Search result for

*การสอบสวน*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การสอบสวน, -การสอบสวน-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ใบไต่สวนน. หนังสือแสดงการสอบสวนเพื่อออกโฉนดที่ดิน.
ปล่อยชั่วคราวก. ปล่อยผู้ต้องหาหรือจำเลยจากการควบคุมหรือขังชั่วระยะเวลาหนึ่งในระหว่างการสอบสวนหรือระหว่างการพิจารณาของศาล โดยไม่มีประกัน มีประกัน หรือมีประกันและหลักประกัน.
ปิดสำนวนก. ยุติการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดี.
พนักงานสอบสวนน. เจ้าพนักงานซึ่งกฎหมายให้มีอำนาจและหน้าที่ทำการสอบสวน.
วิมังสาน. การสอบสวน, ความไตร่ตรอง, ความพิจารณา.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
sweating๑. การใช้แรงงานอย่างทารุณ๒. การสอบสวนอย่างทารุณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
sweating๑. การสอบสวนอย่างทารุณ๒. การใช้แรงงานอย่างทารุณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
questioning of suspectsการสอบสวนผู้ต้องหา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
close the inquiryปิดสำนวนการสอบสวน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
diligent inquiryการสอบสวนอย่างหนักหน่วง (เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงอย่างสมบูรณ์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
enquiryการสอบสวน [ ดู inquiry ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
inquiryการสอบถาม, การสอบสวน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
inquiryการสอบสวน [ ดู enquiry ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
narcoanalysisการสอบสวนโดยทำให้ง่วงซึม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Police questioningการสอบสวนของตำรวจ [TU Subject Heading]
Commission on Human Rightsคณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต]
International Labor Organizationคือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต]
Epidemiological Investigationsการสอบสวนวิชาการเกี่ยวกับการระบาดของโรค [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ดำเนินการสอบสวน[damnoēnkān søpsūan] (v, exp) EN: interrogate ; examine
การสอบสวน[kān søpsūan] (n) FR: enquête [ f ] ; investigation [ f ]
การสอบสวนทางวินัย[kān søpsūan thāng winai] (n, exp) FR: enquête disciplinaire [ f ]
คณะกรรมการสอบสวน[khanakammakān søpsūan] (n, exp) EN: committee of enquiry  FR: commission d'enquête [ f ]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
inquest(n) การสอบสวนคดี, See also: การพิจารณาคดี, ผู้สอบสวนคดี, Syn. inquiry, investigation
inquisition(n) การสอบสวนหาความผิด, See also: การสืบสวน, การพิจารณาคดี, Syn. investigation, official inquiry, trial
inquisitor(n) ผู้ทำการสอบสวน, See also: สมาชิกของศาลพระสเปนสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, Syn. analyst, examiner
investigation(n) การสืบสวน, See also: การไต่สวน, การสอบสวน, Syn. examination, inquiry, probe
witch-hunt(n) การสอบสวนและเปิดเผยแผนการกบฏ หรือศัตรูทางการเมือง, See also: มักเป็นการอาศัยหลักฐานที่คลุมเครือ หรือแค่ความสงสัยเท่านั้น

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
inquest(อิน'เควสทฺ) n. การสอบสวนคดี, การพิจารณาคดี' (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการชันสูตรศพ) คณะผู้สอบสวน, Syn. legal, inquiry
inquisition(อินควิซิช'เชิน) n. การสอบสวนอย่างขู่เข็ญ, การสืบสวน, การวินิฉัย, คณะผู้ทำการสอบสวน, ศาลพระสเปนสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, Syn. investigation
inquisitor(อินควิซ'ซิเทอะ) n. ผู้ทำการสอบสวน, เจ้าหน้าที่ผู้ทำการสอบสวน, ผู้ชอบถาม, สมาชิกของศาลพระสเปญสมัยก่อนที่มีชื่อเกี่ยวกับการทารุณ, See also: inquisitorial adj., Syn. inquisitionist
investigation(อินเวสทิเก'เชิน) n. การสำรวจ, การสืบสวน, การไตร่สวน, การสอบสวน
search(เซิร์ชฺ) vt., vi. ค้น, หา, ตรวจสอบ, สอดส่อง, สอบถาม, สืบหา, สืบสวน, พินิจพิเคราะห์ -Phr. (search me คำอุทานแสดงการปฎิเสธ) n. การค้น, การหา, การตรวจสอบ, การสืบสวน, การสอบสวน., See also: searchable adj. searchness, Syn. probe
trial(ไทร'เอิล) n. การทดลอง, การสอบสวน, การซ้อม, การทรมาน, ความเจ็บปวด, ความยากลำบาก, บุคคลที่ลำบากลำบน, เรื่องที่ยากลำบาก adj. เกี่ยวกับการทดสอบ, เป็นตัวอย่าง, Syn. experiment, tryout, ordeal, test
unheard(อันเฮิร์ด') adj. ไม่ได้ยิน, ไม่มีการสอบสวน, ไม่ได้ฟังกันก่อน

English-Thai: Nontri Dictionary
enquiry(n) การไต่ถาม, การสอบถาม, การสอบสวน, การสืบสวน, คำถาม
examination(n) การตรวจสอบ, การทดสอบ, ข้อสอบ, การสอบสวน
exploration(n) การสำรวจ, การตรวจค้น, การสอบสวน, การวินิจฉัย
inquest(n) การไต่สวน, การพิจารณาคดี, การสอบสวนคดี, การชันสูตรศพ
inquiry(n) การถาม, การสืบสวน, การสอบสวน, การไต่สวน
inquisition(n) การไต่สวน, การสอบสวน, การสืบสวน
investigation(n) การสืบสวน, การสอบสวน, การไต่สวน, การสำรวจ
trial(n) การทดลอง, การพิสูจน์, การพิจารณา, การสอบสวน, ความทรมาน

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
調査[ちょうさ, chousa] TH: การสอบสวน  EN: inquiry

German-Thai: Longdo Dictionary
Verhandlung(n) |die, pl. Verhandlungen| การสอบสวน, การไต่สวน
Ermittlung[แอ-มิท-หลุ่ง] (n) |die, pl. Ermittlungen| การหาค่า การสอบหา การสืบสวน การสอบสวน

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top