Move your mouse over the text to see pop-up windows.
Pronunciation
You ( Y UW1 ) may ( M EY1 ) find ( F AY1 N D ) it ( IH1 T ) a ( AH0 ) bit ( B IH1 T ) inconvenient ( IH2 N K AH0 N V IY1 N Y AH0 N T ) if ( IH1 F ) you ( Y UW1 ) can't ( K AE1 N T ) use ( Y UW1 S ) the ( DH AH0 ) Internet ( IH1 N T ER0 N EH2 T ) .
You (ยู) pron. ท่าน,พวกท่าน [Hope] (pro) ท่าน,คุณ,พวกท่าน,พวกคุณ [Nontri] /Y UW1/ [CMU] (pron) /juː/ [OALD]
may พฤษภาคม[Lex2] อาจจะ (ใช้แสดงความเป็นไปได้) : อาจ, คงจะ, น่าจะ [Lex2] สามารถจะ (ใช้แสดงการขออนุญาต) [Lex2] เดือนพฤษภาคม[Lex2] ขอให้ เช่น May the best team win. ขอให้ทีมที่เก่งที่สุดชนะ [LongdoEN] (เมย์) auxv. อาจจะ,อาจ,คงจะ,สามารถจะ,บางที,ขอให้ n. =maiden (ดู) [Hope] (n) เดือนพฤษภาคม [Nontri] (va) ขออนุญาต,อาจจะ,สามารถจะ,น่าจะ,บางที [Nontri] /M EY1/ [CMU] (n (count),proper noun) /m'ɛɪ/ [OALD] (v,v) /mɛɪ/ [OALD]
find พบ (โดยบังเอิญ) : เจอ, เห็น, พบปะ, ประสบ, ค้นพบ [Lex2] หา: ค้นหา, ตามหา [Lex2] สิ่งของหรือคนที่มีคุณค่าที่ได้ค้นพบ[Lex2] พบ (ยังมีอยู่) : ดำรงอยู่ [Lex2] รู้สึก (ความพึงพอใจ) : สัมผัสรู้, สำนึก [Lex2] ตัดสิน (ในศาล) : ตัดสินชี้ขาด, ลงความเห็น [Lex2] (ไฟดฺ) {found,found,finding,finds} vt. พบ,ประสบ,หา,ได้รับ,จัดหา,ไปถึง,ตัดสิน,ชี้ขาด,บรรลุ,ก่อให้เกิด. vi. รู้สึก,เห็นว่า,ตัดสิน,ชี้ขาด,ลงความเห็น. ###SW. find oneself รู้ถึงความสามารถของตนและรู้วิธีใช้มัน. -Phr. (all found ทุกสิ่งทุกอย่างที่ต้อง หาเป็นคำสั่งหนึ่งที่ให้ตรวจค้นหาข้อมูลที่ต้องการในแฟ้มใดแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) เราอาจค้นหาได้เป็นคำ ๆ ไป ถ้าเป็นโปรแกรมฐานข้อมูล (database management) เราจะสามารถค้นหาไปทีละระเบียน (record) บางทีอาจใช้หมายถึงการค้นหาแฟ้มข้อมูลว่าเก็บไว้ในสารบบ (directory) ใด เป็นคำสั่งหนึ่งในระบบวินโดว์ด้วย (อยู่ใต้เมนู File) มีความหมายเหมือน search [Hope] (vi,vt) พบ,หา,ค้น,สืบหา,ประสบ,สืบสวน,ตัดสิน,ชี้ขาด,รู้,ทราบ,สำนึก [Nontri] /F AY1 N D/ [CMU] (vt,n (count)) /f'aɪnd/ [OALD]
it ผู้เล่นที่ต้องไล่จับผู้เล่นอื่น (เกมของเด็ก) [Lex2] มัน[Lex2] (อิท) pron. มัน,นั่น,ตัว,คน,บุคคล,ตัวมาร,ตัวการ,คนสำคัญ,คนโง่. n. คนเล่น,สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) [Hope] (pro) มัน [Nontri] /IH1 T/ [CMU] /IH0 T/ [CMU] (pron) /ɪt/ [OALD]
a หนึ่ง (คำนำหน้าคำนามเพื่อแสดงว่าคำนามนั้นๆ ไม่ชี้เฉพาะ) [Lex2] อักษรตัวแรกในภาษาอังกฤษ[Lex2] ใช้เป็นคำเติมหน้าเพื่อเน้นความหมาย[Lex2] ของ[Lex2] บน[Lex2] จาก[Lex2] ไปยัง: ไปสู่ [Lex2] ออก[Lex2] ไม่ (ย่อมาจาก an-) : ปราศจาก, ใช้นำหน้าเสียงพยัญชนะ [Lex2] (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง,อันดับหนึ่ง,สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment,artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ [Hope] /AH0/ [CMU] /EY1/ [CMU] (n (count)) /'ɛɪ/ [OALD] (indef. article) /ə/ [OALD]
bit ดอกสว่าน[Lex2] เหล็กที่ขวางปากม้าสำหรับดึงบังเหียน[Lex2] ชิ้นส่วนเล็กๆน้อยๆ[Lex2] หน่วยวัดความจุข้อมูล: บิต [Lex2] (บิท) 1. n. ดอกสว่าน,สิ่งค้ำ,ของเล็ก ๆ น้อย ๆ ,ครู่เดียว,การกระทำ,บทบาทเล็กน้อย,เหรียญเล็ก ๆ ,หน่วย,กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ [Hope] (n) ของเล็กน้อย,เหรียญเล็กๆ,ชิ้นอาหาร,เศษ,การกัด [Nontri] (vt) pt ของ bite [Nontri] /B IH1 T/ [CMU] (v,n (count)) /b'ɪt/ [OALD] [bite ] กัด: ขบ, งับ [Lex2] (แมลง) ต่อย: กัด [Lex2] รอยกัด: แผลที่ถูกกัด [Lex2] หนึ่งคำอาหาร[Lex2] (ไบทฺ) {bit,bitten/bit,biting,bites} v. กัด,กิน,ตอด,กินอาหาร,ต่อย (แมลง) ,ยึดแน่น,เกาะแน่น,โกง,มีผลต่อ,งับ,ติดเหยื่อ,ยึด,ติด,ทำได้ผล n. การกัด,แผลกัด,ความคม,ความได้ผล,ชิ้นอาหาร,มื้อน้อย ๆ ###S. nibble [Hope] (n) การกัด,ความคม,ส่วนที่กัดออก,ชิ้นอาหาร [Nontri] (vt) กัด,กิน,ตอด,ขบ,ต่อย [Nontri] /B AY1 T/ [CMU] (v,n) /b'aɪt/ [OALD]
inconvenient ซึ่งไม่สะดวก: ยุ่งยาก, ขลุกขลัก, ลำบาก [Lex2] (อินคันวี' เนียนทฺ) adj. ไม่สะดวก -S .troublesome, awkward [Hope] (adj) ลำบาก,ไม่สะดวก [Nontri] /IH2 N K AH0 N V IY1 N Y AH0 N T/ [CMU] (adj) /ˌɪnkənv'iːnɪəʳnt/ [OALD]
if ถ้า: ถ้าหากว่า, สมมุติว่า, แม้นว่า, แม้ว่า, ดุจดังที่ [Lex2] (อิฟ) conj. ถ้า,ถ้าหมก,เผื่อ,สมมุติว่า,หาก n. ความไม่แน่นอน,ข้อสมมุต [Hope] (con) ถ้า,แม้ว่า,เผื่อ,สมมุติว่า,ถ้าหาก [Nontri] /IH1 F/ [CMU] /IH0 F/ [CMU] (conj) /ɪf/ [OALD]
can't (คานทฺ,แคนทฺ) abbrev. can not [Hope] /K AE1 N T/ [CMU] (v) /kaːnt/ [OALD]
use วิธีการใช้: วิธีใช้ [Lex2] การทำงาน[Lex2] ใช้: ใช้ประโยชน์, ทำให้เป็นประโยชน์ [Lex2] ใช้เป็นประจำ[Lex2] หลอกใช้: ใช้ในทางไม่เหมาะสม [Lex2] ปฏิบัติต่อ: แสดงออก [Lex2] ได้ประโยชน์จาก[Lex2] การใช้: การใช้ประโยชน์ [Lex2] ประโยชน์: ประโยชน์ใช้สอย [Lex2] ความเคยชิน: ความคุ้นเคย [Lex2] (v. ยูส,n. ยูซ) vt. ใช้,ใช้ประโยชน์,ใช้สอย,ประยุกต์,ใช้จ่าย,ปฎิบัติด้วยความเคยชิน,แสดงออก,เคี้ยวยาสูบ,สูบบุหรี่ vi. เคยชิน,คุ้นเคย n. การใช้,การใช้ประโยชน์,ประโยชน์,ความเคยชิน,การประยุกต์,วิธีการใช้,เคยชิน,ประเพณี,ธรรมเนียม, -Phr. (put to use ใช้ประโยชน์) [Hope] (n) ประโยชน์,การใช้,ความเคยชิน,ประเพณี,ธรรมเนียม [Nontri] (vt) ใช้,ใช้ประโยชน์,แสดงออก,สูบบุหรี่ [Nontri] /Y UW1 S/ [CMU] /Y UW1 Z/ [CMU] (n) /j'uːs/ [OALD] (vt) /j'uːz/ [OALD]
the คำนำหน้านามชี้เฉพาะ[Lex2] พระเจ้า[Lex2] n. วันอาทิตย์ [Hope] (adv) ถึงเพียงนั้น,ในกรณีนั้น,ที่เข้าใจกันแล้ว [Nontri] /DH AH0/ [CMU] /DH AH1/ [CMU] /DH IY0/ [CMU] (adv,def. article) /ðə/ [OALD]
Internet เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระหว่างองค์กรต่างๆ: อินเทอร์เนต [Lex2] เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงใยกันทั่วโลก, เครือข่ายอินเทอร์เน็ต [LongdoEN] (อินเทอร์เน็ต) หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์นานาชาติที่มีสายตรงต่อไปยังสถาบันหรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้รายใหญ่ทั่วโลก ผ่านโมเด็ม (modem) คล้ายกับ Compuserve ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถสื่อสารถึงกันได้ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศ รวมทั้งคัดลอกแฟ้มข้อมูล และโปรแกรมบางโปรแกรมมาใช้ได้ อย่างไรก็ตาม มีผู้เปรียบเทียบว่า อินเตอร์เน็ตเป็นเหมือนทางหลวงระหว่างประเทศ แต่ละประเทศจะต้องมีถนนเข้ามาเชื่อมต่อเข้าไปในประเทศ กล่าวคือ จะต้องมีเครือข่ายภายในรับช่วงต่ออีกทอดหนึ่ง (เช่น ไทยมี Chulanet, KSC , Infonews เป็นต้น) มิฉะนั้นก็จะใช้ไม่ได้ผล [Hope] /IH1 N T ER0 N EH2 T/ [CMU]