ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: รัฐสภา, -รัฐสภา- |
รัฐสภา | (n) congress, See also: council, parliament, caucus, senate, Syn. สภานิติบัญญัติ, Example: พรรคฝ่ายค้านสามารถคว้าที่นั่งในรัฐสภากลับคืนมาจากการเลือกตั้งครั้งล่าสุด, Thai Definition: สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติ ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มีสภานิติบัญญัติสภาเดียวให้หมายถึงสภานั้น, Notes: (กฎหมาย) | ประธานรัฐสภา | (n) Speaker of Parliament, See also: President of the National Assembly, Example: พรรคฝ่ายค้านพยายามรวบรวมเสียงของส.ส.เพื่อเข้าชื่อกันขอให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ | สมาชิกรัฐสภา | (n) member of parliament, See also: member of the assembly, Example: การแก้ปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ ต้องอาศัยความคิดเห็นของสมาชิกรัฐสภาส่วนใหญ่เป็นเครื่องชี้ขาดตัดสิน |
|
| รัฐสภา | (รัดถะสะพา, รัดสะพา) น. องค์กรนิติบัญญัติ ทำหน้าที่บัญญัติกฎหมาย ประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร. | คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. | คณะกรรมาธิการร่วมกัน | น. คณะกรรมาธิการของรัฐสภาที่สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเลือกและแต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อพิจารณาหรือดำเนินการเรื่องใดที่รัฐสภามอบหมาย. | คณะกรรมาธิการวิสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง. | ญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป | น. มาตรการสำคัญอย่างหนึ่งของระบบรัฐสภาที่ฝ่ายนิติบัญญัติใช้ควบคุมและตรวจสอบฝ่ายบริหาร และฝ่ายบริหารใช้ประโยชน์จากฝ่ายนิติบัญญัติในการรับฟังความคิดเห็นจากฝ่ายนิติบัญญัติ. | นักการเมือง | น. ผู้ฝักใฝ่ในทางการเมือง, ผู้ที่ทำหน้าที่ทางการเมือง เช่นรัฐมนตรี สมาชิกรัฐสภา. | ประธาน ๑ | น. ตำแหน่งผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ตำแหน่งประธานรัฐสภา ตำแหน่งประธานกรรมการ, เรียกผู้ที่เป็นหัวหน้าหรือเป็นใหญ่ในที่ประชุม เช่น ประธานรัฐสภา ประธานกรรมการ. | ฝ่ายค้าน | น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทำหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึง ผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน. | พระราชกำหนด | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นให้มีผลใช้บังคับไปพลางก่อนตามคำแนะนำของฝ่ายบริหาร เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้รัฐธรรมนูญ พระราชกำหนดเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ. | เลขาธิการ | น. ผู้ดำรงตำแหน่งบริหารระดับสูงตำแหน่งหนึ่ง เช่น เลขาธิการสหประชาชาติ เลขาธิการราชบัณฑิตยสถาน เลขาธิการรัฐสภา เลขาธิการสมาคม. | สมัยประชุม | น. ระยะเวลาที่กำหนดให้มีการประชุมสภา เช่น สมัยประชุมของรัฐสภา. | สหภาพ | น. การรวมตัวขององค์การตั้งแต่ ๒ องค์การขึ้นไป เพื่อทำกิจการทั่วไปหรือกิจการเฉพาะอย่างตามวัตถุประสงค์ขององค์การที่เข้าร่วมกันนั้น เช่น สหภาพศุลกากร สหภาพรัฐสภา | องค์กร | น. บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา, ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วย. |
| prorogation | การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | prorogation | การปิดสมัยประชุม (รัฐสภา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary procedure; procedure, parliamentary | วิธีดำเนินการทางรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary sovereignty | อำนาจอธิปไตยทางรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary system | ระบบรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary system | ระบบรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary-cabinet system | ระบบรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliament | รัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliament | รัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliament chamber | ที่ประชุมรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliament, legislative supremacy of | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentarian | ๑. ผู้นิยมระบอบรัฐสภา๒. สมาชิกรัฐสภา๓. ผู้เชี่ยวชาญการรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary absenteeism | การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary control | การควบคุมโดยรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary counsel | ที่ปรึกษาฝ่ายรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary government | การปกครองระบบรัฐสภา [ ดู cabinet government ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary law | กฎข้อบังคับของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | parliamentary official | ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Parliamentary Officials Commission | คณะกรรมการข้าราชการฝ่ายรัฐสภา (ก.ร.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary papers | เอกสารของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Parliamentary privilege | เอกสิทธิ์ทางรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | parliamentary privilege | เอกสิทธิ์ของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | procedure, parliamentary; parliamentary procedure | วิธีดำเนินการทางรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | presidential-congressional system | ระบบประธานาธิบดีและรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | legistative supremacy of Parliament | อำนาจสูงสุดทางนิติบัญญัติของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | responsible government | รัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบ (ต่อรัฐสภา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Supreme Soviet | รัฐสภาโซเวียต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | system, parliamentary | ระบบรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | system, parliamentary | ระบบรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | opposition bench | ที่นั่งฝ่ายค้าน (ในรัฐสภาแบบ อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Ombudsman | ผู้ตรวจการของรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Ombudsman | ผู้ตรวจการของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | official, parliamentary | ข้าราชการฝ่ายรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | absenteeism, parliamentary | การขาดประชุมรัฐสภาเป็นอาจิณ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Address | คำกราบบังคมทูลของรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | address to the Crown | คำกราบบังคมทูล (ของรัฐสภาอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Queen's Speech | พระราชดำรัสเปิดสมัยประชุมรัฐสภา (อังกฤษ) [ ดู King's Speech ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | question in Parliament | กระทู้ถามในรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | back bench; bench, back | ที่นั่งแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | back bencher; bencher, back | สมาชิกสภาแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bencher, back; back bencher | สมาชิกสภาแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bencher, cross | สมาชิกสภาฝ่ายเป็นกลาง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bencher, front | สมาชิกสภาแถวหน้า (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bench, back; back bench | ที่นั่งแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bench, cross | ที่นั่งฝ่ายเป็นกลาง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bench, front | ที่นั่งแถวหน้า (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bench, government | ที่นั่งฝ่ายรัฐบาล (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | bench, opposition | ที่นั่งฝ่ายค้าน (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Library of Congress Classification System | ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือของห้องสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library of Congress Subject Headings | หัวเรื่องระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | ASEAN Inter-Parliamentary Organization (AIPO) | องค์การรัฐสภาอาเซียน [TU Subject Heading] | Asia-Pacific Parliamentarians' Union (APPU) | สหภาพสมาชิกรัฐสภาเอเชียและแปซิฟิก [TU Subject Heading] | Cabinet system | การปกครองระบบรัฐสภา [TU Subject Heading] | Capitols | อาคารรัฐสภา [TU Subject Heading] | Classification, Library of Congress | การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน [TU Subject Heading] | Great Britain. Parliament | อังกฤษ. รัฐสภา [TU Subject Heading] | Great Britain. Parliament. House of Lords | อังกฤษ. รัฐสภา. สภาขุนนาง [TU Subject Heading] | Japan. National Diet | ญี่ปุ่น. รัฐสภา [TU Subject Heading] | Ombudsman | ผู้ตรวจราชการแห่งรัฐสภา [TU Subject Heading] | Speeches in Congress | สุนทรพจน์ในรัฐสภา [TU Subject Heading] | Thailand. National Assembly. House of Representatives | ไทย. รัฐสภา. สภาผู้แทนราษฎร [TU Subject Heading] | Thailand. National Assembly. Senate | ไทย. รัฐสภา. วุฒิสภา [TU Subject Heading] | Thailand. The National Assembly | ไทย. รัฐสภา [TU Subject Heading] | United States. Congress | สหรัฐอเมริกา. รัฐสภา [TU Subject Heading] | United States. Congress. House | สหรัฐอเมริกา. รัฐสภา. สภาผู้แทนราษฎร [TU Subject Heading] | United States. Congress. Senate | สหรัฐอเมริกา. รัฐสภา. วุฒิสภา [TU Subject Heading] | ASEAN Inter-Parliamentary Organization | องค์การรัฐสภาอาเซียน " เป็นเวทีการประชุมของผู้แทนรัฐสภาของประเทศสมาชิกอาเซียน จัดขึ้น เป็นประจำทุกปี " [การทูต] | apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | Inter- Parliamentary Union | สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ.2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยูที่นครเจนิวา ประเทศวิตเวอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 153 ประเทศ และ 8 กลุ่มสมาชิกสมทบ (กันยายน 2552) [การทูต] | Inter-Parliamentary Union | สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 140 ประเทศ (ตุลาคม 2547) [การทูต] | Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] |
| เกี่ยวกับรัฐสภา | [kīokap ratthasaphā] (adj) EN: parliamentary FR: parlementaire | ระบบรัฐสภา | [rabop ratthasaphā] (n, exp) EN: parliamentary system FR: régime parlementaire [ m ] | รัฐสภา | [ratthasaphā] (n) EN: parliament ; congress FR: parlement [ m ] ; congrès [ m ] | สมาชิกรัฐสภา | [samāchik ratthasaphā] (n, exp) EN: member of parliament ; member of the assembly FR: député [ m ] ; parlementaire [ m ] ; membre du Parlement [ m ] |
| | backbench | (n) ที่นั่งของสมาชิกรัฐสภา (ที่ไม่ใช่รัฐมนตรีหรือตำแหน่งสำคัญ), Ant. front bench | bicameral | (adj) (รัฐสภา) ซึ่งมีสองส่วน | lobby | (vi) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง, See also: วิ่งเต้น, Syn. solicit, beg | lobby | (vt) ชักชวนให้สมาชิกรัฐสภาสนับสนุนการออกกฎหมายฉบับหนึ่ง, See also: วิ่งเต้น | lower house | (n) สภาล่างของรัฐสภา (House of commonsz) | minority government | (n) เสียงข้างน้อยในรัฐสภา | ombudsman | (n) ผู้ตรวจการของรัฐสภา, See also: ผู้ตรวจการที่ไม่ใช่ฝ่ายรัฐบาล | Order Paper | (n) รายการหัวข้อที่อภิปรายในรัฐสภาแต่ละวัน | parliament | (n) รัฐสภา, Syn. House of Commons | parliamentarian | (n) สมาชิกรัฐสภา, Syn. legislator | parliamentarian | (n) ผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการและขั้นตอนปฎิบัติงานของรัฐสภา | parliamentary | (adj) เกี่ยวกับรัฐสภา, Syn. governmental, administrative | statehouse | (n) อาคารรัฐสภาของมลรัฐ | unparliamentary | (adj) ซึ่งขัดแย้งกับระเบียบการของรัฐสภา |
| capitol | (แคพ'พิทอล) n. อาคารรัฐสภาของสหรัฐอเมริกา, อาคารนิติบัญญัติของรัฐ, ศาลากลาง | congress | (คอง'เกรส) { congressed, congressing, congresses } n. รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, การชุมนุม, การสังวาส. vi. รวมกลุ่ม, ชุมนุม, See also: congressional adj. ดูcongress congressionalist n. ดูcongress, Syn. council, assembly, concourse | congressman | (คอง'กริสเมิน) n. สมาชิก (ชาย) รัฐสภาอเมริกา (โดยเฉพาะของสภาผู้แทน) -pl. congressmen | country | (คัน'ทรี) n. ประเทศ, แผ่นดินของประเทศ, รัฐ, ประชากรของท้องถิ่น, รัฐหรือชาติ, ถิ่นบ้านนอก, ชนบท, ถิ่นที่อยู่ adj. ชนบท, บ้านนอก, เกี่ยวกับประเทศ, เกี่ยวกับบ้านเกิดเมืองนอน. --Phr. (across the country ข้ามทุ่งนาทุ่งไร่.) --Phr. (go to the country ยุบรัฐสภาเพื่อเลือกต | house | (n., adj. เฮาซฺ, vt., vi. เฮาซ) n. บ้าน, เรือน, โรง, โรงเรือน, ครอบครัว, สถาบัน, รัฐสภา, วงศ์ตระกูล, ห้องโถง, ช่อง vt. ให้ที่อยู่อาศัย, มี, ซ่อนไว้. vi. พำนัก, หลบซ่อน, อยู่. adj. เกี่ยวกับบ้าน, Syn. dwelling | lower chamber | n. สภาล่างของรัฐสภา (House of Commons) | lower house | n. สภาล่างของรัฐสภา (House of Commons) | majority leader | n. ผู้นำพรรคที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา | minority | (ไมนอ'ริที, มินอ'ริที) n. ชนหมู่น้อย, กลุ่มที่น้อยกว่า, กลุ่มสมาชิกรัฐสภาที่มีเสียงข้างน้อย, ความเป็นผู้เยาว์, Syn. childhood, infancy | parliament | (พาร์'ละเมนท) n. สภา, รัฐสภา, See also: parliamentary adj. | parliamentarian | (พาร์ลิเมนแท'เรียน) n. สมาชิกรัฐสภา | parliamentary | (พาร์ละเมน'ทะรี) adj. เกี่ยวกับรัฐสภา | reading | (รีด'ดิง) n. การอ่าน, การอ่านออกเสียง, การพิจารณากฎหมายตามวิธีของรัฐสภา, ความรู้, การแปล, จำนวนตัวเลขที่อ่านได้จากอุปกรณ์ (เช่นจากปรอทวัดอุณหภูมิ) , การอ่านบทละคร, การบรรเลงดนตรี adj. เกี่ยวกับการอ่าน, ใช้สำหรับอ่าน, Syn. perusal, interpret | right | (ไรทฺ) adj. ถูก, ถูกต้อง, ปกติ, เป็นธรรม, ยุติธรรม, (ด้าน) หน้า, (ด้าน) บน, (ข้าง) ขวา, ตรงไป, เป็นมุมฉาก n. ธรรม, ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, สิทธิ, สิทธิตามกฎหมาย, การหันขวา, การเลี้ยวขวา, ฝ่ายที่ถูกต้อง, สมาชิกฝ่ายขวา, สมาชิกรัฐสภาที่นั่งอยู่ทางด้านขวาของประธานสภา vt. ทำให้เรียบร้อย, ทำให่เหทาะสม, แก้แค้น, แก้ไข vi. ทรงตัว, ตั้งตรง adv .เป็นเส้นตรง, อย่างถูกต้อง, แม่นยำ, เหมาะสม | statehouse | (สเทท'เฮาซฺ) n. อาคารรัฐสภาของมลรัฐ, เมืองหลวงของมลรัฐ | summons | (ซัม'เมินซ) n. การเรียกตัว, การออกหมายเรียก, การขอร้อง, การเรียกร้อง, หมายศาล, หมายเรียก, การเรียกตัวให้มาประชุมรัฐสภา. pl. summonses, Syn. subpoena, call | unparliamentary | (อันพาร์ละเมน'ทะรี) adj. ขัดกับวิธีการหรือระเบียบของรัฐสภา. | westminster | (เวสทฺ'มินสเทอะ) n. รัฐสภาอังกฤษ, สภา |
| capitol | (n) ศาลากลาง, สถานที่ประชุมของรัฐสภาอเมริกัน | congress | (n) ที่ประชุม, รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ, สภาคองเกรส | congressional | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับรัฐสภา, เกี่ยวกับสภานิติบัญญัติ | house | (n) บ้าน, ที่พัก, สำนัก, สถานที่, ครอบครัว, รัฐสภา | legislature | (n) สภานิติบัญญัติ, รัฐสภา | parliament | (n) รัฐสภา, สภานิติบัญญัติ | parliamentary | (adj) เกี่ยวกับรัฐสภา, ของรัฐสภา, ซึ่งมีรัฐสภา | senate | (n) สภาสูง, รัฐสภา, วุฒิสภา | senator | (n) วุฒิสมาชิก, สมาชิกรัฐสภา | senatorial | (adj) เกี่ยวกับวุฒิสภา, เกี่ยวกับสมาชิกรัฐสภา |
| congressman | [คอง'กริสเมิน] (n) สมาชิก(ขาย)รัฐสภาอเมริกา(โดยเฉพาะของสภาผู้แทน) | LC | ระบบการจัดหมวดหมู่แบบรัฐสภาอเมริกัน |
| 国会 | [こっかい, kokkai] (n) รัฐสภา |
| 議会 | [ぎかい, gikai] (n) รัฐสภา |
| | |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |