Search result for

*เปล่งออกมา*

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เปล่งออกมา, -เปล่งออกมา-
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
คำ ๒น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท
โฆษะว. ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงสั่นในภาษาไทยได้แก่เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง ง น ม ย ร ล ว และเสียงสระทุกเสียง, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงก้องว่า พยัญชนะโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๓, ๔, ๕ ของวรรค และ ย ร ล ว ห ฬ.
ชะ ๒, ชะชะอ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น, ชะช้า หรือ ชัดช้า ก็ว่า.
ชะช้าอ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น, ชะ ชะชะ หรือ ชัดช้า ก็ว่า.
ชะต้าอ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือชอบใจ เช่น ชะต้าเขาเป็นหญิงยังทำได้ (ขุนช้างขุนแผน–แจ้ง), ใช้ว่า ฉะต้า ก็มี.
ชัดช้าอ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อเวลาโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น, ชะ ชะชะ หรือ ชะช้า ก็ว่า.
ชิ, ชิชะ, ชิชิอ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกโกรธหรือไม่ชอบใจเป็นต้น.
ไชโยอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความดีใจหรืออำนวยพรเป็นต้น.
ดูดู๋, ดูหรูอ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความโกรธ เช่น อีรจนาดูดู๋มึงช่างมักง่าย ทรลักษณ์อัปรีย์ไม่มีอาย หน่อกษัตริย์ทั้งหลายไม่เอื้อเฟื้อ (สังข์ทอง), ดูหรูอ้ายเจ้าเล่ห์ทำเสแสร้งพูดจานี่แอบแฝงเป็นแยบคาย (ม. ร่ายยาว ชูชก).
ดูรึอ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ เช่น ดูรึเห็นคนอื่นดีกว่าลูกเมีย.
ดูหรืออ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ เช่น ดูหรือมาเป็นไปได้.
ตายห่าอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความตกใจเป็นต้น (ใช้เป็นคำไม่สุภาพ).
ตายโหงอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความตกใจเป็นต้น (ใช้เป็นคำไม่สุภาพ).
โถ ๒อ. คำที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือเห็นอกเห็นใจเป็นต้น.
ทุดอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ ติเตียน หรือดูถูก.
ทุเรศ ๑ว. ลักษณะที่ขัดหูขัดตา น่ารังเกียจ หรือน่าสมเพช เป็นต้น, (ปาก) คำที่เปล่งออกมาแสดงการไม่ยอมรับหรือแสดงความรังเกียจ.
โธ่อ. คำที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือรำคาญใจเป็นต้น.
บ๊ะอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือประหลาดใจเป็นต้น, อุบ๊ะ ก็ว่า.
พยัญชนะ(พะยันชะนะ) น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, เสียงพยัญชนะ ก็เรียก
พยางค์(พะยาง) น. ส่วนของคำที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ เช่น กะ มี ๑ พยางค์ กระเป๋า มี ๒ พยางค์ พยากรณ์ มี ๓ พยางค์.
พุทโธ่อ. คำที่เปล่งออกมาด้วยความสงสารหรือรำคาญใจเป็นต้น.
เพี้ยงอ. คำที่เปล่งออกมาเมื่ออธิษฐานให้เป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง.
แม่เจ้าโว้ยอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความประหลาดใจ.
ยี้อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงอาการรังเกียจสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นต้น เช่น ยี้ ! เสื้อสกปรกอย่างนี้ยังจะเอามาให้อีก, อี๊ ก็ว่า.
แล้วกันว. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือผิดหวังเป็นต้น เช่น แล้วกันกินขนมหมดไม่เหลือไว้ให้เลย แล้วกัน ไปเมื่อไรก็ไม่บอก
วะ ๑อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงอารมณ์ผิดคาดหรือผิดหวังเป็นต้น, อุวะ ก็ว่า.
ว่าเข้านั่นเป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่แสดงว่าเรื่องที่อีกฝ่ายหนึ่งกล่าวนั้นไม่น่าเชื่อถือเป็นต้น.
ว่าแล้วเป็นคำที่เปล่งออกมาในลักษณะที่ได้เกิดเหตุการณ์ตรงตามที่ได้ว่าไว้ เช่น ฉันว่าแล้ว ไม่ผิดไปจากที่พูดเลย.
ว้า ๑อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกไม่พอใจหรือผิดจากที่คาดไว้เป็นต้น.
ว้ายอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงอาการตกใจหรือดีใจเป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง).
วุ้ยอ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกตกใจ เก้อเขิน หรือไม่พอใจ เป็นต้น (โดยมากเป็นเสียงผู้หญิง) เช่น วุ้ย น่ารำคาญ.
เว้ยอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสัยหรือไม่พอใจเป็นต้น เช่น เว้ย ! ไม่มีใครอยู่สักคนเลย, โว้ย ก็ว่า.
โว้ยอ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสัยหรือไม่พอใจเป็นต้น เช่น โว้ย ! ไม่มีใครอยู่สักคนเลย, เว้ย ก็ว่า.
สระ ๒(สะหฺระ) น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสำคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, เสียงสระ ก็เรียก
เสร็จกัน, เสร็จเลยคำที่เปล่งออกมาแสดงความผิดหวัง เช่น เสร็จกัน ยังไม่ทันได้ออกแสดง เสื้อผ้าก็เปื้อนหมดแล้ว เสร็จเลย ลืมเอากระเป๋าสตางค์มา.
เสียงพยัญชนะน. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, พยัญชนะ ก็เรียก.
เสียงสระน. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยอาศัยการเคลื่อนไหวของลิ้นและริมฝีปากเป็นสำคัญ แต่ไม่มีการสกัดกั้นจากอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งในปาก เช่น เสียง อะ อา โดยทั่วไปจะออกเสียงสระร่วมกับเสียงพยัญชนะ หรือออกเสียงเฉพาะเสียงสระอย่างเดียวก็ได้, สระ ก็เรียก.
เสียงหลงเสียงที่เปล่งออกมาผิดระดับทำให้เพลงที่ร้องมีเสียงเพี้ยน.
หน็อยแน่ว. คำที่เปล่งออกมาเมื่อไม่พอใจหรือผิดหวัง เช่น หน็อยแน่ ! ทำผิดแล้วยังจะอวดดีอีก.
หือ ๑อ. คำที่เปล่งออกมาเมื่อรู้สึกสงสัยเพื่อถามหรือเมื่อยังไม่ได้ยินหรือไม่เข้าใจ, (เป็นคำสำหรับผู้ใหญ่กว่าหรือเสมอกันใช้).
หื้อ ๑อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความรับรู้.
เหม่, เหม่ ๆ(เหฺม่) อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความโกรธเพื่อขู่หรือตวาด, อุเหม่ ก็ว่า.
แหม ๒(แหฺม) ว. เสียงที่เปล่งออกมาให้รู้สึกว่าเป็นการแปลกเป็นต้น.
โห่อ. เสียงที่เปล่งออกมาดังเช่นนั้น เป็นเสียงนำเพื่อแสดงความพร้อมเพรียงในการรื่นเริงหรือการมงคลเป็นต้น.
อกครากว. คำที่กล่าวเปล่งออกมาหมายความว่า หนักเหลือเกิน, เดือดร้อนเหลือเกิน.
อกจะแตกอ. คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น อุ๊ย ! อกจะแตก, อกแตก ก็ว่า.
อกแตกอ. คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง) เช่น อุ๊ย ! อกแตก, อกจะแตก ก็ว่า.
อกอีปุกแตก, อกอีแป้นแตกอ. คำพูดที่เปล่งออกมาเมื่อตกใจเป็นต้น (ใช้แก่ผู้หญิง).
อโฆษะว. ไม่ก้อง, เสียงสระหรือพยัญชนะซึ่งขณะที่เปล่งออกมาเส้นเสียงไม่สั่น ในภาษาไทยได้แก่เสียง อ เมื่อเป็นพยัญชนะต้น เสียง บ ด เมื่อเป็นพยัญชนะสะกด และเสียง ก ค จ ช ซ ต ท ป พ ฟ ฮ เสียงสระในภาษาไทยไม่เป็นอโฆษะ, (ไว) เรียกพยัญชนะในภาษาบาลีและสันสกฤตที่มีเสียงไม่ก้อง ว่า พยัญชนะอโฆษะ ได้แก่ พยัญชนะตัวที่ ๑, ๒ ของวรรค และ ศ ษ ส.
อนิจจัง ๒, อนิจจา(อะนิด-) อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความสงสารสังเวชเป็นต้น.

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Scintillationแสงวับ, แสงที่เปล่งออกมาอย่างรวดเร็ว เมื่อรังสีชนิดก่อไอออนทำอันตรกิริยากับวัสดุบางชนิด เช่น รังสีแกมมากระทำต่อผลึกโซเดียมไอโอไดด์ [นิวเคลียร์]

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
articulation(n) เสียงที่เปล่งออกมา
Down the hatch!(idm) คำเปล่งออกมาเวลาเมา
emit from(phrv) (ความร้อน, แสง, กลิ่น, เสียง) แผ่ออกมาจาก, See also: กระจายจาก, ฉายมาจาก, เปล่งออกมาจาก
segmental(adj) เกี่ยวกับเสียงพูด, See also: เกี่ยวกับเสียงที่เปล่งออกมา
send(vt) ปล่อยออก, See also: เปล่งออกมา, ขับออก, Syn. fling, hurl, propel
vocal(n) เสียงที่เปล่งออกมา

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
glow(โกล) n., vi. (เปล่ง) แสงที่เปล่งออกมา, แสงเรือง, ความแดงเรื่อ, สีเลือด, ความสดใสของสี, ความเร่าร้อน, Syn. gleam, colour, burn

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit


Are you satisfied with the result?



Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top