ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ทฤษฎี, -ทฤษฎี- |
|
| ทฤษฎี | (n) theory, See also: hypothesis, supposition, doctrine, teachings, Syn. แนวความคิด, Example: รูปแบบโครงร่างของทฤษฎีทางภาษาศาสตร์จะเป็นอย่างไรนั้น จะต้องทดสอบกันอีกมาก, Count Unit: ทฤษฎี, Thai Definition: ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ทฤษฎีบท | (n) theorem, See also: proposition, Example: ในการให้คอมพิวเตอร์พิสูจน์ทฤษฎีบทให้ เราจำเป็นต้องสร้างกฎในการพิสูจน์ขึ้นมาก่อน, Count Unit: ทฤษฎี, Thai Definition: ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้ | ภาคทฤษฎี | (n) theory, See also: theoretical section, Syn. ส่วนทฤษฎี, Ant. ภาคปฏิบัติ, Example: หลักสูตรเดิมเน้นภาคทฤษฎีมากเกินไป นักศึกษาไม่ได้ฝึกใช้จริงเลย, Thai Definition: ภาคที่เกี่ยวกับความคิดเห็นอันเนื่องด้วยหลักวิชา | เชิงทฤษฎี | (adj) theoretical, Syn. แง่ทฤษฎี, Ant. เชิงปฏิบัติ, Example: เขาถนัดออกข้อสอบเชิงทฤษฎีมากกว่าปฏิบัติ, Thai Definition: เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยทฤษฎี |
| ทฤษฎี | (ทฺริดสะดี) น. หลักการทางวิชาการที่ได้ข้อสรุปมาจากการค้นคว้าทดลองเป็นต้น เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ เช่น ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก ทฤษฎีแสง. (ส.; ป. ทิฏฺ ิ). | ทฤษฎีบท | น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้ เช่น ทฤษฎีบททางเรขาคณิต. | ทฤษฎีใหม่ | น. หลักวิชาการจัดการเกษตรที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็ง มี ๓ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นต้น คือ ครอบครัวเกษตรกรรายย่อยบริหารจัดการพื้นที่ทำกินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน คือ พื้นที่ขุดสระ พื้นที่ปลูกข้าว พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน และพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อให้เกิดการผลิตที่พออยู่พอกิน ขั้นกลาง คือ รวมเป็นกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมเพิ่มผลผลิตและจำหน่ายอย่างมีพลังต่อรอง และขั้นก้าวหน้า คือ สร้างเครือข่ายนอกชุมชนเพื่อหาแหล่งทุนมาร่วมลงทุนและพัฒนา ทุกขั้นตอนเน้นความมัธยัสถ์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. | ทอดทฤษฎี | ก. มองไปรอบ ๆ, ตั้งใจดู, เช่น เวลาท่านทอดทฤษฎี (เสือโค). | ภาคทฤษฎี | น. ภาคที่เกี่ยวกับความคิดเห็นอันเนื่องด้วยหลักวิชา, คู่กับ ภาคปฏิบัติ. | กรด ๑ | มีความหมายหลายอย่าง สุดแล้วแต่ทฤษฎีที่ใช้เป็นหลักกำหนด คือ เป็นสารเคมีที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน และเมื่อสารนี้ละลายนํ้าเป็นสารละลายแล้ว ไฮโดรเจนที่มีอยู่ทั้งหมดหรือบางส่วนต้องแปรสภาพออกมาเป็นไฮโดรเจนไอออน (H+) สารละลายที่ได้มีรสเปรี้ยวเปลี่ยนสีลิตมัสสีนํ้าเงินเป็นสีแดงได้ | กุจี | น. หญิงค่อม เช่น ทฤษฎีกุจีจิตจำนง (สุธน). | โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. | ดุริยางคศาสตร์ | (ดุริยางคะ-) น. วิชาว่าด้วยการบรรเลงเครื่องดุริยางค์ รวมถึงวิชาว่าด้วยทฤษฎีและการปฏิบัติด้านดนตรี. | ทุทรรศนนิยม, ทุนิยม | น. ทฤษฎีที่ถือว่า โลก ชีวิตและมนุษย์ เป็นสิ่งเลวร้ายที่สุด | ปฏิบัติการ | ว. ที่ทดลองเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงตามทฤษฎีหรือฝึกงานเพื่อให้เกิดความชำนาญเป็นต้น เช่น ห้องปฏิบัติการ. | ภาค, ภาค- | (พาก, พากคะ-) น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. | ภาคปฏิบัติ | น. ภาคลงมือทดลองทำจริง ๆ, คู่กับ ภาคทฤษฎี. | รูปธรรม | สิ่งที่สามารถแสดงออกมาให้ปรากฏเป็นจริงเป็นจังมิใช่เป็นเพียงทฤษฎีเท่านั้น, สิ่งที่สามารถปฏิบัติได้, เช่น ต้องทำโครงการพัฒนาชนบทให้เป็นรูปธรรมด้วยการจัดให้มีนํ้ากินนํ้าใช้เป็นต้น. | เรขาคณิตบริสุทธิ์ | น. เรขาคณิตที่ใช้กฎเกณฑ์ของระบบตรรกศาสตร์โดยเริ่มต้นจากบทนิยามและสัจพจน์ที่เกี่ยวกับรูปทรงมาเรียบเรียงให้เป็นทฤษฎีบท แล้วอนุมานผลลัพธ์จากทฤษฎีบท . | เลขคณิต | น. วิชาเกี่ยวกับเซตจำนวนจริงทั้งในภาคทฤษฎีและภาคประยุกต์. | วัตถุนิยม | น. ทฤษฎีหรือความเชื่อที่ว่าวัตถุเท่านั้นมีอยู่จริง | วิทยาศาสตร์ประยุกต์ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ที่มุ่งประโยชน์ในทางปฏิบัติยิ่งกว่าทางทฤษฎี เช่น แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์. | ศิลปศึกษา | น. วิชาว่าด้วยการเรียนการสอนศิลปะ เช่น ทฤษฎีศิลป์ ประวัติศาสตร์ศิลป์. | ศิลปะประยุกต์ | น. กรรมวิธีในการนำทฤษฎีและหลักการทางศิลปะไปใช้ในภาคปฏิบัติ เพื่อพัฒนาศิลปะให้มีความงามหรือเป็นประโยชน์แก่สังคมยิ่งขึ้นเป็นต้น อย่างในการออกแบบเครื่องแต่งกาย. | ศูนย์สัมบูรณ์ | น. อุณหภูมิที่ตํ่าสุดตามทฤษฎี คือ อุณหภูมิศูนย์องศาเคลวิน (0 °K) หรือ -๒๗๓.๑๕ °ซ. | สังคมนิยม | (สังคมมะ-, สังคม-) น. ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต. | สัจนิยม | ทฤษฎีที่ถือว่าโลกและวัตถุเป็นสิ่งมีอยู่จริงเช่นเดียวกับจิต และมีอยู่อย่างอิสระจากจิต. |
| | | ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี | [fisik choēng thritsadī] (n, exp) EN: theoretical physics FR: physique théorique [ f ] | ฟิสิกส์ทฤษฎี | [fisik thritsadī] (n, exp) EN: theoretical physics FR: physique théorique [ f ] | ในภาคทฤษฎี | [nai phāk thritsadī] (adv) EN: in theory | นักทฤษฎี | [nakthritsadī] (n) EN: theoritician ; theorist FR: théoricien [ m ] | ตามหลักทฤษฎี | [tām lak thritsadī] (adv) EN: theoretically | ทฤษฎี | [thritsadī] (n) EN: theory ; doctrine ; teachings ; hypothesis FR: théorie [ f ] ; doctrine [ f ] | ทฤษฎีบิกแบง | [thritsadī bik baēng] (n, exp) EN: big bang theory FR: théorie du big-bang = big-bang [ f ] | ทฤษฎีบท | [thritsadībot] (n) EN: theorem FR: théorème [ m ] | ทฤษฎีบท(ของ)ปิทาโกรัส | [thritsadībot (khøng) Pithākōras] (n, exp) EN: Pythagoras' theorem ; Pythagorean Theorem (Am.) FR: théorème de Pythagore [ m ] | ทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มาต์ | [thritsadībot sutthāi khøng Faēmā] (n, exp) EN: Fermat's last theorem | ทฤษฎีบทที่สำคัญ | [thritsadībot thī samkhan] (n, exp) FR: théorème fondamental [ m ] | ทฤษฎีจำนวน | [thritsadī jamnūan] (n, exp) EN: number theory) FR: théorie des nombres [ f ] | ทฤษฎีการชนกัน | [thritsadī kān chon kan] (n, exp) EN: Collision theory | ทฤษฎีการผลิต | [thritsadī kān phalit] (n, exp) EN: theory of production | ทฤษฎีการพัฒนา | [thritsadī kān phatthanā] (n, exp) EN: theory of development | ทฤษฎีการพัฒนาการเมือง | [thritsadī kān phatthanā kānmeūang] (n, exp) EN: political development theory | ทฤษฎีการระเบิดใหญ่ | [thritsadī kān raboēt yai] (n, exp) EN: big bang theory FR: théorie du big-bang [ f ] | ทฤษฎีการเรียนรู้ | [thritsadī kān rīenrū] (n, exp) EN: learning theory FR: théorie de l'apprentissage [ f ] | ทฤษฎีการเรียนรู้จากการคิดอย่างมีเหตุผล | [thritsadī kān rīenrū jāk kān khit yāng mī hētphon] (n, exp) EN: cognitive learning theory | ทฤษฎีการสื่อสาร | [thritsadī kān seūsān] (n, exp) EN: communication theory FR: théorie de la communication [ f ] | ทฤษฎีการวัด | [thritsadī kān wat] (n, exp) EN: measure theory | ทฤษฎีการยืด | [thritsadī kān yeūt] (n, exp) EN: elastic rebound theory | ทฤษฎีเกม | [thritsadī kēm] (n, exp) EN: game theory ; theory of games | ทฤษฎีความเข้าใจ | [thritsadī khwām khaojai] (n, exp) EN: cognitive theory | ทฤษฎีความคิด | [thritsadī khwāmkhit] (n, exp) EN: cognitive theory | ทฤษฎีความโกลาหล | [thritsadī khwām kōlahon] (n, exp) EN: chaos theory | ทฤษฎีความน่าจะเป็น | [thritsadī khwām nājapen] (n, exp) EN: probability theory FR: théorie des probabilités [ f ] | ทฤษฎีความอลวน | [thritsadī khwām onlawon] (n, exp) EN: chaos theory | ทฤษฎีความรู้ | [thritsadī khwāmrū] (n, exp) EN: theory of knowledge | ทฤษฎีความเสมอภาค | [thritsadī khwām samoēphāk] (n, exp) EN: equity theory | ทฤษฎีควอนตัม | [thritsadī khwøntam] (n, exp) EN: quantum theory FR: théorie des quanta [ f ] | ทฤษฎีกรุป | [thritsadī krup] (n, exp) EN: group theory FR: théorie des groupes [ f ] | ทฤษฎีและการประยุกต์ | [thritsadī lae kān prayuk] (n, exp) EN: theories and applications ; principles and applications FR: théorie et applications [ fpl ] ; principes et application [ mpl ] | ทฤษฎีและปฏิบัติ | [thritsadī lae patibat] (n, exp) EN: theory and practice FR: théorie et pratique [ fpl ] | ทฤษฎีใหม่ | [thritsadī mai] (n, exp) EN: new theory FR: nouvelle théorie [ f ] | ทฤษฎีพึ่งพา | [thritsadī pheungphā] (n, exp) EN: dependency theory | ทฤษฎีเพลตเทคโทนิคส์ | [thritsadī phlēt thēkthōnik] (n, exp) EN: theory of plate tectonics ; plate tectonics theory FR: tectonique des plaques | ทฤษฎีประเภท | [thritsadī praphēt] (n, exp) EN: ? FR: ? | ทฤษฎีระบบโลก | [thritsadī rabop lōk] (n, exp) EN: world system theory | ทฤษฎีไร้ระเบียบ | [thritsadī rai rabīep] (n, exp) EN: chaos theory | ทฤษฎีลำดับ | [thritsadī samdap] (n, exp) EN: hierarchical theory | ทฤษฎีสัมพัทธภาพ | [thritsadī samphatthathaphāp] (n, exp) EN: theory of relativity FR: théorie de la relativité [ f ] | ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป | [thritsadī samphatthathaphāp thūapai] (n, exp) EN: general theory of relativity FR: théorie de la relativité générale [ f ] | ทฤษฎีสัมพัทธ์ | [thritsadī samphat] (n, exp) EN: theory of relativity | ทฤษฎีเซต | [thritsadī set] (n, exp) EN: set theory FR: théorie des ensembles [ f ] | ทฤษฎีสีชมพู | [thritsadī sī chomphū] (n, exp) EN: Pink Theory | ทฤษฎีสมคบคิด | [thritsadī somkhopkhit] (n, exp) EN: conspiracy theory | ทฤษฎีทวีปจร | [thritsadī thawīp jøn] (n, exp) EN: theory of continental drift | ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ | [thritsadī thāng witthayāsāt] (n, exp) EN: scientific theory FR: théorie scientifique [ f ] | ทฤษฎีว่าด้วยวิวัฒนาการ | [thritsadī wādūay wiwatthanākān] (n, exp) EN: theory of evolution ; evolutionism FR: théorie de l'évolution [ f ] |
| GPRS | (abbrev) GPRS (General Packet Radio Service) เป็นบริการส่งข้อมูลสำหรับโทรศัพท์มือถือแบบ GSM โดย GPRS มักถูกเรียกว่าเป็นโทรศัพท์มือถือยุค 2.5G ซึ่งอยู่ระหว่าง 2G และ 3G ทางเทคนิคแล้ว GPRS ใช้ช่องสัญญาณแบบ TDMA ของเครือข่าย GSM ในการส่งข้อมูล ในทางทฤษฎีแล้ว ความเร็วสูงสุดของ GPRS อยู่ที่ประมาณ 60 กิโลบิตต่อวินาที | Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
| abstract | (n) ความคิดในทางทฤษฎี | abstract | (vt) คิดในเชิงทฤษฎี | abstract | (adj) ทางทฤษฎี, See also: ทางหลักวิชา, ทางหลักการ, ทางวิชาการ, Syn. theoretical | academic | (adj) ในทางทฤษฎี, See also: ซึ่งไม่เหมาะในทางปฏิบัติ | accounting | (n) หลักการบัญชี, See also: ทฤษฎีการทำบัญชี | aesthetic | (n) หลักแห่งความงาม, See also: ทฤษฎีความงาม | behaviorism | (n) ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ (ทางจิตวิทยา) | behaviourism | (n) ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์ (ทางจิตวิทยา) | doctrinal | (adj) เกี่ยวข้องกับหลักการ, See also: เกี่ยวข้องกับทฤษฎี, Syn. dogmatic, creedal | doctrine | (n) ทฤษฎี, See also: หลักการ, ปรัชญา, คำสอนทางศาสนา, Syn. philosophy, religious doctrine | econometrics | (n) การใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และทางสถิติในการทดสอบทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ | empirical | (adj) ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือการทดลองมากกว่าทฤษฎี, See also: เชิงประจักษ์, Syn. experiental, observation | epicycle | (n) การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ตามทฤษฎีระบบสุริยะของเพลโตที่ว่าวัตถุทรงกลมจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นรอบวงของวัตถุทรงกลมที่ใหญ่กว่า, Syn. cycle, orbit | epistemology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีของธรรมชาติและความรู้, See also: ปรัชญาวิทยาแขนงหนึ่ง | foundation | (n) พื้นฐาน (ของความคิดหรือทฤษฎี) | hedonism | (n) ทฤษฎีที่เชื่อว่าความสุขสบายหรือความเพลิดเพลินเป็นยอดปรารถนาที่สุด, Syn. sensualism | in a sense | (idm) ในทางทฤษฎี, See also: ตามหลัก | ideally | (adv) ตามหลักการ, See also: ตามทฤษฎี | indoctrinate | (vt) สั่งสอนให้ซึมซาบ, See also: ปลูกฝัง ความคิด ความเชื่อ หลักการหรือทฤษฎี, Syn. brainwash, imbue, inculcate | Malthusian | (n) เกี่ยวกับทฤษฎีที่ว่าประชากรโลกเพิ่มขึ้นรวดเร็วมากกว่าปริมาณอาหาร | Malthusianism | (n) ทฤษฎีที่ว่าประชากรโลกเพิ่มขึ้นรวดเร็วมากกว่าปริมาณอาหาร | mechanism | (n) ทฤษฎีที่เชื่อว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติสามารถอธิบายด้วยหลักทางกลศาสตร์ | monetarism | (n) ทฤษฎีเกี่ยวกับการเงิน | positivism | (n) ทฤษฎีที่ว่าความรู้ได้จากการรับโดยตรงมากกว่าการเทียบเคียง, Syn. atheism | pragmatic | (adj) ที่เกี่ยวกับทฤษฎีปฏิบัตินิยม, Syn. pragmatic, Ant. impractical, imprudent | pragmatism | (n) ปฏิบัตินิยม, See also: วิธีคิดที่อิงกับผลที่เกิดจริงมากกว่าตามทฤษฎี | principle | (n) ทฤษฎี | semantic | (adj) เกี่ยวกับความจริง (ทางตรรกวิทยา), See also: ซึ่งว่าด้วยเงื่อนไขแสดงความถูกต้องของทฤษฎีหรือกฏเกณฑ์ | speculative | (adj) ซึ่งเป็นทางทฤษฎี, Syn. hopothetical | technical | (adj) ทางทฤษฎี | technocracy | (n) ทฤษฎีการปกครองโดยเน้นการใช้ผู้เชี่ยวชาญและวิชาเทคนิค | theoretical | (adj) เกี่ยวกับทฤษฎี, Syn. ideological, ideal | theoretical | (adj) ตามทฤษฎี, See also: ตามสมมุติฐาน, เชิงทฤษฎี, ที่ยึดเอาทฤษฎีเป็นหลัก | theoretically | (adv) ตามหลักทฤษฎี, See also: ตามหลักเหตุผล, Syn. in theory, apparently | theoretician | (n) นักทฤษฎี, Syn. theorist | theorist | (n) นักทฤษฎี, See also: ผู้สร้างทฤษฎี, Syn. theoretician | theorize | (vt) สร้างทฤษฎี, Syn. speculate, hypothesize | theorize | (vi) สร้างทฤษฎี, Syn. speculate, hypothesize | theory | (n) ทฤษฎี, See also: หลักวิชา, หลักการ, Syn. law, principles, ideas, system | vitalistic | (adj) เกี่ยวกับทฤษฎีพลังงานชีวิต |
| accounting | (อะเคา' ทิง) n. ทฤษฎีระบบการทำบัญชี, วิชาการทำบัญชี | activism | (แอค' ทิฟวิซึม) n. ทฤษฎีที่ว่าความจริงคือการดำเนินการที่บริสุทธิ์โดยเฉพาะทางจิต, ทฤษฎีที่ว่าความสัมพันธ์ระหว่างจิตและวัตถุ การดำเนินการหรือขบวนการของจิต, ลัทธิดำเนินการเพื่อวัตถุประสงค์ทางการเมือง (essence of reality) | activist | (แอค' ทิวิสทฺ) n. ผู้ดำเนินการที่มีความกระตือรือร้น, ผู้ยึดถือทฤษฎี -activism n. | agnostic | (แอกนอส' ทิค) n., adj. ผู้ไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าเพราะไม่มีใครที่รู้จริง, ผู้ไม่เชื่อว่า ความรู้เป็นสิ่งแน่นอนที่สุดในบาง อย่าง (ทฤษฎีอวิชชา) | agnosticism | (แอกนอส' ทิซิซึม) n. ทฤษฎีที่ไม่มีใครที่อาจจะรู้ได้ | allen's law | เป็นภาวะที่เกิดในผู้ป่วยโรคเบาหวานซึ่งมีทฤษฎีนี้กล่าวว่า มีการรับคาร์โบไฮเดรตมากแต่มีการใช้ยิ่งน้อยลง | angelology | (เอนเจลลอล' โลจี) n. ทูตสวรรค์วิทยา, ทฤษฎีเกี่ยวกับทูตสวรรค์ | bernouilli box | กล่องเบอร์นิวลีหมายถึง ระบบการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ไว้ในแถบบันทึกคาร์ทริดจ์ (cartridge) แถบบันทึกชนิดนี้ทำไว้ให้ถอดเก็บได้สะดวก นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิสที่ ชื่อเบอร์นิวลี (Bernouilli) เป็นผู้คิดทำและ เป็นผู้คิดทฤษฎีเกี่ยวกับพลังการหมุนของแถบบันทึกชนิดนี้ | cosmogony | (คอซมอก'กะนี) n. ทฤษฎีการกำเนิดของจักรวาล., See also: cosmogonic adj. ดูcosmogony cosmogonist n. ดูcosmogony | darwinism | (ดาร'วะนิสซึม) n. ทฤษฎีดาร์วินที่เกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งมีชีวิต | doctrinaire | (ดอคทระแนร์) adj. หัวรั้น, ดันทุรัง, ถือแต่หลัก, เป็นเพียงทฤษฎี, ซึ่งปฏิบัติไม่ได้, n. คนหัวรั้น | doctrinal | (ดอค'ทรินัล) adj. เกี่ยวกับทฤษฎี, เกี่ยวกับคำสั่งสอน, เกี่ยวกับลัทธิหรือศาสนา., See also: doctrinality n. ดูdoctrinal | doctrine | (ดอค'ทริน) n. หลัก, ทฤษฎี, คำสั่งสอนศาสนา, ลัทธิ (tenet, dogma, precept) | doxy | (ดอค'ซี) n. ความคิดเห็น, ทฤษฎี, ความคิดเห็นทางศาสนา, ภรรยาลับ, หญิงชู้, โสเภณี, Syn. doxie | economism | (อีคอน'นะมัสซึม) n. การเพิ่มผลผลิตโดยการให้ชาวนาได้รับส่วนแบ่ง ของผลผลิตมากขึ้นการเพิ่มค่าแรงงานสวัสดิการและอื่น ๆ (เป็นทฤษฎีหรือหลักการ ของคอมมิวนิสต์จีน) | empirical | (เอมพี'ริเคิล) adj. ซึ่งได้จากประสบการณ์หรือการทดลองหรือการสังเกต (โดยไม่อาศัยวิทยาศาสตร์หรือทฤษฎี), See also: empiricalness n. ดูempirical | explicate | (เอคซ'พลิเคท) vt. พัฒนา, อธิบาย, ชี้แจง, สร้างทฤษฎี, สร้างหลักการ., See also: explicator n., Syn. explain | hedonism | (เฮด'ดะนิสซึม) n. ทฤษฎีที่เชื่อว่าความสุขสบายหรือความเพลิดเพลินเป็นยอดปรารถนาที่สุด. | heterodox | adj. ไม่เป็นไปตามทฤษฎี, นอกคอก | holism | (โฮ'ลิสซึม) n. ทฤษฎีความศักดิ์สิทธิ์ | ideally | (ไอเดียล'ลี) adv. ซึ่งเกี่ยวกับอุดมการณ์หรืออุดมคติ, อย่างสมบูรณ์, ดีเลิศ, เป็นความนึกคิด, เป็นความเพ้อฝัน, เป็นทฤษฎี, เป็นหลักการ | ism | (อิส'ซึม) n. ลัทธิ, ทฤษฎี, ระบบ, ความเชื่อ, วิชาการ, Syn. doctrine, theory, system | laissez faire | (เลสเซแฟรฺ') n. ทฤษฎีที่ว่ารัฐบาลควรเข้ายุ่งเกี่ยวในเรื่องเศรษฐกิจให้น้อยที่สุด, ทฤษฎีการไม่ยุ่งเรื่องของผู้อื่น., See also: laissez-faire adj. ดูlaissez faire laisser-faire adj. ดูlaissez faire, Syn. laisser faire | occasionalism | (ออคเค'เชินนัลลิสซึม) n. ทฤษฎีว่าด้วยโอกาสหรือฤกษ์ | ology | (ออล'ละจี) n. วิชาการ, วิทยาการ, วิทยาศาสตร์, ทฤษฎี, คำโอ้อวด | operations research | การวิจัยดำเนินการใช้ตัวย่อว่า OR (อ่านว่า โออาร์) หมายถึงการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน เพื่อนำมาจัด วางเป็นระบบ หรือเป็นทฤษฎีที่จะทำให้การดำเนินงานต่อไปดีขึ้น รวมทั้งทำให้สามารถพยากรณ์ผลของการประกอบการในอนาคตได้ด้วย บางทีใช้ operational research | panlogism | n. ทฤษฎีที่ว่าจักรวาลนั้นครอบคลุมหมด, See also: panlogical adj. panlogistic adj. panlogistical adj. panologist n. | panpsychism | n. ทฤษฎีจิตครอบคลุม., See also: panpsychic adj. panpsychist n. | paralogism | (พะแรล'ละจิสซึม) n. การขัดกับหลักตรรก, ทฤษฎีลวงโลก., See also: paralogistic adj. | principle | (พริน'ซะเพิล) n. หลัก, หลักการ, กฎ, ศีลธรรม, ลัทธิ, หลักศีลธรรม, ตัวยา. -Phr. (in principle ในแง่ทฤษฎี), Syn. rule | queuing theory | ทฤษฎีรอคอยเป็นทฤษฎีที่ศึกษาเรื่องของแถวคอย โดยศึกษาในหลาย ๆ แง่ เช่น เวลารอคอยในแถว ความยาวเฉลี่ยของแถว ประสิทธิภาพของจุดให้บริการแถวคอย ตามปกติ มักมีลักษณะเป็นเครือข่าย (network) พื้นฐานของทฤษฎีแถวคอย ใช้หลักของความเป็นไปได้ (possibility) | relativity | (เรลละทิฟ'วิที) n. ความสัมพันธ์, ความสัมพันธ์, (ฟิสิกส์) ทฤษฎีความสัมพันธ์ของไอน์สไตน์ที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ | revisionist | (รีวิส'เชินนิสทฺ) n., adj. การยึดถือหลักการหรือทฤษฎีที่หันเหจากเดิม | teaching | (ทิช'ชิง) n. การสอน, อาชีพการสอน, อาชีพครู, เรื่องที่สอน, สิ่งที่สอน, , See also: teachings ทฤษฎี, หลักการ, Syn. pedagogy, education | tenet | (เทน'นิท) n. ข้อคิดเห็น, ความเห็น, ทฤษฎี, หลักการ, ข้อบัญญัติ, ความเชื่อ, Syn. conviction | theorem | (เธีย'อะเรม) n. ทฤษฎีบท, กฎ, สูตร, หลักเกณฑ์, หลัก, ความคิดเห็น, ความเชื่อ., See also: theorematic adj. | theoretical | (เธียอะเรท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับทฤษฎี, เป็นสมมุติฐาน, เป็นการคาดคะเน., Syn. hypothetical | theoretician | (เธียอะริทิช'เชิน) n. นักทฤษฎี | theorise | (เธียอะไรซ) vi. สร้างทฤษฎี., See also: theorisation n. theorization n. theoriser n. theorizer n., Syn. imagine, speculate | theorist | (เธีย'อะริสทฺ) n. นักทฤษฎี, ผู้สร้างทฤษฎี | theorize | (เธียอะไรซ) vi. สร้างทฤษฎี., See also: theorisation n. theorization n. theoriser n. theorizer n., Syn. imagine, speculate | theory | (เธีย'รี) n. ทฤษฎี |
| cosmogony | (n) ทฤษฎีการกำเนิดจักรวาล | heterodox | (adj) นอกศาสนา, นอกคอก, นอกรีต, นอกทฤษฎี | moot | (adj) เป็นที่สงสัย, เป็นที่ถกเถียง, เป็นทฤษฎี | proposition | (n) ข้อเสนอ, ทฤษฎีบท, โจทย์, เรื่อง, ปัญหา, ญัตติ, ข้อวินิจฉัย | tenet | (n) หลักการ, คำสอน, ความเชื่อ, ข้อคิดเห็น, ทฤษฎี | theorem | (n) ทฤษฎี, บทพิสูจน์, หลักเกณฑ์, สูตร, ความเชื่อ, ความคิดเห็น | theoretic | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา | theoretical | (adj) ตามทฤษฎี, ตามเหตุผล, ตามหลักวิชา | theorist | (n) นักทฤษฎี, ผู้ตั้งหลักสมมุติ | theorize | (vt) สร้างทฤษฎี, นึกฝัน | theory | (n) ทฤษฎี, กฎ, หลัก, ข้อสมมุติ, เหตุผล, ความเห็น |
| ambiguity | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) ความกำกวมของคำ หรือคำที่มีความหมายหลายนัย | Ambiguity (polysemie, polysemy, polysemic) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) ความกำกวมของคำ หรือคำที่มีความหมายหลายนัย | code switching | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การถ่ายความหมายของคำจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยไม่คำนึงถึงบริบท ผลงานแปลจึงขาดความพลิ้ว ลีลา และอรรถรส ดังเช่นการแปลด้วยซอฟแวร์แปล | constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " | Context (contexte) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) บริบท (คำหรือข้อความแวดล้อมที่ช่วยให้เข้าใจความหมาย | Deverbalism (deverbalisme) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง | hierarchy of genres | [ไฮ-รา-คี-ออฟ-เจ็น-เรส] (n) การจัดลำดับคุณค่าของศิลปะ เป็นทฤษฎีการจัดประเภทของศิลปะ (genre) ตามระดับความสำคัญที่ระบุไว้เช่นในการจัดของสมาคมศิลปะแห่งฟลอเรนซ์ และในคริสต์ศตวรรษที่ 17 โดยอังเดร เฟลิเบียงแห่งสถาบันศิลปะฝรั่งเศสที่ลำดับเป็นห้าลำดับ: ภาพประวัติศาสตร์และศาสนา, ภาพเหมือน, ภาพชีวิตประจำวัน, ภาพภูมิทัศน์ และภาพนิ่ง (Source: visual-arts-cork.com) | neptunism | [เน็พทิวนิซมฺ] (n) (ธรณีวิทยา) ทฤษฎีว่าด้วยการกลายเป็นน้ำ |
| 抽出 | [ちゅうしゅつ, chuushutsu] ความคิดในทางทฤษฎี | 定理 | [ていり, teiri] ทฤษฎีบท |
| idealisieren | (vt) |idealisierte, hat idealisiert| ทำให้สมบูรณ์แบบดีเลิศ, ทำให้เหมือนตามทฤษฎี, ทำให้เป็นไปตามอุดมคติ | Anwendung | (n) |die, pl. Anwendungen| การประยุกต์ใช้งาน, การใช้ การประยุกต์ใช้งาน เช่น die Anwendung einer Theorie การประยุกต์ทฤษฎีหนึ่งมาใช้งานจริง |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |