ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
|
| จิตสำนึก | (n) conscious, Example: จิตสำนึกคอยย้ำเตือนมิให้เขาทำความชั่ว, Thai Definition: ภาวะที่จิตตื่นและรู้สึกตัวสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่สัมผัสได้ด้วยกาย |
| จิตสำนึก | น. ภาวะที่จิตตื่นและรู้ตัวสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าจากประสาทสัมผัสทั้ง ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่สัมผัสได้ด้วยกาย. | ฮิสทีเรีย | น. โรคจิตชนิดหนึ่ง มีอาการแสดงออกได้หลายแบบโดยไม่เกี่ยวข้องกับความพิการของอวัยวะส่วนใด ๆ ของร่างกาย ผู้ป่วยเป็นโรคนี้เพราะในจิตสำนึกหวังได้รับผลประโยชน์ เช่น หวังการหลุดพ้นจากสภาพแวดล้อมที่บีบคั้น. |
| Safety culture | วัฒนธรรมความปลอดภัย, พฤติกรรมขององค์กรและบุคคลในองค์กร ที่สะท้อนการได้รับการปลูกจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ทั้งจากการอบรม การเรียนรู้และการถ่ายทอด จนเกิดเป็นนิสัยและเจตคติที่ให้ความสำคัญต่อการระวังป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตัวอย่างเช่น ผู้ปฏิบัติงานทางนิวเคลียร์และรังสี ย่อมรู้ดีว่าจะต้องใช้อุปกรณ์ใดบ้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น ต้องติดมาตรปริมาณรับรังสี ต้องใช้เครื่องมือหยิบจับสารกัมมันตรังสี มีวัสดุและอุปกรณ์กำบังรังสีที่พอเพียง รวมทั้งการสวมแว่นตาและหน้ากากกันไอระเหย ให้เหมาะสมตามลักษณะของงาน [นิวเคลียร์] | Mental Model | การมีจิตสำนึก [การจัดการความรู้] | ASEAN Environment Year | ปีสิ่งแวดล้อมอาเซียน กำหนดให้มีขึ้นทุก 3 ปี เพื่อสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมให้กับ ประชาชนทุกระดับในสังคม รวมทั้งส่งเสริมความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม แก่สาธารณชนในการนำไปสู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน [การทูต] | ASEAN Foundation | มูลนิธิอาเซียน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการสร้าง จิตสำนึกของความเป็นอาเซียนในหมู่ประชาชน และเพื่อให้การสนับสนุนกิจกรรม/โครงการเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รวมทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของสมาชิกอาเซียนอย่างเท่าเทียมกัน มีสำนักงานอยู่ที่กรุงจาการ์ตา [การทูต] | Conscious | จิตสำนึก [การแพทย์] | Conscious Mind | จิตสำนึก [การแพทย์] | Mutism | การไม่ยอมพูด, ใบ้, ความเป็นใบ้, การไม่พูดเพราะเหตุผลในจิตสำนึกและจิตไร้สำนึก, พูดไม่ได้ [การแพทย์] |
| จิตสำนึก | [jitsamneuk] (n) EN: conscious mind ; conscious ; conscience FR: conscient [ m ] | การปลุกจิตสำนึก | [kān pluk jitsamneuk] (n, exp) EN: agitprop FR: agit-prop [ f inv. ] ; activité militante [ f ] |
| civil society | (n) ประชาสังคม เป็นการรวมกลุ่มของประชาชนโดยมีจิตสำนึกร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาของสังคม เช่น Civil society is much talked about, but rarely understood. John Edwards explores the practical and theoretical significance of civil society. |
| act out | (phrv) แสดง (ความคิด, ความกลัวที่ซ่อนใต้จิตสำนึก, ความเพ้อฝัน) ออกมา, Syn. play out | good sense | (n) จิตสำนึก, Syn. common sense | unconscionable | (adj) ไม่มีสามัญสำนึก, See also: ไม่คุมสติ, ไร้เหตุผล, ไร้จิตสำนึก, Syn. inordinate, monstrous, outrageous, exorbitant |
| automatic | (ออโทแมท'ทิค) adj. อัตโนมัติ, เกิดขึ้นอย่างอิสระ, เป็นกลไก, ไร้จิตสำนึก. -n. เครื่องมืออัตโนมัติ. -automaticity n., Syn. involuntary, spontaneous, reflex | conscious | (คอน'เชิส) adj. ซึ่งมีจิตสำนึก, มีสติ, มีเจตนา, พิชาน, Syn. sensible, aware | consciousness | (คอน'เชิสเนส) n. ความมีสติ, ความมีจิตสำนึก, ความคิดและความรู้สึกรวมกัน, ภาวะจิต, ความตระหนัก, Syn. knowledge | unconscionable | (อันคอน'เชินนะเบิล) adj. ไม่อยู่ภายใต้จิตสำนึก, ไม่ได้คุมสติ, กำเริบเสิบสาน, ไม่มีเหตุผล, ไร้จิตสำนึกชั่วคราว, เกินไป, รุนแรง. | unconscious | (อันคอน'เชิส) adj. ไม่ได้สติ, ไม่รู้สึกตัว, สลบ, ไม่รู้, n. ส่วนของจิตที่ขาดจิตสำนึก, See also: unconsciously adv. unconsciousness n. |
| conscious | (adj) มีสติอยู่, ได้สติ, รู้สึกตัว, ซึ่งมีจิตสำนึก | consciousness | (n) ความมีสติ, ความสำนึก, ความตระหนัก, ความรู้สึกตัว, จิตสำนึก |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |