Search result for

*ปฏิวัติ*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ปฏิวัติ, -ปฏิวัติ-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ปฏิวัติ(v) overthrow, See also: stage a revolution, Syn. เปลี่ยนแปลง, ปฏิรูป, Example: ผู้นำทหารปฏิวัติไม่สำเร็จเลยต้องหนีออกนอกประเทศ
การปฏิวัติ(n) revolution, See also: revolutionary, Syn. การเปลี่ยนแปลง, Example: ญี่ปุ่นเป็นผู้ริเริ่มให้เกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมขึ้นในเอเชีย, Thai Definition: การเปลี่ยนแปลงระบบหรือการเปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารบ้านเมือง
คณะปฏิวัติ(n) revolutionary council, See also: revolutionary committee, revolutionary group, revolutionary party, Example: คณะปฏิวัติออกแถลงการณ์ฉบับที่ 1 ทางสถานีโทรทัศน์ทุกช่อง, Count Unit: คณะ, Thai Definition: กลุ่มบุคคลที่มาร่วมกันเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบหรือระบอบการบริหารบ้านเมือง
นักปฏิวัติ(n) revolutionist, Example: เหมาเจ๋อตุงเป็นนักปฏิวัติที่สำคัญคนหนึ่งของประวัติศาสตร์จีน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เคลื่อนไหวล้มล้างอำนาจรัฐ
นักปฏิวัติ(n) revolutionist, Example: จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์เป็นนักปฏิวัติที่สำคัญของไทย, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้นำในการเปลี่ยนแปลงระบบหรือระบอบการบริหารบ้านเมือง
ผู้ปฏิวัติ(n) revolutionist, See also: insurgent, rebel, Example: จอมพลสฤษดิ์ ผู้ปฏิวัติการบริหารประเทศได้เชื้อเชิญญี่ปุ่นให้เข้ามาร่วมในโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ, Thai Definition: ผู้เปลี่ยนแปลงระบบ

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ปฏิวัติน. การหมุนกลับ, การผันแปรเปลี่ยนหลักมูล
ปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงระบบ เช่น ปฏิวัติอุตสาหกรรม, การเปลี่ยนแปลงระบอบการบริหารบ้านเมือง เช่น ปฏิวัติการปกครอง.
คณาธิปไตย(คะนาทิปะไต, คะนาทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งปกครองโดยคณะบุคคลจำนวนน้อยของสังคม มักได้แก่ กลุ่มผู้อาวุโส กลุ่มทหาร หรือ กลุ่มปฏิวัติ.
ปฏิ-(ปะติ-) คำอุปสรรคในภาษาบาลีใช้นำหน้าศัพท์อื่น แปลว่า เฉพาะ เช่น ปฏิทิน, ตอบ เช่น ปฏิพากย์, ทวน เช่น ปฏิโลม, กลับ เช่น ปฏิวัติ.
เลือดเนื้อชีวิต เช่น ปฏิวัติโดยไม่เสียเลือดเนื้อ.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
permanent revolutionการปฏิวัติถาวร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Party, Leader of the Revolutionaryหัวหน้าคณะปฏิวัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Leader of the Revolutionary Partyหัวหน้าคณะปฏิวัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
revolutionการปฏิวัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
revolutionการปฏิวัติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
revolution, greenการปฏิวัติทางกสิกรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
revolution, industrialการปฏิวัติอุตสาหกรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
revolution, socialการปฏิวัติสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
revolutionary defeatismการยอมสยบก่อนปฏิวัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
social revolutionการปฏิวัติสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
counterrevolutionการปฏิวัติซ้อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
cultural revolutionการปฏิวัติทางวัฒนธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
green revolutionการปฏิวัติทางกสิกรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
industrial revolutionการปฏิวัติอุตสาหกรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
industrial revolutionการปฏิวัติอุตสาหกรรม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]
vital revolutionการปฏิวัติชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
two-stage theoryทฤษฎีปฏิวัติสองขั้นตอน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Industrial revolutionการปฏิวัติอุตสาหกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Art and revolutionsศิลปะกับการปฏิวัติ [TU Subject Heading]
Arts and revolutionsศิลปกรรมกับการปฏิวัติ [TU Subject Heading]
Green Revolutionการปฏิวัติเขียว [TU Subject Heading]
Industrial revolutionปฏิวัติอุตสาหกรรม [TU Subject Heading]
Motion pictures and the revolutionภาพยนตร์กับการปฏิวัติ [TU Subject Heading]
Music and the revolutionดนตรีกับการปฏิวัติ [TU Subject Heading]
Revolutionariesนักปฏิวัติ [TU Subject Heading]
Revolutionsปฏิวัติ [TU Subject Heading]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
Information Revolutionการปฏิวัติสารสนเทศ [การจัดการความรู้]
Green Revolutionการปฏิวัติเขียว [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
การปฏิวัติ[kān patiwat] (n) EN: revolt ; revolution ; mutiny ; rebellion  FR: révolte [ f ] ; révolution [ f ] ; insurrection [ f ] ; soulèvement [ m ] ; émeute [ f ]
การปฏิวัติฝรั่งเศส[Kān Patiwat Farangsēt] (n, prop) FR: Révolution française [ f ]
การปฏิวัติคาร์เนชั่น[Kān Patiwat Khānēchan] (n, prop) EN: Carnation Revolution  FR: révolution des œillets [ f ]
การปฏิวัติเขียว[Kān Patiwat Khīo] (n, prop) EN: Green Revolution  FR: Révolution verte [ f ]
การปฏิวัติพลังงาน[kān patiwat phalang-ngān] (n, exp) EN: Energy [ R ]evolution
การปฏิวัติพฤษภา ’68[kān patiwat phreutsaphā hoksip-paet] (n, exp) FR: Mai 68
การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 (๒๔๗๕)[Kān Patiwat Sayām phø.sø. søng phan sī røi jetsip-hā] (n, prop) EN: Siamese Revolution of 1932 ; Siamese Coup d'état of 1932 ; 1932 Revolution in Siam  FR: coup d'État de 1932 [ m ]
การปฏิวัติทางพันธุกรรม[kān patiwat thāng panthukam] (n, exp) EN: genetic revolution
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา[kān patiwat thāng phūmpanyā] (n, exp) EN: Intellectual Revolution
การปฏิวัติทางอุตสาหกรรม[kān patiwat thāng utsāhakam] (n, exp) EN: Industrial Revolution  FR: révolution industrielle [ f ]
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์[kān patiwat thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: Scientific Revolution
การปฏิวัติเทคโนโลยี[kān patiwat thēknōlōyī] (n, exp) EN: Technological Revolution  FR: révolution technologique [ f ]
การปฏิวัติอุตสาหกรรม[kān patiwat utsāhakam] (n, exp) EN: Industrial Revolution  FR: révolution industrielle [ f ]
การปฏิวัติวัฒนธรรม[kān patiwat watthanatham] (n, exp) EN: cultural revolution  FR: révolution culturelle [ f ]
ลักษณะปฏิวัติ[laksana patiwat] (n, exp) EN: revolutionary nature
มือปฏิวัติ[meū patiwat] (n, exp) EN: expert in staging a coup d'etat
นักปฏิวัติ[nakpatiwat] (n) EN: revolutionary ; revolutionist  FR: révolutionnaire [ m ]
ปฏิวัติ[patiwat] (n) EN: revolution  FR: révolte [ f ] ; révolution [ f ]
ปฏิวัติ[patiwat] (v) EN: revolt ; overthrow ; stage a revolution ; drastically reform  FR: se révolter ; renverser le pouvoir
ปฏิวัติ[patiwat] (adj) EN: revolutionary
ปฏิวัติการศึกษา[patiwat kānseuksā] (n, exp) EN: educational revolution ; revolution in education
ปฏิวัติอุตสาหกรรม[patiwat utsāhakam] (n, exp) EN: industrial revolution   FR: révolution industrielle [ f ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
coup(n) รัฐประหาร, See also: ปฏิวัติ, Syn. revolution, overthrow
coup d'etat(n) การรัฐประหาร, See also: การชิงอำนาจ, การปฏิวัติ, Syn. putsch, takeover
Industrial Revolution(n) การปฏิวัติอุตสาหกรรม, See also: เริ่มในประเทศอังกฤษช่วงตอนกลางของศตวรรษที่ 18 ก่อนแพร่หลายเข้าสู่ทวีปยุโรปและสหรัฐอเมร
new broom(n) ผู้มาทำงานใหม่ที่มาปฏิวัติสิ่งต่างๆ
nihilism(n) การก่อการร้าย, See also: การปฏิวัติ, Syn. terrorism
redcoat(n) ทหารอังกฤษที่แต่งเครื่องแบบสีแดงช่วงการปฏิวัติในอเมริกา
revolt(vi) ปฏิวัติ, See also: กบฏ, จลาจล, Syn. mutiny, rebel, resist
revolt(n) การปฏิวัติ, See also: การกบฏ, จลาจล, Syn. rebellion, revolution
revolution(n) การปฏิวัติ, Syn. mutiny, rebellion, revolt
revolutionary(adj) เกี่ยวกับการปฏิวัติ, Syn. rebellious, revolting, insurgent
revolutionise(vt) ปฏิวัติ, See also: ทำให้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก, Syn. transform, remodel, recast
revolutionist(n) นักปฏิวัติ, See also: ผู้ปฏิวัติ, Syn. revolter
revolutionize(vt) ปฏิวัติ, See also: ทำให้เปลี่ยนแปลงอย่างมาก, Syn. transform, remodel, recast
uprising(n) การปฏิวัติ, Syn. revolt, rebellion

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
ancien regime(อานุเซียน' เรจึม) fr. ระบบการเมืองและสังคมของฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติปี ค.ศ.1789 ระบอบเก่า
counterrevolution(เคา'เทอะเรฟโวลู'เชิน) n. การปฏิวัติซ้อน, การเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ต่อต้านการปฏิวัติที่เกิดขึ้น.
filibuster(ฟิล'ละบัสเทอะ) n., v. (ผู้ที่) (การ) ปฏิบัติการที่ทหารเข้าไปในประเทศอื่นโดยพลการเพื่อสนับสนุนการปฏิวัติ, ขัดขวางการยอมรับญัตติหรือกฎหมายในสภา, , See also: filibusterer n. filibusterism n.
french revolutionn. การปฏิวัติในฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ.1789 โค่นล้มราชวงศ์Bourbonและนโปเลียนมหาราชโดยยึดอำนาจเมื่อปี ค.ศ.1799
nihilism(ไน'อะลิสซึม) n. ลัทธิยกเลิกกฎหมายและองค์กรบริหารทั้งหลาย, คนสงสัยอย่างยิ่งยวด, ลัทธิทำลาย, สภาวะที่ไร้กฎหมาย มีการก่อการร้ายและการปฏิวัติอื่น ๆ , การทำลายสิ้นเชิง., See also: nihilist n., adj. nihilistic adj.
revolt(รีโวลทฺ') vi., vt., n. (การ) ปฏิวัติ, กบฏ, จลาจล, ทรยศ, เอาใจออกห่าง, หักหลัง, รังเกียจ, ขยะแขยง, See also: revolter n., Syn. rebel, mutiny, feel horror
revolute(เรฟ'วะลิวทฺ) vi. ปฏิวัติ adj. ม้วนกลับ, ม้วนลง, งอกลับ, งอลง
revolution(เรฟ'วะลิว'เชิน) n. การปฏิวัติ, การเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง (และมักรวดเร็ว) , การเปลี่ยนแปลงอย่างขนานใหญ่, การหมุนรอบ, การโคจร, การพลิกแผ่นดิน, รอบ, วัฎจักร, See also: revolutionary adj., n., Syn. revolt, cycle, rotation
revolutionise(เรฟวะลู'เชินไนซ) vt. ปฏิวัติ, ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง, หมุนรอบ, See also: revolutionizer n., Syn. effect a radical
revolutionize(เรฟวะลู'เชินไนซ) vt. ปฏิวัติ, ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง, หมุนรอบ, See also: revolutionizer n., Syn. effect a radical
vaporwareเวเพอร์แวร์ <คำอ่าน>หมายถึง ผลิตภัณฑ์สินค้า ไม่ว่าจะเป็นซอฟต์แวร์ หรือฮาร์ดแวร์ที่ยังไม่มีการผลิตออกสู่ตลาด จริง ๆ แต่มีการประชาสัมพันธ์ราวกับว่าได้มีการผลิตออกมาเรียบร้อยแล้ว ชักชวนให้เชื่อว่า จะปฏิวัติระบบเก่า ๆ ได้ ยกตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์ที่สามารถสั่งงานได้ด้วยเสียงพูด แต่จริง ๆ แล้ว กว่าจะผลิตออกขายได้ ยังต้องใช้เวลาพัฒนาอีกนาน

English-Thai: Nontri Dictionary
revolt(vi) ทรยศ, ก่อกบฏ, หักหลัง, ปฏิวัติ
revolution(n) การปฏิวัติ, การเปลี่ยนแปลง, วัฏจักร, การหมุนเวียน
revolutionary(adj) เกี่ยวกับการปฏิวัติ, เกี่ยวกับการหมุนเวียน, เกี่ยวกับวัฏจักร
revolutionist(n) ผู้ก่อการปฏิวัติ
revolutionize(vt) หมุนเวียน, ปฏิวัติ, เปลี่ยนแปลง

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
革命[かくめい, kakumei] (n) การปฏิวัติ

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top