ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -วิทยา-, *วิทยา* |
|
| | สรีระวิทยา | (n) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับหน้าที่และการทำงานของระบบต่างๆในร่างกายว่าเกิดอะไรขึ้น, respiration, See also: S. osmoregulation, photosynthesis, A. transpiration, translocation, R. metabolism |
| สรีระวิทยา | (n) การเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโต, การขยายพันธุ์, See also: S. transcription, translation |
| วิทยา | (n) knowledge, See also: philosophy, science, learning, Syn. พิทย, พิทยา, ความรู้, วิชา, Example: การศึกษาเรื่องศาสนาสามารถศึกษาได้ทั้งแนววิทยาศาสตร์ และแนวแห่งความเชื่อเกี่ยวกับหลักทางปรัชญา, Thai Definition: ความรู้, มักใช้ประกอบกับคำอื่น, Notes: (สันสกฤต) | วิทยากร | (n) expert, See also: lecturer, Example: มีคนโทรเข้ามาคุยกับวิทยากรมาก เนื่องจากวิทยากรเป็นคนมีความรู้และพูดได้น่าฟัง, Thai Definition: ผู้ทรงความรู้ความสามารถในศิลปวิทยาของตน | วิทยาคม | (n) incantations, See also: magic, occult sciences, Syn. เวทมนตร์, คาถา, Example: เขาไปขอให้ผู้มีวิทยาคมขลังช่วยรักษาโรคร้ายที่เป็นอยู่, Notes: (สันสกฤต) | วิทยาธร | (n) one who has magical power, See also: angel musician, Syn. พิทยาธร, คนธรรพ์, Example: เหล่าวิทยาธรขี่ปักษาเหาะเหินมาในอากาศเป็นกระบวนใหญ่, Count Unit: ตน, Thai Definition: อมนุษย์พวกหนึ่ง มีฐานะต่ำกว่าเทวดา เชื่อว่ามีวิชากายสิทธิ์ สามารถเหาะเหินเดินอากาศได้ อยู่ในภูเขาหิมาลัย มีหน้าที่ปฏิบัติพระศิวะ, Notes: (สันสกฤต) | วิทยาคาร | (n) school, See also: college, institute, Syn. โรงเรียน, Example: ผู้ว่าฯ ไปเป็นประธานเปิดวิทยาคารแห่งใหม่ของจังหวัด, Count Unit: โรง, Thai Definition: สถานที่ให้ความรู้ | วิทยาทาน | (n) imparting of knowledge for the general benefit, Example: ใครนำวิธีของผมไปใช้ ผมไม่สงวนลิขสิทธิ์นะ ถือว่าเป็นวิทยาทานอย่างหนึ่ง, Thai Definition: การให้ความรู้ | วิทยาลัย | (n) college, Example: มหาวิทยาลัยและวิทยาลัยต่างๆ ได้บรรจุวิชาปรัชญาเข้าไว้ในหลักสูตรการศึกษาของตน, Thai Definition: สถานศึกษาในระดับสูง สอนวิชาชีพเฉพาะอย่าง, Notes: (สันสกฤต) | วิทยาเขต | (n) campus, Example: ที่ประชุมมีนโยบายที่จะพัฒนาวิทยาเขตต่างๆ ของมหาวิทยาลัยให้มีชื่อเสียงทัดเทียมกัน, Count Unit: แห่ง, Thai Definition: คณะหรือส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัยแต่ตั้งอยู่ในบริเวณอื่น โดยมีอธิการบดีคนเดียวกันและคณะกรรมการกำหนดนโยบายชุดเดียวกัน | วิทยานิพนธ์ | (n) thesis, Example: ในปีพ.ศ. 2543 ท่านได้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาคุมการทำวิทยานิพนธ์ และเป็นกรรมการด้วยผู้หนึ่ง, Count Unit: ฉบับ, เรื่อง, Thai Definition: บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยและพรรณนาขยายความเพื่อเสนอรับปริญญา | วิทยาลัยครู | (n) teacher's college, Example: กระทรวงศึกษาธิการยกฐานะโรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัยเป็นวิทยาลัยครูเมื่อไม่นานมานี้, Thai Definition: สถานศึกษาในระดับสูงสอนวิชาชีพครูโดยเฉพาะ |
| วิทยา | (วิดทะยา) น. ความรู้, มักใช้ประกอบกับคำอื่น เช่น วิทยากร วิทยาคาร จิตวิทยา สังคมวิทยา. | วิทยากร | น. ผู้ทรงความรู้ความสามารถในศิลปวิทยาแขนงต่าง ๆ เช่น วิทยากรในการสัมมนาเรื่องเศรษฐกิจ. | วิทยากล | น. การแสดงที่อาศัยกลวิธีและความไวทำให้ผู้ชมสนเท่ห์. | วิทยาการ | น. ความรู้แขนงต่าง ๆ เช่น ปัจจุบันวิทยาการต่าง ๆ ก้าวหน้าไปมาก, บางทีใช้ว่า ศิลปวิทยาการ. | วิทยาคม | น. เวทมนตร์, คาถาอาคม, เช่น อาจารย์ถ่ายทอดวิทยาคมให้ศิษย์, วิชาอาคม ก็ว่า. | วิทยาคาร | น. สถานที่ให้ความรู้. | วิทยาทาน | น. การให้ความรู้ เช่น ให้ความรู้เป็นวิทยาทาน จัดพิมพ์หนังสือแจกเป็นวิทยาทาน. | วิทยาธร | น. พิทยาธร. | วิทยานิพนธ์ | น. บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยหรือพรรณนาขยายความ โดยนับเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อเสนอรับปริญญา. | วิทยาลัย | น. สถานศึกษาในระดับสูง สอนวิชาชีพเฉพาะอย่าง เช่น วิทยาลัยเทคนิค. |
| | Dissertations, Academic | วิทยานิพนธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Thesis | วิทยานิพนธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Cyclopedia | วิทยานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Dissertations | วิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Thesis | วิทยานิพนธ์, Example: บทนิพนธ์ที่ผู้เรียบเรียงยกเอาหัวข้อเรื่องใดหัวข้อเรื่องหนึ่งขึ้นวิจัยหรือพรรณนาขยายความ โดยเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก วิทยานิพนธ์มีรูปแบบและมีส่วนประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ <p> <p> <p>1. ส่วนประกอบตอนต้น ( Preliminary Section) <p>2. ส่วนเนื้อความ (Text Section or Body of Text) <p>3. ส่วนอ้างอิงหรือส่วนประกอบตอนท้าย (References Section) <p>1. ส่วนประกอบดอนต้น (Preliminary Section) ส่วนนี้รวมตั้งแต่ปกหน้าไปจนถึงหน้าท้ายสุดก่อนส่วนเนื้อความ มีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ <p>1.1 ปก มีข้อมูลประกอบเฉพาะของวิทยานิพนธ์ คือ ชื่อเรื่องของวิทยานิพนธ์ ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์ ข้อมูลที่แจ้งว่าวิทยานิพนธ์ดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาปริญญาใด ระดับการศึกษาใด ชื่อปริญญา ภาควิชา สถาบันการศึกษา ปีที่สำเร็จ และการอนุมัติปริญญา <p>1.2 ปกใน มีข้อมูลเช่นเดียวกับปก จะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.3 หน้าอนุมัติ หรือหน้าตรวจรับรอง (Approval page)จะมีข้อมูลหัวข้อวิทยานิพนธ์ ผู้เขียน ภาควิชา อาจารย์ที่ปรึกษา ข้อความอนุมัติและลายเซ็นต์คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย และคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ <p>1.4 บทคัดย่อ หรือสาระสังเขป (Abstract) ประกอบด้วยข้อความสรุปเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ที่สั้นกระทัดรัด ชัดเจน ทำให้ผู้อ่านทราบถึงเนื้อหาของวิทยานิพนธ์อย่างรวดเร็ว มีทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ หรือภาษาต่างประเทศอื่นๆ <p>1.5กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgements) คือ ข้อความแสดงความขอบคุณบุุคคล สถาบัน และ/หรือหน่วยงานที่มีส่วนช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือในการค้นคว้าเพื่อเขียนวิทยานิพนธ์ ตลอดทั้งคณะกรรมการสอบ ผู้สนับสนุนเงินทุนวิจัย ผู้ให้ข้อคิดเห็น ให้ข้อมูล และผู้ที่อนุญานให้ใช้ข้อเขียนหรือเครื่องมือในการวิจัย <p>1.6 สารบัญ (Contents) เป็นรายการที่แสดงถึงส่วนประกอบสำคัญทั้งหมดของวิทยานิพนธ์ <p>1.7 สารบัญตาราง (List of Tables) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ พิมพ๋เรียงลำดับต่อจากส่วนสารบัญ <p>1.8 สารบัญภาพหรือสารบัญแผนภูมิ (List of Figures or List of Illustrations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่แจ้งตำแหน่งหน้าของรูปภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยู่ในวิทยานิพนธ์ <p>1.9 คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อ (List of Abbreviations) (ถ้ามี) เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์และคำย่อต่างๆ ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ <p>2. ส่วนเนื้อความหรือเนื้อเรื่อง (Body of Text) ประกอบด้วย บทนำ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ <p>3. ส่วนอ้างอิง (Refereces Section) เป็นส่วนท้ายเล่ม ประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติผู้เขียนวิทยานิพนธ์ <p> <p>รายการอ้างอิง <p>พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Earth science | วิทยาศาสตร์โลก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Algology | วิทยาสาหร่าย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radiobiology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] | Radiation biology | ชีววิทยารังสี, วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาผลของรังสีชนิดก่อไอออนต่อสิ่งมีชีวิต ตั้งแต่การดูดกลืนรังสีจนถึงผลที่แสดงออกมาทั้งในระยะสั้น และระยะยาว รวมถึงศึกษาปฏิกิริยาและความเสียหายที่เกิดขึ้นเมื่อได้รับรังสี [นิวเคลียร์] | robotics | วิทยาการหุ่นยนต์, Example: วิทยาการว่าด้วยการออกแบบสร้างและประยุกต์หุ่นยนต์ [คอมพิวเตอร์] |
| | วิทยา | [witthayā] (n) EN: knowledge ; science FR: connaissance [ f ] ; savoir [ m ] ; science [ f ] | วิทยากร | [witthayākon] (n) EN: expert ; lecturer | วิทยากล | [witthayākon] (n) EN: magic show FR: magie [ f ] ; occultisme [ m ] | วิทยาการ | [witthayākān] (n) EN: technology FR: technologie [ f ] | วิทยาการการจัดการ | [witthayākān kān jatkān] (n, exp) EN: management sciences | วิทยาการคอมพิวเตอร์ | [witthayākān khømphiutoē] (n, exp) EN: computer science | วิทยาการจัดการ | [witthayākān jatkān] (n, exp) EN: management sciences | วิทยาการสารสนเทศ | [witthayākān sārasonthēt] (n, exp) EN: information science FR: technologie de l'information [ f ] | วิทยาการหุ่นยนต์ | [witthayākān hunyon] (n) EN: robotics FR: robotique [ f ] | วิทยาการอำพรางข้อมูล | [witthayākān amphrāng khømūn] (n, exp) EN: steganography FR: chiffrement [ m ] ; codage [ m ] ; stéganographie [ f ] |
| bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD | biology | ชีววิทยา | nstda | (org) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ National Science and Technology Development Agency | biologist | (n) นักชีววิทยา | CIFS | (org) สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม (Central Institute of Forensic Science) | emeritus | (adj, n) กิตติคุณ เป็นตำแหน่งที่มหาวิทยาลัยมอบให้แก่บุคลากรอาวุโสที่เกษียณอายุแล้ว โดยเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่มหาวิทยาลัยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน เช่น president emeritus อธิการบดีกิตติคุณ, professor emeritus ศาสตราจารย์กิตติคุณ | physiology | (n) ศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของสิ่งมีชีวิต, สรีรศาสตร์, สรีรวิทยา | methodology | (n) ระเบียบวิธี, วิธีวิทยา | psy-ops | (n) ปฏิบัติการทางจิตวิทยา, Syn. psychological operations | neurobiology | (n) ประสาทชีววิทยา |
| actinology | (n) วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง | aerostation | (n) วิทยาศาสตร์หรือศิลปะที่เกี่ยวกับการสร้างวัตถุเช่น บอลลูนให้ลอยในอากาศ | agrology | (n) วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร | agronomics | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomy | agronomy | (n) วิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร, Syn. agronomics | altimetry | (n) วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการวัดความสูง | college | (n) วิทยาลัย, See also: โรงเรียนเฉพาะสาขาวิชา, Syn. institute, campus | dissertation | (n) ปริญญานิพนธ์, See also: วิทยานิพนธ์, Syn. thesis, report, essay | earth science | (n) วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพื้นดินและส่วนประกอบของโลก (เช่น ภูมิศาสตร์ ธรณีวิทยา), Syn. geography | M.C.S. | (abbr) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์มหาบัณฑิต (Master of Computer Science) |
| a. a. a. s. | abbr. American Association for the Advancement of Science สมาคมเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา | a. a. s. | abbr. American Academy of Sciences (สภาวิทยาศาสตร์แห่งอเมริกา) | a. a. u. w. | abbr. American Association of University Women (สมาคมสตรีมหาวิทยาลัยแห่งอเมริกา) | abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด | abnormal psychology | จิตวิทยาที่เกี่ยวกับความวิปริตของบุคลิกภาพ (branch of psychology) | acarology | (แอคคาร็อล' โลจี) n. ชีววิทยาที่เกี่ยวกับตัวเห็บหรือหมัด -acarologist n. | aeroballistics | (แอโรบะลิส' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับขีปนาวุธ. -aeroballistic adj. | aerograph | (แอ' โรกราฟ) n. บันทึกอุตุวิทยา | aeronautics | (แอโรนอท' ทิคซฺ) n. วิทยาศาสตร์ หรือศิลปะการบิน (science of flight) | aerostatics | (แอโรสแทท' ทิคซฺ) n. สถิติศาสตร์ที่เกี่ยวกับแก๊สหรืออากาศธาตุ, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับยานที่เบากว่าอากาศ -aerostatic , aerostatical adj. (of lighter-than-air craft) |
| | | 博士論文 | [はくしろんぶん, hakushironbun] (n) วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก | 短大 | [たんだい, tandai] วิทยาลัยระดับอนุปริญญา | テーゼ | [てーぜ, teze] (n) วิทยานิพนธ์ | 情報工学 | [じょうほうこうがく, jouhoukougaku] (n) วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ | 論文 | [ろんぶん, ronbun] (n) วิทยานิพนธ์ สารานิพนธ์ งานเขียน |
| 科学 | [かがく, kagaku] TH: วิทยาศาสตร์ EN: science | 理学 | [りがく, rigaku] TH: วิทยาศาสตร์กายภาพ EN: physical science |
| Universität | (n) |die, pl. Universitäten| มหาวิทยาลัย | her | (adv) นี่ (ทิศทางจากนอกเข้ามา) เช่น von irgendwo her จากที่ใดที่หนึ่ง, Wir kennen uns von der Uni her. เรารู้จักกันจากตอนมหาวิทยาลัย | Schall | (n) |der, nur Sing.| เสียง (เรียกในเชิงวิทยาศาสตร์) เช่น die Schallwelle คลื่นเสียง, See also: die Stimme, das Geräusch | Fachhochschule | (n) |die, pl. Fachhochschulen| มหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนด้านปฏิบัติ เมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิที่เทียบเท่าปริญญาตรีที่เมืองไทย ในขณะที่ในมหาวิทยาลัยทั่วไป (Universität)จะได้วุฒิที่เทียบเท่ากับปริญญาโท | promovieren | (vi) |promovierte, hat promoviert| ศึกษาหรือเรียนระดับปริญญาเอก เช่น Meine Schwester promovierte im Jahr 1991 an der Mahidol Universität. น้องสาวของผมเรียนจบระดับปริญญาเอกจากที่มหาวิทยาลัยมหิดลในปี 1991, Syn. eine Doktorarbeit machen | wissenschaftlich | (adj) ทางวิชาการ หรือ ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์หรือวิชาการ | in die Schule gehen | (phrase) ไปเรียน หรือ ไปโรงเรียน สามารถแปลว่า ไปมหาวิทยาลัยได้ด้วย เช่น 1° a: Wann geht Ihr Sohn in die Schule? = ลูกชายคุณจะเข้าโรงเรียนเมื่อไหร่ครับ b: wahrscheinlich, nächstes Jahr! = อ๋อ ก็คงจะปีหน้านะ, Syn. zur Schule gehen | Ablehnungsbescheid | (n) |der| คำปฏิเสธ เช่น คำปฏิเสธเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัย เป็นต้น, See also: A. der Zulassungsbescheid | Prüfungsamt | (n) |das| ฝ่ายวิชาการในมหาวิทยาลัย ซึ่งรับผิดชอบเรื่องที่เกี่ยวกับการสอบโดยตรง | Einheit | (n) |die, pl. Einheiten| หน่วยทางฟิสิกส์หรือวิทยาศาสตร์ เช่น Die Krafteinheit ist in Newton ( N ) angegeben. = หน่วยของแรง(ทางฟิสิกส์)ถูกกำหนดให้เป็นหน่วยนิวตัน |
| enseignement supérieur | (n) le, = การเรียนการสอนในระดับอุดมศุกษา, มหาวิทยาลัย | en | (prep) ที่ (ใช้ตอบคำถาม ไปที่ไหน หรือ อยู่ที่ไหน) เช่น Le Chili, c'est en Amérique. ประเทศชิลีอยู่ในทวีปอเมริกา, Elle va à la fac chaque jour. เธอไปที่มหาวิทยาลัยทุกวัน | thèse | (n) |f, pl. thèses| วิทยานิพนธ์ | soutenance d'une thèse | (n) |f| การแสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก | soutenir une thèse | (vt) แสดงผลงานวิทยานิพนธ์ที่ได้ศึกษา ก่อนจะสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |