ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: อาจาร, -อาจาร- |
老师 | [เหล่าซือ, ˙, 老 师] (n) ครู, อาจารย์ |
|
| English | (n, vi, vt, modal, ver) การเป็นอาจารย์ที่ดีในความคิดของข้าพเจ้า |
| Kim Taeyeon | (n, name) ศิลปินเกาหลี หัวหน้าวงเกิลกรุ๊ปชื่อดัง Girls' Generation หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า So nyeo Shi Dae ทั้ง 2 ชื่อแปลว่า ยุคของหญิงสาว มีสมาชิกทั้งหมด 9 คน มีผลงานเพลงออกมาหลายอัลบั้ม คิม แทยอน เป็นนักร้องที่เสียงทรงพลังมากที่สุดในวง มีพรสวรรค์ในการร้องเพลงเป็นอย่างมาก ด้วยน้ำเสียงที่หาคนเทียบได้ยาก ได้ร้องเพลงประกอบละคร ไว้หลายเรื่อง เช่น Hong Gill Dong / Beethoven Virus / Hana sang / Atena เป็นต้น และมีรางวัลการันตีในความสามารถด้านการร้องเพลงมากมาย มีผลงานดูเอ๊ทกับศิลปินหลายๆคน รวมถึง อาจารย์ที่สอน คิม แทยอนร้องเพลง หรือที่รู้จักในนามของ The one คิม แทยอน เป็นหัวหน้าวงที่นำวงจนสามารถรับรางวัลมากมาย รวมถึงรางวัล แผ่นเสียงทองคำ (Golden Disk Daesang) ทำให้ คิม แทยอน เป็นที่ยอมรับในวงการเพลงเกาหลี เป็นคนที่มากด้วยความสามารถ |
| ต่วนกูรู | [ต่วน-กู-รู] (n) ท่านอาจารย์ (Tuanguru) |
| อาจาร | (n) conduct, See also: behavior, Syn. ความประพฤติ, ความประพฤติดี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อาจาร | (n) manner, See also: politeness, etiquette, courtesy, Syn. จรรยา, มรรยาท, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อาจาร | (n) custom, See also: ethic, Syn. ธรรมเนียม, แบบแผน, หลัก, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อาจารย์ | (n) teacher, See also: instructor, professor, Syn. คุณครู, Ant. นักเรียน, ลูกศิษย์, Example: คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหงจะรับสมัครบุคคลเพื่อคัดเลือกบรรจุเข้ารับราชการในตำแหน่งอาจารย์ระดับ 4, Thai Definition: ผู้สั่งสอนวิชาความรู้ | อาจารย์ | (n) Acharn, Syn. คุณครู, ครู, Example: อาจารย์สมชายเป็นอาจารย์ที่มีความรู้เรื่องจิตวิทยาเด็กเป็นอย่างดี, Thai Definition: คำที่ใช้เรียกนำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ในทางใดทางหนึ่ง | อาจารย์ | (n) teacher, See also: instructor, schoolteacher, tutor, master, lecturer, Syn. คุณครู, ครู, ครูบาอาจารย์, Example: อย่าลืมทำบัตรเชิญอาจารย์ในภาควิชาทุกท่านให้มาร่วมงานด้วย, Thai Definition: ผู้สั่งสอนวิชาความรู้ให้กับผู้เรียน | อาจารย์ใหญ่ | (n) headmaster, See also: principal, Syn. ครูใหญ่, Count Unit: คน | เกจิอาจารย์ | (n) instructor, See also: teacher, expert, Syn. อาจารย์, Example: บุคคลสำคัญและปราชญ์ชาวบ้าน ได้แก่ พระมหากษัตริย์เจ้าผู้ครองนคร วีรบุรุษ, นักเขียน, นักประพันธ์, กวี สงฆ์นักพัฒนา, เกจิอาจารย์ และผู้มีความสามารถในศิลปวิทยาการแขนง ต่างๆ, Count Unit: ท่าน, คน, Thai Definition: อาจารย์บางพวก, Notes: (บาลี) | ครูบาอาจารย์ | (n) teacher, See also: instructor, school master, school teacher, Syn. ครู, อาจารย์, คุณครู, Ant. นักเรียน, Example: เขาเป็นอีกคนหนึ่งที่ซึมซับเอาคำสอนของครูบาอาจารย์ในโรงเรียนด้วยความตั้งอกตั้งใจ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้สั่งสอนศิษย์, ผู้ถ่ายทอดความรู้ให้แก่ศิษย์ | อาจารย์พิเศษ | (n) special instructor, Example: คณะอักษรศาสตร์เชิญอาจารย์จากต่างประเทศมาเป็นอาจารย์พิเศษ, Count Unit: คน, Thai Definition: อาจารย์ที่ได้รับเชิญมาสอน | อาจารย์ผู้สอน | (n) teacher, See also: instructor, lecturer, Example: อาจารย์ผู้สอนอธิบายเค้าโครงรายวิชาก่อนเริ่มการเรียนการสอน, Count Unit: คน, Thai Definition: อาจารย์ที่ทำหน้าที่สอนในวิชาหนึ่งๆ | อาจารย์ที่ปรึกษา | (n) adviser, See also: counsellor, Example: นักศึกษาสามารถเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อปรึกษาปัญหาได้ทุกประเภท, Count Unit: คน, Thai Definition: อาจารย์ที่ทำหน้าที่ให้คำปรึกษากับศิษย์ที่อยู่ในความปกครอง | อาจารย์ผู้บรรยาย | (n) lecturer, See also: instructor, Example: ทางมหาวิทยาลัยเปิดสอนวิชาภาษามาเลย์ให้กับอาจารย์ผู้บรรยาย เพื่อให้สามารถบรรยายเป็นภาษามาเลย์ได้, Count Unit: คน |
| เกจิอาจารย์ | น. “อาจารย์บางพวก”, อาจารย์ที่เชื่อกันว่ามีความรู้ความสามารถในด้านคาถาอาคมและการปลุกเสกเครื่องรางของขลัง. | อาจาร, อาจาร- | (-จาน, -จาระ-) น. ความประพฤติ, ความประพฤติดี | อาจาร, อาจาร- | จรรยา, มรรยาท | อาจาร, อาจาร- | ธรรมเนียม, แบบแผน, หลัก. | อาจารี | น. ผู้มีจรรยา, ผู้ทำตามคติแบบแผน. | อาจารย์ | น. ผู้สั่งสอนวิชาความรู้ | อาจารย์ | คำที่ใช้เรียกนำหน้าชื่อบุคคลเพื่อแสดงความยกย่องว่ามีความรู้ในทางใดทางหนึ่ง. | อาจารี | ดู อาจาร, อาจาร-. | กถิกาจารย์ | (กะถิกาจาน) น. อาจารย์ผู้กล่าว. | กรรมวาจาจารย์ | (กำมะวาจาจาน) น. อาจารย์ผู้ให้สำเร็จกรรมวาจา คือ คู่สวด. | กระดูกขัดมัน | ให้คะแนนยาก เช่นอาจารย์คนนี้กระดูกขัดมันชะมัดออกข้อสอบก็ยากแล้วยังขี้เหนียวคะแนนอีก. | ขึ้น ๑ | นิยมนับถือ, เลื่อมใส, เช่น อาจารย์คนนี้มีคนขึ้นมาก | คณาจารย์ | (คะนาจาน) น. คณะอาจารย์. | คันถรจนาจารย์ | (-รดจะนาจาน) น. อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์. | คำพ้องเสียง | น. คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส-ไส-ไสย กาน-กาล-การ-การณ์, (โบ) ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เรียกคำพ้องเสียงว่า ไวพจน์. | ชีต้น | น. พระสงฆ์ที่เป็นอาจารย์. | ท่าน | น. คำที่ใช้ประกอบหน้าชื่อบรรดาศักดิ์หรือตำแหน่งแสดงความยกย่อง เช่น ท่านขุน ท่านอาจารย์ ท่านเจ้าอาวาส. | ทำการบ้าน | ก. ทำงานหรือทำแบบฝึกหัดตามที่ครูอาจารย์สั่งให้ทำนอกเวลาเรียน. | ทิศ ๖ | น. ทิศที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของบุคคล มี ทิศเบื้องหน้าหรือบูรพทิศ ได้แก่ บิดามารดากับบุตร ทิศเบื้องขวาหรือทักษิณทิศ ได้แก่ ครูอาจารย์กับศิษย์ ทิศเบื้องหลังหรือปัจฉิมทิศ ได้แก่ สามีกับภรรยา ทิศเบื้องซ้ายหรืออุตรทิศ ได้แก่ มิตร ทิศเบื้องบนหรือปุริมทิศ ได้แก่ สมณพราหมณ์กับศาสนิกชน และทิศเบื้องล่างหรือเหฏฐิมทิศ ได้แก่ นายกับบ่าวหรือผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา. | ทิศาปาโมกข์ | น. “ผู้เป็นใหญ่เป็นประธานในทิศ”, อาจารย์ผู้มีความรู้และชื่อเสียงโด่งดัง. | นอกครู | ก. ประพฤติไม่ตรงตามคำสั่งสอนของครูบาอาจารย์, ประพฤติไม่ตรงตามแบบฉบับที่นิยมกันมา. | นอกลู่นอกทาง | ว. ไม่ประพฤติตามแนวทางที่พ่อแม่ครูอาจารย์ได้เคยดำเนินมา. | นับถือ | ก. เชื่อถือยึดมั่น เช่น นับถือศาสนา, เคารพ เช่น นับถือผู้ใหญ่, ยกย่อง เช่น นับถือว่าเป็นครูบาอาจารย์, ใช้เป็นคำลงท้ายจดหมายแสดงความสุภาพว่า ด้วยความนับถือ หรือ ขอแสดงความนับถือ. | บา | น. ครู, อาจารย์ | บาธรรม | น. ผู้เชี่ยวชาญในทางธรรม, อาจารย์ทางธรรม. | บาจรีย์ | (-จะรี) น. อาจารย์ของอาจารย์. | บุพพาจารย์ | น. อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดามารดา, อาจารย์คนก่อน ๆ ของสถาบันการศึกษา. | บุรพาจารย์, บูรพาจารย์ | (บุระ-, บูระ-) น. อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดามารดา, อาจารย์คนก่อน ๆ ของสถาบันการศึกษา. | ปฏิบัติ | ปรนนิบัติรับใช้ เช่น ปฏิบัติบิดามารดา ปฏิบัติครูบาอาจารย์. | ปรมาจารย์ | (ปะระมาจาน, ปอระมาจาน) น. อาจารย์ผู้เป็นเอกหรือยอดเยี่ยมในทางวิชาใดวิชาหนึ่ง. | ประจำ | ที่กำหนดให้มีเป็นปรกติ เช่น งานประจำปี, เรียกรถโดยสารที่วิ่งอยู่บนเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งเป็นปรกติ ว่า รถประจำทาง, เรียกครูหรืออาจารย์ที่สอนและดูแลรับผิดชอบนักเรียนชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นปรกติ ว่า ครูหรืออาจารย์ประจำชั้น, เรียกบัตรที่ออกให้ไว้เฉพาะบุคคลและจะต้องเก็บไว้กับตัวเป็นปรกติ ว่า บัตรประจำตัว, เรียกลูกจ้างที่จ้างไว้เป็นปรกติ ไม่ใช่ชั่วคราว ว่า ลูกจ้างประจำ, เรียกผู้ที่มาติดต่อหรือไปมาหาสู่กันเสมอเป็นปรกติ เช่น ลูกค้าประจำ ขาประจำ, ลักษณะการฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะได้รับดอกเบี้ยเมื่อฝากครบตามเวลาที่กำหนดไว้ เรียกว่า ฝากประจำ. | ปาจรีย์, ปาจารย์ | (ปาจะรี) น. อาจารย์ของอาจารย์. | พระคุณ | น. บุญคุณ เช่น รำลึกถึงพระคุณครูอาจารย์. | พฤฒาจารย์ | น. อาจารย์ผู้เฒ่า, พราหมณ์ผู้เฒ่า. | พิเศษ | ว. นอกเหนือหรือแตกต่างไปจากปรกติธรรมดา (มักใช้ในทางดี) เช่น ในกรณีพิเศษ เขาเป็นคนมีความจำเลิศเป็นพิเศษ, ไม่ใช่ปรกติธรรมดาหรือประจำ เช่น อาจารย์พิเศษ, ที่แยกเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก เช่น คนไข้พิเศษ นักศึกษาพิเศษ | แม่พิมพ์ | น. สิ่งที่เป็นต้นแบบ เช่น แม่พิมพ์ตัวหนังสือ, โดยปริยายหมายถึงครูอาจารย์ซึ่งถือว่าเป็นแบบอย่างความประพฤติของศิษย์. | โยค-, โยคะ | วิธีบำเพ็ญสมาธิตามลัทธิของอาจารย์ปตัญชลี | รับใช้ | คอยปรนนิบัติพ่อแม่ครูอาจารย์เป็นต้นด้วยความเต็มใจ เช่น ลูกรับใช้พ่อแม่ ศิษย์รับใช้ครู, ปฏิบัติหน้าที่ตามที่นายหรือผู้มีอำนาจเหนือสั่งหรือใช้ เช่น พลทหารอยู่รับใช้ผู้บังคับบัญชา. | รายงาน | น. เรื่องราวที่ไปศึกษาค้นคว้าแล้วนำมาเสนอที่ประชุม ครูอาจารย์ หรือผู้บังคับบัญชา เป็นต้น. | รู้คุณ | ก. ระลึกถึงความดีที่ผู้อื่นทำให้แก่ตน เช่น ลูกศิษย์รู้คุณอาจารย์ ลูกรู้คุณพ่อแม่. | ลบหลู่ | ก. แสดงอาการเหยียดหยามต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือต่อผู้มีอุปการคุณโดยถือว่าไม่สำคัญควรแก่การเคารพนับถือ เช่น ลบหลู่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาที่ตนไม่ได้นับถือ ลบหลู่พ่อแม่ครูบาอาจารย์ นาย ก ลบหลู่บิดานาย ข. | ลูกศิษย์ | น. ผู้ศึกษาเล่าเรียนหรือผู้เยาว์วัยซึ่งอยู่ในความดูแลคุ้มครองของอาจารย์, ศิษย์ หรือ ลูกศิษย์ลูกหา ก็ว่า. | วิชาเลือกบังคับ | น. รายวิชาเลือกที่อาจารย์ที่ปรึกษาบังคับให้เรียนเป็นรายบุคคล. | วิชาเลือกเสรี | น. รายวิชาที่เลือกเรียนได้อย่างเสรี โดยผู้เรียนไม่ต้องถามอาจารย์ที่ปรึกษาก่อน. | วิชาอาคม | น. เวทมนตร์, คาถาอาคม, เช่น อาจารย์ถ่ายทอดวิชาอาคมให้ศิษย์, วิทยาคม ก็ว่า. | วิทยาคม | น. เวทมนตร์, คาถาอาคม, เช่น อาจารย์ถ่ายทอดวิทยาคมให้ศิษย์, วิชาอาคม ก็ว่า. | ไวพจน์ | ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) หมายถึง คำที่ออกเสียงเหมือนกันแต่เขียนต่างกันและมีความหมายต่างกัน เช่น ใส–ไส–ไสย กาน–กาล–การ–การณ์, ปัจจุบันเรียกว่า คำพ้องเสียง. | ศิษย-, ศิษย์ | (สิดสะยะ-, สิด) น. ผู้ศึกษาวิชาความรู้จากครูหรืออาจารย์, คู่กับ ครู หรืออาจารย์, ผู้อยู่ในความคุ้มครองดูแลของอาจารย์ เช่น ศิษย์วัด, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่ศึกษาหาความรู้จากตำราของผู้ใดผู้หนึ่งแล้วนับถือผู้นั้นเป็นเสมือนครูบาอาจารย์ของตน. | ศิษย์ก้นกุฏิ | (-กุติ) น. ศิษย์คนโปรดที่อยู่รับใช้ใกล้ชิดอาจารย์ที่กุฏิตลอดเวลาและเป็นผู้ที่อาจารย์ไว้วางใจมาก, โดยปริยายหมายถึงศิษย์คนโปรดของครูบาอาจารย์เพราะเคยรับใช้ใกล้ชิดและเป็นที่ไว้วางใจของครูบาอาจารย์ มักจะเรียนเก่งด้วย. | ศิษย์คิดล้างครู | น. ศิษย์เนรคุณที่มุ่งคิดจะทำลายล้างครูบาอาจารย์. |
| emeritus professor | ศาสตราจารย์กิตติคุณ, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, ตำแหน่งที่แต่งตั้งจากอาจารย์ประจำ ผู้เคยดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ของมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความรู้ ความสามารถและความชำนาญเป็นพิเศษ และพ้นจากตำแหน่งไปโดยไม่มีความผิด สภามหาวิทยาลัยอาจแต่งตั้งให้เป็นศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณในสาขาวิชาที่ศาสตราจารย์นั้นมีความเชี่ยวชาญเพื่อเป็นเกียรติยศได้ <p>ศาสตราจารย์ผู้นี้อาจสอนในมหาวิทยาลัยต่อไปก็ได้ แต่ไม่ใช่ศาสตราจารย์ที่ต่ออายุราชการ บางมหาวิทยาลัยจะปรากฏชื่อศาสตราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณแยก จากศาสตราจารย์ธรรมดาในคู่มือการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา <p>การเรียกชื่อศาสตาราจารย์กิตติคุณหรือศาสตราจารย์เกียรติคุณนั้นขึ้นอยู่กับ พระราชบัญญัติของแต่ละมหาวิทยาลัย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรียกว่า ศาสตราจารย์กิตติคุณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรียกว่า ศาสตราจารย์เกียรติคุณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | College teacher mobility | การย้ายงานของอาจารย์สถาบันอุดมศึกษา [TU Subject Heading] | College teachers | อาจารย์สถาบันอุดมศึกษา [TU Subject Heading] | Community college teachers | อาจารย์วิทยาลัยชุมชน [TU Subject Heading] | Faculty | อาจารย์ [TU Subject Heading] | Faculty advisors | อาจารย์ที่ปรึกษา [TU Subject Heading] | Women college teachers | อาจารย์สตรีสถาบันอุดมศึกษา [TU Subject Heading] | สุขภาพจิตระดับบุคคล | สุขภาพจิตระดับบุคคล, การดำเนินงานสุขภาพจิตทุก ๆ มิติงาน ในกลุ่มคน ทุกระดับ โดยส่วนใหญ่จะเน้นตามวัย ตามสถานะหรือบทบาทของกลุ่มคนนั้น ๆ ยกตัวอย่างเช่น วัยเด็ก เยาวชน วัยรุ่น วัยทำงาน วัยผู้ใหญ่ วัยสูงอายุ วัยชรา หรือ นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ แรงงาน ผู้ต้องขัง เป็นต้น ซึ่งจะ [สุขภาพจิต] |
| อาจารย์ | [ājān] (n) EN: teacher ; instructor ; schoolteacher ; tutor ; lecturer ; ajan ; ajarn FR: professeur [ m, f ] ; enseignant [ m ] ; enseignante [ f ] ; maître [ m ] ; maîtresse [ f ] | อาจารย์ | [ājān] (n) EN: university lecturer ; master FR: professeur émérite [ m ] ; maître [ m ] | อาจารย์ | [ājān] (n) EN: senior monk FR: mâitre spirituel [ m ] | อาจารย์ | [ājān] (pr) EN: master FR: maître (3è pers. sing, 2è pers. plur. forme polie) | อาจารย์มหาวิทยาลัย | [ājān mahāwitthayālai] (n, exp) EN: lecturer | อาจารย์พิเศษ | [ājān phisēt] (n, exp) EN: special instructor | อาจารย์ผู้บรรยาย | [ājān phūbānyāi] (n, exp) EN: lecturer ; instructor | อาจารย์ผู้สอน | [ājān phūsøn] (n, exp) EN: teacher ; instructor ; lecturer FR: enseignant [ m ] ; enseignante [ f ] | อาจารย์ที่ปรึกษา | [ājān thīpreuksā] (n, exp) EN: adviser ; counsellor FR: conseiller [ m ] | อาจารย์ใหญ่ | [ājān yai] (n, exp) EN: headmaster ; principal FR: professeur principal [ m ] ; proviseur [ m ] ; principal [ m ] ; directeur d'école [ m ] |
| | academic | (n) อาจารย์หรือนักศึกษามหาวิทยาลัย | faculty | (n) คณะอาจารย์, See also: ครูสอนหนังสือ, ผู้เชี่ยวชาญ, Syn. teacher, teaching staff | headmaster | (n) ครูใหญ่ (โรงเรียนเอกชน), See also: อาจารย์ใหญ่ | headmistress | (n) ครูใหญ่ผู้หญิง (โรงเรียนเอกชน), See also: อาจารย์ใหญ่ผู้หญิง | instructor | (n) ครูผู้สอน, See also: อาจารย์, ครู, ผู้สอน, Syn. teacher, trainer, educator | instructress | (n) ครูผู้หญิง (ปัจจุบันไม่นิยมใช้แล้ว), See also: อาจารย์ผู้หญิง | pedagog | (n) อาจารย์, See also: ครู, Syn. professor, teacher | pedagogue | (n) อาจารย์, See also: ครู, Syn. professor, teacher | professor | (n) อาจารย์มหาวิทยาลัย | reader | (n) ผู้บรรยายหรืออาจารย์ในมหาวิทยาลัยของอังกฤษ, See also: มีตำแหน่งต่ำกว่า professor ปกติใช้ Reader, Syn. leturer, teacher | schoolman | (n) ครู, See also: อาจารย์, ผู้อบรมสั่งสอน, เจ้าหน้าที่ฝ่ายการศึกษา | schoolmarm | (n) ครูผู้หญิง, See also: อาจารย์ผู้หญิง, Syn. schoolmistress, educator, pedagogue | sir | (n) คำสุภาพสำหรับเรียกครูอาจารย์ผู้ชาย, See also: ท่าน, คุณ | sophist | (n) นักปราชญ์, See also: อาจารย์, ผู้รอบรู้ | supervisor | (n) หัวหน้าอาจารย์ในแต่ละวิชา, See also: หัวหน้าอาจารย์ในสาขาวิชา, Syn. provost, teacher | TA | (abbr) ครูช่วยสอน (คำย่อของ Teaching Assistant), See also: นักศึกษาผู้ช่วยครูอาจารย์ในการสอน | teacher | (n) ผู้สอน, See also: ครู, คุณครู, อาจารย์, Syn. instructor, tutor |
| advisee | (แอดไวซี') n. ผู้ที่ได้รับการปรึกษา, นักเรียนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ | advisement | (แอดไวซ' เมินทฺ) n. ที่ปรึกษา, อาจารย์ที่ปรึกษา | adviser | (แอดไว' เซอะ) n. ที่ปรึกษา, อาจารย์ที่ปรึกษา. -advisership n. | aristotle | (อา'ริสทอทเทิล) n. นักปราชญ์กรีกเป็นลูกศิษย์ของ Plato และเป็นอาจารย์ของอเลคซานเดอร์มหาราช (Greek philosopher) | docent | (โด'เซินท) n. ครูพิเศษ, อาจารย์มหาวิทยาลัย., See also: docentship n. ดูdocent | donnish | (ดอน'นิช) adj. คล้ายอาจารย์มหาวิทยาลัย | guru | (กู'รู) n. ผู้นำที่ฉลาด, ผู้นำทางศาสนาที่ฉลาด, พระอาจารย์ส่วนตัว., See also: guruship n. | headmaster | n. ครูใหญ่, อาจารย์ใหญ่ -headmastership n., Syn. principal | instructor | (อินสทรัค'เทอะ) n. ผู้สอน, ครู, อาจารย์, อาจารย์ในมหาวิทยาลัยทีมีตำแหน่งต่ำกว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์., See also: instructorial adj. instructorship n., Syn. educator | professor | (โพรเฟส'เซอะ) n. ศาสตราจารย์, อาจารย์ในมหาวิทยาลัย หรือวิทยาลัย, ผู้แสดงความเลื่อมใส, ผู้สอนวิชาทางศิลปกรรม, ผู้สอนวิชากีฬา, ผู้เชี่ยวชาญ., See also: professorial adj. professorship n. professorate n. professoriate n. คำที่มีความหมายเหมือน | readership | (รีด'เดอะชิพ) n. จำนวนผู้อ่านทั้งหมด, หน้าที่ฐานะหรืออาชีพของผู้อ่าน, (โดยเฉพาะในมหาวิทยาลัยอังกฤษ) ตำแหน่งอาจารย์หรือผู้บรรยาย | sophist | (ซอฟ'ฟิสทฺ) n. (ประวัติศาสตร์กรีก) ชนชั้นอาจารย์ปรัชญาและศิลปะการพูด | teacher | (ที'เชอะ) n. ผู้สอน, ครู, อาจารย์., See also: teachership n. | tele-education | การศึกษาทางไกลหมายถึง การศึกษาทางไกลผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ผู้เรียนสามารถมองเห็นอาจารย์ผู้สอนได้ทั้งที่ผู้สอนอยู่ไกลออกไปโดยมองเห็นผ่านทางจอภาพของคอมพิวเตอร์ และใช้เทคโนโลยีที่ทำให้นักเรียนรู้สึกเหมือนมีครูอยู่ในห้องเรียน สามารถโต้ตอบไต่ถามครูได้เหมือนอยู่ในห้องเรียนธรรมดา |
| adviser | (n) อาจารย์ที่ปรึกษา, ที่ปรึกษา, ผู้ให้คำแนะนำ | headmaster | (n) ครูใหญ่, อาจารย์ใหญ่ | instructor | (n) ครู, ผู้แนะนำ, ผู้ฝึก, อาจารย์ | pedagogue | (n) อาจารย์, ครู, ผู้สอน | principal | (n) ครูใหญ่, หัวหน้า, ต้นทุน, อาจารย์ใหญ่, ตัวการ, ผู้ว่าจ้าง | rabbi | (n) อาจารย์ในศาสนายิว | schoolmaster | (n) ครูใหญ่, ครูผู้ชาย, อาจารย์ใหญ่ | schoolmistress | (n) อาจารย์หญิง, ครูผู้หญิง | schoolteacher | (n) อาจารย์, ครู | teacher | (n) ครู, อาจารย์, ผู้สั่งสอน |
| 教官 | [きょうかん, kyoukan] (n) ข้าราชการที่ทำหน้าที่เป็นอาจารย์ในโรงเรียนหรือสถาบันของรัฐ |
| 先生 | [せんせい, sensei] (n) คุณครู อาจารย์ (ไม่ใช้คำนี้เวลากล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) | 教師 | [きょうし, kyoushi] (n) คุณครู อาจารย์ ผู้สอน (เมื่อกล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) | 先生 | [せんせい, sensei] (n) คุณครู, อาจารย์ (ไม่ใช้คำนี้เวลาจะกล่าวถึง อาชีพของตัวเอง) | 教師 | [きょうし, kyoushi] (n) คุณครู, อาจารย์, ผู้สอน (ใช้เมื่อกล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) | 先生 | [せんせい, sensei, sensei , sensei] (n) คุณครู, อาจารย์ (ไม่ใช้คำนี้เวลากล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) | 教師 | [きょうし, kyoushi, kyoushi , kyoushi] (n) คุณครู, อาจารย์, ผู้สอน, (ใช้คำนี้เมื่อกล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) | 校長 | [こうちょう, kouchou] (n) อาจารย์ใหญ่ |
| 目上 | [めうえ, meue] TH: ผู้ที่อยู่ในสถานะที่สูงกว่า เช่น เจ้านาย หัวหน้า อาจารย์ เป็นต้น EN: superior(s) |
| Erzieher | (n) |der, pl. Erzieher| ผู้ให้การศึกษา ครู อาจารย์ เช่น Für eine renomierte Kindertagesstätte in Dresden suchen wir im Rahmen der Personalvermittlung einen Erzieher (m/w) zum nächstmöglichen Zeitpunkt., See also: die Erzieherin |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |