ่น, ซึ่งสบประมาทหรือดูหมิ่นศาสนา, หยาบคาย, อัปมงคล | blasphemy | (แบลส'ฟะมี) n. การสบประมาท, การดูหมิ่น, การสบประมาทศาสนา, Syn. impiety | contemn | (คันเทมน์') { contemned, contemning, contemns } vt. ดูถูก, ดูหมิ่น, สบประมาท, หมิ่นประมาท., See also: contemner n. ดูcontemn contemnor n. ดูcontemn contemnible adj. ดูcontemn, Syn. disgrace, Ant. respect | contumely | (คอน'ทุมะลี) n. การดูหมิ่น, ความหยิ่งยะโสที่เป็นการดูหมิ่น, การสบประมาท., See also: contumelious adj., Syn. insolence | defiance | (ดิไฟ'เอินซฺ) n. การท้า, การท้าทาย, การต่อต้าน, การดูหมิ่น, Syn. hostility | defiant | (ดิไฟ'เอินทฺ) adj. ซึ่ง ท้า, ท้าทาย, เป็นปฏิปักษ์, ต่อต้าน, ดูหมิ่น, Syn. mutinous | depreciatory | (ดิพรี'ชีอะโทรี) adj. ซึ่งลดต่ำลง (ค่า) , เป็นการดูหมิ่น | desecrate | (เดส'ซะเครท) vt. ดูหมิ่น (สถานที่เคารพ), See also: desecrater n. ดูdesecrate desecrator n. ดูdesecrate desecration n. ดูdesecrate, Syn. profane, Ant. consecrate | despicable | (เดส'พิคะเบิล) adj. น่ารังเกียจที่สุด, เลวทราม, น่าเหยียดหยาม, น่าดูหมิ่น, See also: despicableness n. ดูdespicable, Syn. mean, Ant. admirable | despise | (ดิสไพซ') vt. ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, ดูถูก, ชัง., Syn. condemn | despite | (ดิสไพทฺ') prep. ถึงอย่างไรก็ตาม, โดยไม่คำนึงถึง. n. ความเกลียดชัง, การดูหมิ่น, การเหยียดหยาม-Phr. (in despite of ถึงแม้ว่า) | diminish | (ดิมิน'นิช) vt. ทำให้ลดน้อยลง, ลดลง, ดูหมิ่น vi. ลดลง, See also: diminishable adj. | disdain | (ดิสเดน') { disdained, disdaining, disdains } vt. ดูถูก, ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ. n. การดูถูก, การดูหมิ่น, ความรู้สึกที่รังเกียจ, Syn. scorn, contempt | disdainful | (ดิสเดน'ฟูล) adj. เป็นการดูถูก (ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ) ., Syn. contemptuous, aloof | disparage | (ดิสแพ'ริจฺ) vt. ดูถูก, ดูหมิ่น, ใส่ร้าย., See also: disparager n. ดูdisparage disparaging adv. ดูdisparage | disparagement | n. การดูถูก, การดูหมิ่น, สิ่งที่ทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง, Syn. detraction | dispraise | vt., n. (การ) ดูหมิ่น, กล่าวร้าย, ด่า | disprize | vt. ดูหมิ่น, ดูถูก, รังเกียจ | disrespect | (ดิสริสเพคทฺ') n. การขาดความเคารพนับถือ, การดูหมิ่น, ความไม่เคารพยำเกรง | disrespectful | (ดิสริสเพค'ฟูล) adj. เป็นการดูหมิ่น, ขาดความเคารพยำเกรง, See also: disrespectfulness n. ดูdisrespectful, Syn. discourteous, rude | downplay | vt. สบประมาท, ดูหมิ่น, ป้ายร้าย, Syn. play down, make little of | flaunt | (ฟลอนทฺ) vt. โอ้อวด, เดินโอ้อวด, ดูหมิ่น, เหยีดหยาม. vi. โอ้อวดด้วยตัวเอง, เดินโอ้อวด, แสดงโอ้อวด, โบก (ธง) สะบัดพลิ้ว n. การโอ้อวด, การโบก (ธง) ., See also: flaunter n., Syn. flourish, brandish | flout | (เฟลาทฺ) vt., n. (การ) เยาะเย้ย, ดูหมิ่น, หมิ่นประมาท, เหยียดหยาม, คำพูดที่เยาะเย้ยหรือดูหมิ่น., See also: flouter n. floutingly adv., Syn. mock | invective | (อินเวค'ทิฟว) n., adj. (เกี่ยวกับ) การประนามอย่างรุนแรง, การกล่าวดูหมิ่น, ผรุสวาท, การด่าว่าอย่างรุนแรง, คำประนาม, คำผรุสวาท, คำด่าว่า, See also: invectively adv. invectiveness n., Syn. abuse | meanly | (มีน'ลี) adj. อย่างต่ำต้อย, อย่างน่าดูหมิ่น, อย่างขี้เหนียว, อย่างเห็นแก่ตัว, อย่างเลวทราม adv. อย่างปานกลาง, อย่างพอควร | misprize | (มิสไพรซ') vt. เกลียด, ชัง, ดูหมิ่น | profanation | (โพรเฟนเน'เชิน) n. การทำให้ต่ำช้า, การดูหมิ่น การทำให้เปรอะเปื้อน, See also: profanatory adj. | profane | (โพรเฟน') adj. หยาบคาย, ดูหมิ่นต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์, ทางฆราวาส, ไม่ศักดิ์สิทธิ์, ทางโลก, ไม่ใช่ทางศาสนา. vt. ดูหมิ่น, ทำลายความศักดิ์สิทธิ์., See also: profaneness n. profaner n., Syn. unconsecrated, Ant. exalt | sacrilegious | (แซคระลิจ'เจิส) adj. มีความผิดฐานล่วงเกินเหยียบย่ำหรือดูหมิ่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ | scorn | (สคอร์น) vt., n. (การ) ดูถูก, ดูหมิ่น, สบประมาท, ปฎิเสธอย่างสบประมาท, สิ่งที่ดูถูก, สิ่งที่ดูหมิ่น, See also: scorner n. scorningly adv., Syn. contempt | scornful | (สคอร์น'ฟูล) adj. เต็มไปด้วย (การดูถูก, การดูหมิ่น, การสบประมาท, การหัวเราะเยาะ), See also: scornfully adv. scornfulness n. | tut n. | interj. คำอุทานแสดงความไม่พอใจ ดูหมิ่นหรืออื่น ๆ |
| affront | (n) การสบประมาท, การดูถูก, การดูหมิ่น | affront | (vt) ปรามาส, สบประมาท, ดูถูก, ดูหมิ่น | blaspheme | (vt) ดูหมิ่นศาสนา | blasphemous | (adj) ซึ่งดูหมิ่นศาสนา | blasphemy | (n) การดูหมิ่นศาสนา | contempt | (n) การดูหมิ่น, การดูถูก, การหมิ่นประมาท, การสบประมาท | desecrate | (vt) ทำให้เสื่อมความศักดิ์สิทธิ์, ทำลายศาสนา, ดูหมิ่นศาสนา | desecration | (n) การทำให้เสื่อมความศักดิ์สิทธิ์, การทำลายศาสนา, การดูหมิ่นศาสนา | despise | (vt) หมิ่นประมาท, ดูถูก, ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, ชั่ว | despite | (n) การดูหมิ่น, การดูถูก, การเหยียดหยาม, ความชั่ว, ความเกลียดชัง | diminish | (vi, vt) ลดลง, น้อยลง, ดูหมิ่น | diminution | (n) การลดลง, การทำให้น้อยลง, การดูหมิ่น | disdainful | (adj) ซึ่งดูหมิ่น, วางปึ่ง, ซึ่งดูถูก, หยิ่ง, จองหอง, ไว้ตัว | disparage | (vt) ทำให้เสียชื่อ, ทำให้เสื่อมเสีย, ดูถูก, ดูหมิ่น, ใส่ร้าย | disparagement | (n) การทำให้เสื่อมเสีย, การดูถูก, การดูหมิ่น | disrespect | (n) ความไม่นับถือ, ความไม่มีสัมมาคารวะ, การดูหมิ่น | disrespect | (vt) ไม่นับถือ, ไม่มีสัมมาคารวะ, ดูหมิ่น | disrespectful | (adj) หยาบคาย, ไม่สุภาพ, ไม่เคารพนับถือ, ดูหมิ่น | flout | (vt) เหยียดหยาม, เยาะเย้ย, ดูหมิ่น, ดูถูก | insult | (n) การดูถูก, การหมิ่นประมาท, การดูหมิ่น, การสบประมาท | insult | (vt) ดูถูก, ดูหมิ่น, สบประมาท, หมิ่นประมาท | profanation | (n) การดูหมิ่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์, การทำลายความบริสุทธิ์ | profane | (adj) หยาบคาย, ดูหมิ่น | profane | (vt) ทำลายความบริสุทธิ์, ดูหมิ่นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ | profaneness | (n) ความหยาบคาย, การดูหมิ่น | profanity | (n) ความหยาบคาย, การดูหมิ่น, การทำลายสิ่งศักดิ์สิทธิ์ | slight | (vt) ดูหมิ่น, ดูถูก, ดูแคลน, มองข้าม |
| nood | [นูด] (adj) มือใหม่, คนที่ไม่ประสีประสา (ใช้ในความหมายเชิงดูหมิ่น), See also: rookie, Syn. noob | tut! | (n, vi) คำอุทานแสดงความไม่พอใจ ดูหมิ่นหรืออื่นๆ n.คำอุทาน "tut".-vi.คำอุทานคำว่า "tut", See also: shucks!; phew!; pshaw!; fie, Syn. shucks!; phew!; pshaw!; fie!; tsk!; hang it all! |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |