ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: trine, -trine- |
strine | (n) สำเนียงอังกฤษออสเตรเลีย |
|
| | accipitrine | (แอคซิพ' พิทริน -ไทรน์) adj. ซึ่งเกี่ยวกับนกจำพวกเหยี่ยว, ซึ่งคล้ายเหยี่ยว., Syn. accipitral | alpestrine | (แอลเพส' ทริน) adj. ซึ่งเกี่ยวกับบริเวณเชิงเทือกเขาแอลพ์ | citrine | adj. สีเหลืองซีด, สีมะนาว | doctrine | (ดอค'ทริน) n. หลัก, ทฤษฎี, คำสั่งสอนศาสนา, ลัทธิ (tenet, dogma, precept) | latrine | (ละทรีน') n. ห้องส้วม, สถานที่ใช้เป็นห้องส้วม, Syn. toilet |
| | | Economic doctrine | ลัทธิเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] | Political doctrine | ลัทธิการเมือง [เศรษฐศาสตร์] | Doctrines | หลักคำสอน [TU Subject Heading] | History of doctrines | ประวัติของลัทธิ [TU Subject Heading] | Cesspool Latrine | ส้วมซึม, Example: ส้วมที่นิยมแพร่หลายในประเทศไทย โดยสร้างขึ้นในครัวเรือน ส้วมซึม มีระบบคอห่าน (privy bowl) เป็นตัวป้องกันไม่ให้แมลงเข้าถึงสิ่งปฏิกูลได้ โดยหลักการแล้วส้วมซึมนอกจากจะทำหน้าที่เก็บสิ่งปฏิกูลไว้ให้เกิดการย่อย สลาย ในหลุมส้วมแล้ว ส่วนที่เป็นน้ำก็จะซึมออกจาก [สิ่งแวดล้อม] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
| Doctrine of Signature | [doc-trin of sik-na-tur] (n) การบำบัดรักษาโรคด้วยส่วนของพืชที่มีลักษณะพ้องจองกับอวัยวะหรืออาการนั้นๆ, สัญลักษณาการบำบัด (สญฺญลกฺษณ+อาการฺ+ขจดฺ), Syn. สัญลักษณ์บำบัด |
| | เถรวาท | (n) doctrine, See also: priest, Syn. หินยาน, ทักษิณนิกาย, ลัทธิเถรวาท, Ant. มหายาน, Example: หลวงปู่แจ่มเป็นพระสงฆ์ในนิกายเถรวาท, Thai Definition: ลัทธิที่ถือตามคติซึ่งพระเถระพุทธสาวกได้ทำสังคายนาไว้, Notes: (บาลี) | ลัทธิ | (n) doctrine, See also: cult, creed, ideology, faith, belief, Syn. ความเชื่อ, หลักการ, แนวคิด, Example: ปราสาทนี้สร้างขึ้นด้วยแรงศรัทธาในลัทธิศาสนา, Thai Definition: คติความเชื่อถือหรือความคิดเห็น | อภิธรรม | (n) excellent law, See also: higher doctrine, transcendental law, metaphysics, Example: การสวดหน้าศพมีการจัดตั้งเครื่องบูชา และจัดที่สำหรับพระสวดอภิธรรมในเวลากลางคืน, Thai Definition: ชื่อธรรมะชั้นสูง มี 7 คัมภีร์ นิยมใช้สวดในงานศพ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ลัทธิความเชื่อ | (n) creed, See also: faith, ideology, credo, belief, doctrine, Example: ศาสนิกชนของทุกศาสนา สามารถประกอบพิธีกรรมตามลัทธิความเชื่อของตนได้อย่างอิสระเสรี, Count Unit: ลัทธิ | ส้วม | (n) lavatory, See also: latrine, toilet, cloakroom, water closet, loo, privy, powder room, W.C, Example: บ่อเกรอะที่ใช้ปุ๋ยรดนั้น มันหมักหมมและสกปรกกว่าส้วมด้วยซ้ำ, Count Unit: ส้วม, Thai Definition: ที่ถ่ายอุจจาระปัสสาวะ | คติธรรม | (n) Buddhist doctrine, See also: moral teaching, moral lesson, Example: คติธรรมในพุทธศาสนามิได้ขัดแย้งกับพิธีกรรมในศาสนาพราหมณ์, Thai Definition: ธรรมที่เป็นแบบอย่าง | คำสอน | (n) teaching, See also: doctrine, instruction, Syn. ตำรา, คำสั่งสอน, คำอบรม, Example: ศาสนาทุกศาสนามีคำสอนที่ต้องการให้คนเป็นคนดี | คำสั่งสอน | (n) doctrine, See also: teaching, instruction, Syn. คำสอน, คำอบรม, Example: เขายึดพระพุทธพระธรรมคำสั่งสอนและพระสงฆ์เป็นที่พึ่งทางใจ, Count Unit: ข้อ | พระธรรม | (n) Buddha's teaching, See also: Buddhist doctrine, Example: เมื่อพระพระพุทธเจ้าตรัสรู้แล้วก็เสด็จเผยแพร่พระธรรมยังแคว้นมคธและแคว้นใกล้เคียง, Thai Definition: คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า | วาท | (n) ideology, See also: creed, doctrine, belief, opinion, Syn. ลัทธิความเชื่อ, ความเห็น, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ถาน | (n) monk's water closet, See also: monk's toilet, monk's latrine/lavatory, Syn. ส้วม, Thai Definition: ส้วมของพระ | ทักษิณาจาร | (n) name of Brahmin doctrine, See also: person of upright conduct, Thai Definition: ชื่อลัทธิตันตระแบบหนึ่ง นับเนื่องในนิกายหนึ่งของศาสนาพราหมณ์ยุคหลัง เป็นแบบขวาหรือฝ่ายขวา มีพิธีกรรมเปิดเผย ไม่มีลามกอนาจาร, คู่กับ วามาจาร, ชื่อลัทธิพุทธตันตระแบบหนึ่ง ซึ่งมีหลักปฏิบัติทำนองเดียวกับลัทธิตันตระของพราหมณ์ โดยถือพระไวโรจนพุทธะแทนพรหมัน, Notes: (สันสกฤต) | ทฤษฎี | (n) theory, See also: hypothesis, supposition, doctrine, teachings, Syn. แนวความคิด, Example: รูปแบบโครงร่างของทฤษฎีทางภาษาศาสตร์จะเป็นอย่างไรนั้น จะต้องทดสอบกันอีกมาก, Count Unit: ทฤษฎี, Thai Definition: ลักษณะที่คิดคาดเอาตามหลักวิชา เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างมีระเบียบ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | นิยม | (n) principle, See also: theory, doctrine, Example: ประเทศในยุโรปตะวันออกหลายประเทศได้ยกเลิกการปกครองระบบสังคมนิยม | ธรรม | (n) doctrine, See also: Teaching of Buddha, dharma, Syn. คำสั่งสอน, คุณความดี, หลักธรรมะ, Thai Definition: หลักคำสั่งสอนในศาสนา, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | หลักคำสอน | (n) doctrine, See also: canon, established principle, Syn. คำสอน, คำสั่งสอน, Example: พระพุทธเจ้ามีหลักคำสอนที่ให้ความนิยม และให้เกียรติผู้ให้มากกว่าผู้รับ | หลักศาสนา | (n) dogma, See also: doctrine, principle of one's faith, Example: หลักศาสนาทั่วไปสั่งสอนให้คนทำแต่ความดี | หลักศาสนา | (n) dogma, See also: doctrine, principle of one's faith, Example: หลักศาสนาทั่วไปสั่งสอนให้คนทำแต่ความดี |
| เบ่งหน้าอก | [beng nā-ok] (v, exp) EN: puff out one's chest FR: bomber le torse ; bomber la poitrine | หัวอก | [hūa-ǿk] (n) EN: chest ; breast ; bosom FR: poitrine [ f ] | คำสั่งสอน | [khamsang søn] (n, exp) EN: doctrine ; teaching ; instruction | คำสอน | [khamsøn] (n) EN: teaching ; doctrine FR: enseignement [ m ] ; doctrine [ f ] | คติธรรม | [khatitham] (n) EN: Buddhist doctrine ; moral teaching ; moral lesson ; moral saying ; wise saying ; uplifting statement | หลักธรรมะ | [lakthamma] (n) EN: doctrine | ลัทธิ | [latthi] (n) EN: ideology ; faith ; doctrine FR: idéologie [ f ] ; doctrine [ f ] ; croyance [ f ] | หน้าอก | [nā-ok] (n) EN: chest ; bust ; breast ; bosom FR: buste [ m ] ; poitrine [ f ] ; torse [ m ] | นกเด้าลมหัวเหลือง | [nok daolom hūa leūang] (n, exp) EN: Citrine Wagtail ; Yellow-hooded Wagtail FR: Bergeronnette citrine [ f ] | นกเดินดงอกดำ | [nok doēn dong ok dam] (n, exp) EN: Black-breasted Thrush FR: Merle à poitrine noire [ f ] ; Grive à poitrine noire [ f ] | นกหัวขวานด่างหัวแดงอกลาย | [nok hūa khwān dāng hūa daēng ok lāi] (n, exp) EN: Stripe-breasted Woodpecker FR: Pic à poitrine rayée [ m ] | นกหัวขวานเขียวคอเขียว | [nok hūa khwān khīo khø khīo] (n, exp) EN: Streak-breasted Woodpecker FR: Pic verdâtre [ m ] ; Pic à poitrine striée [ m ] | นกหัวโตขาดำ | [nok hūa tō khā dam] (n, exp) EN: Kentish Plover FR: Pluvier à collier interrompu [ m ] ; Gravelot à collier interrompu [ m ] ; Gravelot pattenoire [ m ] ; Gravelot de Kent [ m ] ; Pluvier de Kent [ m ] ; Pluvier à poitrine blanche [ m ] | นกจาบดินอกลาย | [nok jāp din ok lāi] (n, exp) EN: Puff-throated Babbler FR: Akalat à poitrine tachetée [ m ] ; Timalie striée [ f ] ; Timalie à poitrine tachetée [ f ] | นกจับแมลง อกแดง | [nok jap malaēng ok daēng] (n, exp) EN: Maroon-breasted Philentoma FR: Philentome à poitrine marron [ m ] ; Philentome à plastron roux [ m ] | นกจับแมลงอกสีน้ำตาลอ่อน | [nok jap malaēng ok sī nāmtān øn] (n, exp) EN: Brown-chested Jungle Flycatcher ; Brown-chested Flycatcher FR: Gobemouche à poitrine brune [ m ] ; Rhinomyias à gorge blanche [ m ] ; Gobemouche olive [ m ] | นกจับแมลงอกสีส้ม | [nok jap malaēng ok sī som] (n, exp) EN: Rufous-chested Flycatcher FR: Gobemouche à poitrine rousse [ m ] | นกจับแมลงอกเทา | [nok jap malaēng ok thao] (n, exp) EN: Grey-chested Jungle Flycatcher FR: Gobemouche ombré [ m ] ; Rhinomyias à poitrine grise [ m ] | นกจาบปีกอ่อนหัวเทา | [nok jāp pīk øn hūa thao] (n, exp) EN: Chestnut-eared Bunting FR: Bruant à oreillons [ m ] ; Bruant à demi-collier [ m ] ; Bruant à oreillons marron [ m ] ; Bruant à poitrine noire [ m ] | นกจู๋เต้นจิ๋ว | [nok jū ten jiu] (n, exp) EN: Pygmy Wren-Babbler FR: Turdinule maillée [ f ] ; Timalie pygmée ; Turdinule pygmée [ f ] ; Pnoepyga à poitrine maillée | นกจู๋เต้นคิ้วยาว | [nok jū ten khiu yāo] (n, exp) EN: Eyebrowed Wren-Babbler FR: Petite Turdinule [ f ] ; Timalie à poitrine tachetée [ f ] ; Turdinule à sourcils [ f ] | นกกาฝากอกแดง | [nok kāfāk ok daēng] (n, exp) EN: Scarlet-breasted Flowerpecker FR: Dicée à poitrine écarlate [ m ] ; Dicée à gorge rubis [ m ] | นกกาฝากอกเหลือง | [nok kāfāk ok leūang] (n, exp) EN: Yellow-breasted Flowerpecker FR: Dicée tacheté [ m ] ; Dicée à poitrine dorée [ m ] | นกกาฝากอกสีเลือดหมู | [nok kāfāk ok sī leūat mū] (n, exp) EN: Crimson-breasted Flowerpecker FR: Dicée poignardé [ m ] ; Dicée à poitrine rouge [ m ] | นกกะรางอกลาย | [nok karāng ok lāi] (n, exp) EN: Spot-breasted Laughingthrush FR: Garrulaxe à poitrine tachetée [ m ] ; Garrulax tacheté [ m ] ; Garrulaxe merle [ m ] | นกกะรางสร้อยคอใหญ่ | [nok karāng søi khø yai] (n, exp) EN: Greater Necklaced Laughingthrush FR: Garrulaxe à plastron [ m ] ; Garrulax à bandeau [ m ] ; Garrulaxe à collier [ m ] ; Garrulaxe à poitrine noire [ m ] | นกแขกเต้า | [nok khaek tāo] (n, exp) EN: Red-breasted Parakeet FR: Perruche à moustaches [ f ] ; Perruche à poitrine rose [ f ] | นกคัคคูหางแพน | [nok khakkhū hāngphaēn] (n, prop) EN: Rusty-breasted Cuckoo ; Brush Cuckoo FR: Coucou à ventre roux [ m ] ; Coucou à poitrine rousse [ m ] | นกขมิ้นหัวดำเล็ก | [nok khamin hūa dam lek] (n, exp) EN: Dark-throated Oriole FR: Loriot à gorge noire [ m ] ; Loriot à gorge sombre [ m ] ; Loriot à poitrine striée [ m ] | นกขุนแผนอกสีส้ม | [nok khun phaēn ok sī som] (n, exp) EN: Orange-breasted Trogon FR: Trogon à poitrine jaune [ m ] ; Couroucou à poitrine jaune [ m ] ; Couroucou à poitrine orangée [ m ] | นกกินแมลงป่าชายเลน | [nok kin malaēng pā chāilēn] (n, exp) EN: White-chested Babbler FR: Akalat à front noir [ m ] ; Timalie à poitrine blanche [ f ] ; Akalat à ventre blanc [ m ] | นกกินแมลงป่าโกงกาง | [nok kin malaēng pā kōngkāng] (n, exp) EN: White-chested Babbler FR: Akalat à front noir [ m ] ; Timalie à poitrine blanche [ f ] ; Akalat à ventre blanc [ m ] | นกกินแมลงป่าอกสีน้ำตาล | [nok kin malaēng pā ok sī nāmtān] (n, exp) EN: Buff-breasted Babbler FR: Akalat de Tickell [ m ] ; Timalie de Tickell [ f ] ; Akalat à poitrine fauve [ m ] | นกกินปลีหางยาวคอดำ | [nok kin plī hāng yāo khø dam] (n, exp) EN: Black-throated Sunbird FR: Souimanga sombre [ m ] ; Souimanga à gorge noire [ m ] ; Souimanga à poitrine noire [ m ] | นกกระจิบคอดำ | [nok krajip khø dam] (n, exp) EN: Dark-necked Tailorbird FR: Couturière à col noir [ f ] ; Fauvette-couturière à poitrine noire [ f ] ; Couturière des bois [ f ] | นกกระจิบหญ้าคิ้วขาว | [nok krajip yā khiu khāo] (n, exp) EN: Hill Prinia FR: Prinia à gorge noire ; Fauvette-roitelet à poitrine blanche [ f ] | นกกระจิบอกเทา | [nok krajip yā ok thao] (n, exp) EN: Grey-breasted Prinia FR: Prinia de Hodgson ; Fauvette-roitelet à poitrine grise [ f ] ; Prinia à poitrine grise | นกกระจิ๊ดคิ้วดำท้องขาว | [nok krajit khiu dam thøng khāo] (n, exp) EN: Yellow-vented Warbler FR: Pouillot chanteur [ m ] ; Pouillot à poitrine jaune [ m ] | นกกระเต็นอกขาว = นกกะเต็นอกขาว | [nok kraten ok khāo = nok katen ok khāo] (n, exp) EN: White-throated Kingfisher FR: Martin-chasseur de Smyrne [ m ] ; Martin-pêcheur à poitrine blanche [ m ] ; Martin-chasseur à gorge blanche [ m ] ; Martin-pêcheur à gorge blanche [ m ] ; Martin-pêcheur de Smyrne | นกกระทาดงอกสีน้ำตาล | [nok krathā dong ok sī nāmtān] (n, exp) EN: Bar-backed Partridge FR: Torquéole à poitrine brune ; Perdrix à poitrine brune | นกกระทาดงอกเทา | [nok krathā dong ok thao] (n, exp) EN: Grey-breasted Partridge FR: Torquéole de Sumatra ; Perdrix à poitrine grise [ f ] | นกกระทาดงปักษ์ใต้ | [nok krathā dong pak tāi] (n, exp) EN: Chestnut-necklaced Partridge FR: Torquéole à poitrine châtaine ; Perdrix de Charlton [ f ] | นกกวัก | [nok kwak] (n, exp) EN: White-breasted Waterhen FR: Râle à poitrine blanche [ m ] ; Marouette à poitrine blanche [ f ] | นกน็อทเล็ก | [nok not lek] (n, exp) EN: Red Knot FR: Bécasseau maubèche [ m ] ; Bécasseau à poitrine rousse [ m ] ; Maubèche canut [ f ] ; Maubèche grise [ f ] ; Maubèche rousse [ f ] ; Bécasseau canut [ m ] | นกปรอดหัวโขนก้นเหลือง | [nok parøt hūa khōn kon leūang] (n, exp) EN: Brown-breasted Bulbul FR: Bulbul à poitrine brune [ m ] ; Bulbul à ventre jaune [ m ] ; Bulbul d’Anderson [ m ] | นกปลีกล้วยท้องเทา | [nok plī klūay thøng thao] (n, exp) EN: Grey-breasted Spiderhunter FR: Arachnothère à poitrine grise [ m ] ; Arachnothère modeste [ m ] | นม | [nom] (n) EN: breast ; bust ; chest ; thorax ; bosom ; udders ; tit (vulg.) FR: mamelle [ f ] ; poitrine [ f ] ; sein [ m ] ; téton [ m ] (fam.) ; nichon [ m ] (vulg.) ; lolo [ m ] (fam.) ; néné [ m ] (fam.) | อก | [ok] (n) EN: chest ; breast ; bust ; bosom FR: buste [ m ] ; poitrine [ f ] ; gorge [ f ] | พระธรรม | [phratham] (n) EN: Buddha's teaching ; Buddhist doctrine FR: sermons du Bouddha [ mpl ] | ศาสนาธรรม | [sātsanatham] (n) EN: religious doctrine |
| | | accipitrine | (adj) of or relating to or belonging to the genus Accipiter (or to typical hawks) | alpestrine | (adj) growing at high altitudes, Syn. subalpine | baptistic doctrine | (n) any of various doctrines closely related to Anabaptism | citrine | (n) semiprecious yellow quartz resembling topaz | doctrine | (n) a belief (or system of beliefs) accepted as authoritative by some group or school, Syn. philosophy, philosophical system, school of thought, ism | doctrine of analogy | (n) the religious belief that between creature and creator no similarity can be found so great but that the dissimilarity is always greater; any analogy between God and humans will always be inadequate, Syn. analogy, Ant. cataphatism, apophatism | lacustrine | (adj) of or relating to or living near lakes | latrine | (n) a public toilet in a military area | monroe doctrine | (n) an American foreign policy opposing interference in the western hemisphere from outside powers | paltriness | (n) worthlessness due to insignificance, Syn. sorriness | philosophical doctrine | (n) a doctrine accepted by adherents to a philosophy, Syn. philosophical theory | religious doctrine | (n) the written body of teachings of a religious group that are generally accepted by that group, Syn. gospel, creed, church doctrine | sultriness | (n) oppressively hot and humid weather | sultriness | (n) the quality of expressing or arousing sexual desire | theological doctrine | (n) the doctrine of a religious group | trinectes | (n) a genus of Soleidae, Syn. genus Trinectes | trine immersion | (n) baptism by immersion three times (in the names in turn of the Trinity) | truman doctrine | (n) President Truman's policy of providing economic and military aid to any country threatened by communism or totalitarian ideology | alabaster | (adj) of or resembling alabaster, Syn. alabastrine | breast of lamb | (n) a cut of lamb including the breastbone and attached muscles dressed as meat, Syn. poitrine d'agneau | case | (n) a glass container used to store and display items in a shop or museum or home, Syn. showcase, vitrine, display case | cell theory | (n) (biology) the theory that cells form the fundamental structural and functional units of all living organisms; proposed in 1838 by Matthias Schleiden and by Theodor Schwann, Syn. cell doctrine | cy pres | (n) a rule that when literal compliance is impossible the intention of a donor or testator should be carried out as nearly as possible, Syn. cy pres doctrine, rule of cy pres | hogchoker | (n) useless as food; in coastal streams from Maine to Texas and Panama, Syn. Trinectes maculatus | legal principle | (n) (law) a principle underlying the formulation of jurisprudence, Syn. judicial doctrine, judicial principle | rupestral plant | (n) plants growing among rocks, Syn. rupestrine plant, saxicolous plant, rupicolous plant | three | (n) the cardinal number that is the sum of one and one and one, Syn. triplet, trio, triad, leash, deuce-ace, III, trinity, threesome, 3, trey, terzetto, trine, tercet, tierce, ternary, ternion, troika | yellowhammer | (n) European bunting the male being bright yellow, Syn. Emberiza citrinella, yellow bunting |
| Accipitrine | a. [ Cf. F. accipitrin. ] (Zool.) Like or belonging to the Accipitres; raptorial; hawklike. [ 1913 Webster ] | Alabastrine | a. Of, pertaining to, or like, alabaster; as alabastrine limbs. [ 1913 Webster ] | Alpestrine | a. [ L. Alpestris. ] 1. Pertaining to the Alps, or other high mountains; as, Alpestrine diseases, etc. [ 1913 Webster ] 2. (Bot.) Growing on the elevated parts of mountains, but not above the timber line; subalpine. [ Webster 1913 Suppl. ] | Austrine | n. [ L. austrinus, from auster south. ] Southern; southerly; austral. [ Obs. ] Bailey. [ 1913 Webster ] | Citrine | a. [ F. citrin. See Citron. ] Like a citron or lemon; of a lemon color; greenish yellow. [ 1913 Webster ] Citrine ointment (Med.), a yellowish mercurial ointment, the unguentum hydrargyri nitratis. [ 1913 Webster ]
| Citrine | n. A yellow, pellucid variety of quartz. [ 1913 Webster ] | doctrine | n. [ F. doctrine, L. doctrina, fr. doctor. See Doctor. ] 1. Teaching; instruction. [ 1913 Webster ] He taught them many things by parables, and said unto them in his doctrine, Hearken. Mark iv. 2. [ 1913 Webster ] 2. That which is taught; what is held, put forth as true, and supported by a teacher, a school, or a sect; a principle or position, or the body of principles, in any branch of knowledge; any tenet or dogma; a principle of faith; as, the doctrine of atoms; the doctrine of chances. “The doctrine of gravitation.” I. Watts. [ 1913 Webster ] Articles of faith and doctrine. Hooker. [ 1913 Webster ] The Monroe doctrine (Politics), a policy enunciated by President Monroe (Message, Dec. 2, 1823), the essential feature of which is that the United States will regard as an unfriendly act any attempt on the part of European powers to extend their systems on this continent, or any interference to oppress, or in any manner control the destiny of, governments whose independence had been acknowledged by the United States. Syn. -- Precept; tenet; principle; maxim; dogma. -- Doctrine, Precept. Doctrine denotes whatever is recommended as a speculative truth to the belief of others. Precept is a rule down to be obeyed. Doctrine supposes a teacher; precept supposes a superior, with a right to command. The doctrines of the Bible; the precepts of our holy religion. [ 1913 Webster ] Unpracticed he to fawn or seek for power By doctrines fashioned to the varying hour. Goldsmith. [ 1913 Webster ] | Electrine | a. [ L. electrinus of amber. See Electric. ] 1. Belonging to, or made of, amber. [ 1913 Webster ] 2. Made of electrum, an alloy used by the ancients. [ 1913 Webster ] | Endoctrine | v. t. [ Pref. en- + doctrine. ] To teach; to indoctrinate. [ Obs. ] Donne. [ 1913 Webster ] | Lacustrine | { } a. [ L. lacus lake: cf. F. lacustral, lacustre. ] Found in, or pertaining to, lakes or ponds, or growing in them; as, lacustrine flowers. [ 1913 Webster ] Lacustrine deposits (Geol.), the deposits which have been accumulated in fresh-water areas. -- Lacustrine dwellings. See Lake dwellings, under Lake. [ 1913 Webster ] Variants: Lacustral | Latrine | n. [ L. latrina: cf. F. latrines. ] A privy, or water-closet, esp. in a camp, hospital, etc. [ 1913 Webster ] | Monroe doctrine | . See under Doctrine. [ 1913 Webster ] | paltriness | n. The state or quality of being paltry. [ 1913 Webster ] | Palustrine | a. Of, pertaining to, or living in, a marsh or swamp; marshy. [ 1913 Webster ] | Petrine | a. Of or pertaining to St. Peter; as, the Petrine Epistles. [ 1913 Webster ] | Socotrine | a. Of or pertaining to Socotra, an island in the Indian Ocean, on the east coast of Africa. -- n. A native or inhabitant of Socotra. [ 1913 Webster ] | Sultriness | n. The quality or state of being sultry. [ 1913 Webster ] | Textrine | a. [ L. textrinus, for textorinus, fr. textor a weaver. ] Of or pertaining to weaving, textorial; as, the textrine art. Denham. [ 1913 Webster ] | Trine | a. [ See Trinal. ] Threefold; triple; as, trine dimensions, or length, breadth, and thickness. [ 1913 Webster ] | Trine | n. [ F. trine, trin. See Trinal. ] 1. (Astrol.) The aspect of planets distant from each other 120 degrees, or one third of the zodiac; trigon. [ 1913 Webster ] In sextile, square, and trine. Milton. [ 1913 Webster ] 2. A triad; trinity. [ R. ] [ 1913 Webster ] A single trine of brazen tortoises. Mrs. Browning. [ 1913 Webster ] Eternal One, Almighty Trine! Keble. [ 1913 Webster ] | Trine | v. t. To put in the aspect of a trine. [ R. ] [ 1913 Webster ] By fortune he [ Saturn ] was now to Venus trined. Dryden. [ 1913 Webster ] | Trinervate | a. [ NL. trinervatus; pref. tri- + L. nervus nerve. ] (Bot.) Having three ribs or nerves extending unbranched from the base to the apex; -- said of a leaf. Gray. [ 1913 Webster ] | Trinerved | { } a. [ Pref. tri- + nerve. ] (Bot.) Same as Trinervate. [ 1913 Webster ] Variants: Trinerve | Valeritrine | n. [ Valeric + tropine + -ine. ] (Chem.) A base, C15H27N, produced together with valeridine, which it resembles. [ 1913 Webster ] | Veratrine | n. [ Cf. F. vératrine. See Veratrum. ] (Chem.) A poisonous alkaloid obtained from the root of hellebore (Veratrum) and from sabadilla seeds as a white crystalline powder, having an acrid, burning taste. It is sometimes used externally, as in ointments, in the local treatment of neuralgia and rheumatism. Called also veratria, and veratrina. [ 1913 Webster ] | Vitrine | n. [ F. ] A glass show case for displaying fine wares, specimens, etc. [ Webster 1913 Suppl. ] |
| 原则 | [yuán zé, ㄩㄢˊ ㄗㄜˊ, 原 则 / 原 則] principle; doctrine #1,116 [Add to Longdo] | 学说 | [xué shuō, ㄒㄩㄝˊ ㄕㄨㄛ, 学 说 / 學 說] theory; doctrine #10,577 [Add to Longdo] | 唯物主义 | [wéi wù zhǔ yì, ㄨㄟˊ ㄨˋ ㄓㄨˇ ㄧˋ, 唯 物 主 义 / 唯 物 主 義] materialism, philosophical doctrine that physical matter is the whole of reality #20,330 [Add to Longdo] | 闷热 | [mēn rè, ㄇㄣ ㄖㄜˋ, 闷 热 / 悶 熱] sultry; sultriness; hot and stuffy; stifling hot #20,782 [Add to Longdo] | 无为 | [wú wéi, ㄨˊ ㄨㄟˊ, 无 为 / 無 為] the Daoist doctrine of inaction; let things take their own course; laisser-faire #22,697 [Add to Longdo] | 中庸 | [zhōng yōng, ㄓㄨㄥ ㄩㄥ, 中 庸] doctrine of the mean #23,374 [Add to Longdo] | 佛法 | [fó fǎ, ㄈㄛˊ ㄈㄚˇ, 佛 法] Dharma (the teachings of the Buddha); Buddhist doctrine #25,915 [Add to Longdo] | 教义 | [jiào yì, ㄐㄧㄠˋ ㄧˋ, 教 义 / 教 義] creed; doctrine #30,456 [Add to Longdo] | 唯心主义 | [wéi xīn zhǔ yì, ㄨㄟˊ ㄒㄧㄣ ㄓㄨˇ ㄧˋ, 唯 心 主 义 / 唯 心 主 義] philosophy of idealism, the doctrine that external reality is a product of consciousness #31,179 [Add to Longdo] | 教条 | [jiào tiáo, ㄐㄧㄠˋ ㄊㄧㄠˊ, 教 条 / 教 條] creed; doctrine; religious dogma #31,720 [Add to Longdo] | 释义 | [shì yì, ㄕˋ ㄧˋ, 释 义 / 釋 義] the meaning of sth; an explanation of the meaning of words or phrases; an interpretation (of doctrine); religious doctrine #33,432 [Add to Longdo] | 唯物论 | [wéi wù lùn, ㄨㄟˊ ㄨˋ ㄌㄨㄣˋ, 唯 物 论 / 唯 物 論] the philosophy of materialism, doctrine that physical matter is the whole of reality #36,016 [Add to Longdo] | 传道 | [chuán dào, ㄔㄨㄢˊ ㄉㄠˋ, 传 道 / 傳 道] to lecture on doctrine; to expound the wisdom of ancient sages; to preach; a sermon #45,601 [Add to Longdo] | 义理 | [yì lǐ, ㄧˋ ㄌㄧˇ, 义 理 / 義 理] doctrine (esp. religious); argumentation (in a speech or essay) #46,115 [Add to Longdo] | 唯心论 | [wéi xīn lùn, ㄨㄟˊ ㄒㄧㄣ ㄌㄨㄣˋ, 唯 心 论 / 唯 心 論] philosophy of idealism, the doctrine that external reality is a product of consciousness #47,562 [Add to Longdo] | 四书 | [sì shū, ㄙˋ ㄕㄨ, 四 书 / 四 書] Four Books - namely the Great Learning 大學|大学, the Doctrine of the Mean 中庸, the Analects of Confucius 論語|论语, and Mencius 孟子 #62,065 [Add to Longdo] | 传经 | [chuán jīng, ㄔㄨㄢˊ ㄐㄧㄥ, 传 经 / 傳 經] to pass on scripture; to teach Confucian doctrine; to pass on one's experience #85,104 [Add to Longdo] | 多元论 | [duō yuán lùn, ㄉㄨㄛ ㄩㄢˊ ㄌㄨㄣˋ, 多 元 论 / 多 元 論] pluralism, philosophical doctrine that the universe consists of different substances #109,025 [Add to Longdo] | 玄秘 | [xuán mì, ㄒㄩㄢˊ ㄇㄧˋ, 玄 秘] mystery; mysterious; occult; abstruse doctrine (e.g. religious) #122,719 [Add to Longdo] | 黄水 | [huáng shuǐ, ㄏㄨㄤˊ ㄕㄨㄟˇ, 黄 水 / 黃 水] citrine (orange or yellow quartz SiO2); yellow water; name of river in Henan #126,610 [Add to Longdo] | 释典 | [shì diǎn, ㄕˋ ㄉㄧㄢˇ, 释 典 / 釋 典] Buddhist doctrine; sutras #261,949 [Add to Longdo] | 不可知论 | [bù kě zhī lùn, ㄅㄨˋ ㄎㄜˇ ㄓ ㄌㄨㄣˋ, 不 可 知 论 / 不 可 知 論] agnosticism, the philosophical doctrine that some questions about the universe are in principle unanswerable #377,320 [Add to Longdo] | 一中原则 | [yī zhōng yuán zé, ㄧ ㄓㄨㄥ ㄩㄢˊ ㄗㄜˊ, 一 中 原 则 / 一 中 原 則] One-China principle, the official doctrine that Taiwan is a province of China [Add to Longdo] | 可知论 | [kě zhī lùn, ㄎㄜˇ ㄓ ㄌㄨㄣˋ, 可 知 论 / 可 知 論] gnosticism, the philosophical doctrine that everything about the universe is knowable [Add to Longdo] | 教义和圣约 | [Jiào yì hé Shèng yuē, ㄐㄧㄠˋ ㄧˋ ㄏㄜˊ ㄕㄥˋ ㄩㄝ, 教 义 和 圣 约 / 教 義 和 聖 約] Doctrine and Covenants [Add to Longdo] | 黄水晶 | [huáng shuǐ jīng, ㄏㄨㄤˊ ㄕㄨㄟˇ ㄐㄧㄥ, 黄 水 晶 / 黃 水 晶] citrine (orange or yellow quartz SiO2 as a semiprecious stone) [Add to Longdo] |
| | 主義 | [しゅぎ, shugi] (n) doctrine; rule; principle; (P) #704 [Add to Longdo] | 論 | [ろん, ron] (n) (1) argument; discussion; dispute; controversy; discourse; debate; (2) theory; doctrine; (3) essay; treatise; comment #860 [Add to Longdo] | 義 | [ぎ, gi] (n, adj-no) (1) morality; righteousness; justice; honour (honor); (2) meaning; (3) { Buddh } teachings; doctrine; (n, n-pref) (4) nonconsanguineous relationship (i.e. of in-laws); (5) prosthesis #1,914 [Add to Longdo] | 教え(P);訓 | [おしえ, oshie] (n) teaching; instruction; teachings; precept; lesson; doctrine; (P) #2,184 [Add to Longdo] | 理念 | [りねん, rinen] (n) (Platonic) ideal (of how things ought to be, e.g. human rights); foundational principle; idea; conception (e.g. of the university); doctrine; ideology; (P) #6,765 [Add to Longdo] | 便所 | [べんじょ, benjo] (n) toilet; lavatory; rest room; latrine; comfort station; (P) #11,375 [Add to Longdo] | 教義 | [きょうぎ, kyougi] (n) creed; doctrine; dogma #12,651 [Add to Longdo] | 宗旨 | [しゅうし, shuushi] (n) tenets (doctrines) of a religious sect; (religious) sect #16,831 [Add to Longdo] | エルゴメトリン | [erugometorin] (n) ergometrine [Add to Longdo] | シトリン | [shitorin] (n) (See 黄水晶) citrine; citrine quartz; false topaz [Add to Longdo] | シナトラドクトリン | [shinatoradokutorin] (n) Sinatra Doctrine [Add to Longdo] | トルーマンドクトリン | [toru-mandokutorin] (n) Truman Doctrine [Add to Longdo] | ドクトリン | [dokutorin] (n) doctrine; (P) [Add to Longdo] | ブッシュ・ドクトリン;ブッシュドクトリン | [busshu . dokutorin ; busshudokutorin] (n) Bush Doctrine (American foreign policy guidelines allowing preemptive war, unilateral action, etc.) [Add to Longdo] | モンロー主義 | [モンローしゅぎ, monro-shugi] (n) Monroe Doctrine; Monroeism [Add to Longdo] | 異端邪説 | [いたんじゃせつ, itanjasetsu] (n) heretical doctrine (thought, faith) [Add to Longdo] | 一乗 | [いちじょう, ichijou] (n) { Buddh } ekayana (doctrine that only one teaching, usu. the Lotus Sutra, can lead to enlightenment) [Add to Longdo] | 烏伝神道 | [うでんしんとう, udenshintou] (n) Uden Shinto (Shinto doctrines enunciated by Kamo no Norikiyo of Kamigamo Shrine) [Add to Longdo] | 黄水晶 | [きずいしょう, kizuishou] (n) citrine; yellow quartz [Add to Longdo] | 温気 | [うんき, unki] (n) heat; warmth; sultriness [Add to Longdo] | 教理 | [きょうり, kyouri] (n) doctrine [Add to Longdo] | 己を枉ぐ | [おのれをまぐ, onorewomagu] (exp) (arch) to cast aside one's beliefs and doctrines [Add to Longdo] | 胡麻蝶蝶魚;胡麻蝶々魚 | [ごまちょうちょううお;ゴマチョウチョウウオ, gomachouchouuo ; gomachouchouuo] (n) (uk) speckled butterflyfish (Chaetodon citrinellus, species of the Indo-Pacific); citron butterflyfish [Add to Longdo] | 護法 | [ごほう, gohou] (n) (1) { Buddh } defence of Buddhist doctrines; god who defends Buddhist doctrines; (2) defence of the constitution; (3) religious power to dispel demons and diseases [Add to Longdo] | 邪説 | [じゃせつ, jasetsu] (n) heretical doctrine [Add to Longdo] | 宗学 | [しゅうがく, shuugaku] (n) (See 神学) study of religious doctrine [Add to Longdo] | 宗義 | [しゅうぎ, shuugi] (n) denominational doctrine; doctrine of a sect [Add to Longdo] | 宗門 | [しゅうもん, shuumon] (n) doctrine; creed; sect; (P) [Add to Longdo] | 深奥 | [しんおう, shin'ou] (adj-na, n) esoteric doctrines; mysteries [Add to Longdo] | 祖述 | [そじゅつ, sojutsu] (n, vs) exposition (propagation) of one's master's teachings or doctrines [Add to Longdo] | 中庸 | [ちゅうよう, chuuyou] (adj-na, n) (1) middle way; (golden) mean; moderation; middle path; (2) (See 四書) the Doctrine of the Mean - one of the Four Books [Add to Longdo] | 超保守主義 | [ちょうほしゅしゅぎ, chouhoshushugi] (n, adj-no) ultraconservative doctrine; ultraconservative policy [Add to Longdo] | 天津鞴韜 | [てんしんふくとう;あまつたたら, tenshinfukutou ; amatsutatara] (n) { Buddh } bellows (of the) imperial harbor; Shinto Buddhist doctrines [Add to Longdo] | 二国論 | [にこくろん, nikokuron] (n) two-country model (esp. China and Taiwan); two-country doctrine [Add to Longdo] | 法華神道 | [ほっけしんとう, hokkeshintou] (n) (See 法華宗・1) Hokke Shinto (Shinto doctrines based on Nichiren Buddhism) [Add to Longdo] | 法輪 | [ほうりん, hourin] (n) { Buddh } (See 輪宝, 転法輪) the teachings of Buddha (as likened to the Dharmachakra, originally a wheel-like weapon used to destroy the evils of mankind); Buddhist doctrine [Add to Longdo] | 無政府主義 | [むせいふしゅぎ, museifushugi] (n) (doctrine of) anarchism [Add to Longdo] | 唯心 | [ゆいしん, yuishin] (n) (1) { Buddh } doctrine that all phenomena are produced from consciousness (a central teaching of the Avatamska sutra); (2) (See 唯物) spiritualism (in philosophy) [Add to Longdo] | 利益至上主義 | [りえきしじょうしゅぎ, riekishijoushugi] (n) self interest supremacy doctrine; (irresponsible) capitalism [Add to Longdo] | 立破 | [りっぱ;りゅうは, rippa ; ryuuha] (n) { Buddh } establishing and refuting (a doctrine) [Add to Longdo] |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |