กรุก | (กฺรุก) ว. เสียงดังกุก เช่น ได้ยินเสียงกรุกลุกขึ้นมอง (คาวี). | กรุกกรัก | ว. เสียงดังกุกกัก เช่น ได้ยินเสียงกรุกกรักก็ทักถาม (ม. ร่ายยาว ชูชก). | ขี้ขึ้นขมอง, ขี้ขึ้นสมอง | น. ความรู้สึกตกใจกลัวจนไม่คิดหน้าคิดหลัง เช่น พอได้ยินเสียงตวาดก็ขี้ขึ้นสมองแล้ว, มักใช้ประกอบคำ กลัว ว่า กลัวจนขี้ขึ้นขมอง หรือ กลัวจนขี้ขึ้นสมอง. | ตกใจ | ก. สะดุ้งขึ้นโดยไม่รู้ตัวเมื่อได้ยินเสียงดัง ๆ หรือมีใครมาถูกต้องตัว, ใจหาย. | ประสาทหลอน | น. ความผิดปรกติของการรับรู้ เช่น เห็นภาพหลอน ได้ยินเสียงคนพูดโดยไม่มีคนพูดจริง ได้กลิ่นที่ไม่มีอยู่จริง. | ลือลั่น | ก. โด่งดังมาก เช่น ได้ยินเสียงลือลั่น. | โล่งหู | ก. รู้สึกสบายอกสบายใจเพราะไม่ได้ยินเสียงที่เคยทำให้รำคาญหูอยู่เป็นประจำ. | สะดุ้ง ๑ | ก. ไหวตัวขึ้นทันทีด้วยความตกใจ เพราะไม่ทันรู้ตัวหรือไม่ได้นึกคาดหมายไว้เป็นต้น เช่น เมื่อได้ยินเสียงระเบิดก็สะดุ้งสุดตัว. | สะดุดหู | ก. กระทบหูชวนให้อยากฟัง หรือรู้สึกเคลือบแคลงใจเป็นต้น เช่น ได้ยินเสียงเพลงเขมรไทรโยค รู้สึกสะดุดหูทำให้นึกถึงความหลัง ได้ยินเสียงคนพาลพูดแขวะ รู้สึกสะดุดหูทันที. | ส่าย ๒ | ว. เสียงอย่างเสียงที่เกิดจากผ้าแพรเนื้อหนาแข็งเสียดสีกัน เช่น ได้ยินเสียงแพรส่าย. | สุดกู่ | ว. ไกลมากจนไม่ได้ยินเสียงกู่ เช่น เขาไปปลูกบ้านเสียจนสุดกู่, อยู่ท้าย ๆ เช่น สอบได้ที่สุดกู่ จอดรถไว้สุดกู่. | เสียว | ก. รู้สึกแปลบเพราะเจ็บ เช่น รู้สึกเสียวที่ข้อเท้าเพราะเท้าแพลง, เกิดอาการที่ทำให้ขนลุกหรือกลัว เช่น เดินเข้าไปในป่าช้าเวลาค่ำ ๆ ได้ยินเสียงแกรกกรากก็รู้สึกเสียว พอเห็นเข็มฉีดยาก็เสียวเสียแล้ว, รู้สึกวาบในหัวใจด้วยความกำหนัด | หนวก | (หฺนวก) ว. อาการที่หูขาดสมรรถภาพในการได้ยินเสียง. | หูดับ | ว. อาการของหูที่อื้อไปพักหนึ่งเนื่องจากได้ยินเสียงดังมาก. | หูฝาด, หูเฝื่อน | ก. ได้ยินเสียงเพี้ยนไป. | หูแว่ว | ก. ได้ยินเสียงแผ่ว ๆ ไม่ชัดเจน | หูไว | ว. ตื่นง่าย เช่น เขาเป็นคนหูไว พอได้ยินเสียงแว่ว ๆ ก็ตื่นทันที, มีประสาทหูไว เช่น เขาเป็นคนหูไว ใครพูดเสียงเบา ๆ ยังได้ยิน | หูหนวก | น. หูที่ขาดสมรรถภาพในการได้ยินเสียง, โดยปริยายหมายความว่า ฟังอะไรไม่ได้ยิน. | หูอื้อ | ว. อาการที่รู้สึกเหมือนมีลมอยู่ในหูทำให้ไม่ค่อยได้ยินเสียง. | เหวย ๆ | ว. เสียงร้องเรียกที่ได้ยินแต่ที่ไกล เช่น ได้ยินเสียงใครมาร้องเรียกอยู่เหวย ๆ. |
|
| Teleconference | การประชุมทางไกล, การประชุมทางไกล โดยผู้ประชุมได้ยินเสียงและเห็นภาพกันได้ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cochlear Implant | ประสาทหูเทียม, ชุดอุปกรณ์ที่ผ่าตัดฝังเข้าไปในหูส่วนในของผู้ที่หูหนวก เพื่อกระตุ้นประสาทในคอกลี (Cochlea) ให้รู้สึกได้ยินเสียง อุปกรณ์ที่ฝังจะทำงานร่วมกับไมโครโฟนภายนอก ระบบประมวลสัญญาณและส่งวิทยุ และระบบรับวิทยุที่ต่อกับชุดประสาทหูเทียม [Assistive Technology] | Speech Viewer | โปรแกรมฝึกพูด, โปรแกรมที่ใช้ในการฝึกพูดแก่ผู้ที่ไม่ได้ยินเสียงพูดของตนเอง โดยโปรแกรมจะฝึกผู้พูดให้ออกเสียงแต่ละเสียงถูกต้องโดยการให้ "มองเห็น" สิ่งที่กำลังพูด การฝึกประกอบด้วย เรื่อง ความดัง ระดับเสียงสูง ต่ำ เสียงก้อง เสียงไม่ก้อง และการฝึกเสียงตามหน่วยเสียงที่กำหนด ซึ่งอาจจะเริ่มต้นที่ ๑ หน่วยเสียง ไปจนถึง ๔ หน่วยเสียง โปรแกรมนี้เป็นผลิตภัณฑ์ของบริษัทไอบีเอ็ม จำกัด [Assistive Technology] | Aphasia, Auditory | ได้ยินเสียงแต่ไม่เข้าใจความหมาย, ได้ยินแล้วไม่เข้าใจว่าเป็นเสียงอะไร [การแพทย์] | Audiograms, Puretone | การได้ยินเสียงสูงๆต่ำๆ [การแพทย์] | Audiometers, Automatic | เครื่องตรวจการได้ยินเสียงแบบอัตโนมัติ [การแพทย์] | Audiometry, Speech | การตรวจการได้ยินด้วยเสียงพูด, การทดสอบการได้ยินเสียงด้วยคำพูด [การแพทย์] | Doppler effect | ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์, การเปลี่ยนความถี่ของเสียงหรือระดับเสียงที่ผู้รับฟังได้ยิน เนื่องจากการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับผู้รับฟัง เช่น เมื่อรถพยาบาลเล่นเข้ามาใกล้ เราจะได้ยินเสียงไซเรนมีความถี่สูงกว่าเมื่อแล่นห่างออกไป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Murmur, Innocent | ได้ยินเสียงฟู่โดยไม่มีโรคหัวใจ [การแพทย์] |
| auditory | (adj) เกี่ยวกับการได้ยินเสียง, Syn. hearing, aural, auditive | drown out | (phrv) ทำให้ไม่ได้ยินเสียง | drown out | (vt) กลบ (เสียง) (มักใช้รูป passive voice), See also: ทำให้เกิดเสียงดัง จนไม่ได้ยินเสียงอื่น | earshot | (n) ระยะที่ได้ยินเสียง, See also: ระยะที่สามารถได้ยินเสียง | get within | (phrv) สามารถได้ยิน, See also: ได้ยินเสียง, Syn. come within | hear | (vi) ได้ยิน, See also: ได้ยินเสียง | hear | (vt) ได้ยิน, See also: ได้ยินเสียง | hearing | (n) ระยะทางที่สามารถได้ยินเสียง, See also: ระยะที่พอได้ยิน, Syn. earshot | monaural | (adj) ซึ่งได้ยินเสียงเดียว |
| audio conference | การประชุมทางไกลด้วยเสียงหมายถึง การประชุมระหว่างคนสองคนหรือมากกว่า ที่อยู่ห่างไกลกันมาก แต่สามารถได้ยินเสียงของกันและกันได้ การส่งเสียงดังกล่าวอาจทำให้ผ่านสายโทรศัพท์หรือสัญญาณดาวเทียมก็ได้ | audiographic conference | การประชุมทางไกลด้วยเสียงและภาพหมายถึง การประชุมระหว่างคนสองคนหรือมากกว่า ที่อยู่ห่างไกลกันมาก นอกจากจะได้ยินเสียงของกันและกันแล้ว ยังสามารถเห็นภาพประกอบการประชุมได้ด้วย ภาพดังกล่าวน่าจะเป็นภาพกราฟิกส์ในเครื่องคอมพิวเตอร์ | earshot | n. ระยะที่ได้ยินเสียง | whiz-bang | (วิซ'แบง) n. ลูกกระสุนขนาดเล็กที่มีความเร็วสูงและได้ยินเสียงหวือ, ดอกไม้ไฟชนิดที่มีความเร็วสูง, ผู้ที่เป็นอัจฉริยะ, คำตลก adj. ดีเลิศ, ชั้นหนึ่ง, ยอดเยี่ยม, ดีที่สุด, Syn. whizz-bang |
| 聞く | [きく, kiku] TH: ได้ยินเสียง EN: to hear |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |