ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แตกฉาน, -แตกฉาน- |
แตกฉาน | (v) be proficient in, See also: sharpen, be expert at/in, be dexterous, be masterful, Syn. เชี่ยวชาญ, เข้าใจแจ่มแจ้ง, ชำนาญ, ชำนิชำนาญ, Example: เราจะต้องฝึกฝนตนเองให้แตกฉานและแม่นยำชำนาญ ทั้งในวิชาความรู้และวิธีสอน เพื่อสามารถสั่งสอนได้อย่างกระจ่าง | แตกฉาน | (v) be scattered, See also: be dispersed, Syn. กระจัดกระจาย, แตกฉานซ่านเซ็น, Ant. รวมกลุ่ม, Example: ชิ้นส่วนของเครื่องบินแตกฉานไปทั่วบริเวณป่า | แตกฉาน | (adv) fluently, Syn. เชี่ยวชาญ, เข้าใจแจ่มแจ้ง, ชำนาญ, ชำนิชำนาญ, Example: เมื่อพระยาอนุมานราชธนสามารถอ่านภาษาไทยได้อย่างแตกฉาน ท่านได้รับจ้างอ่านหนังสือประโลมโลกให้พวกผู้ใหญ่ฟัง | แตกฉานซ่านเซ็น | (v) be separated, See also: be scattered, be dispersed, Syn. แตกฉาน, กระจัดกระจาย, Ant. รวมกลุ่ม, Example: เพื่อนฝูงของเราแตกฉานซ่านเซ็นกันไปคนละทาง |
|
| แตกฉาน ๑ | ว. ชำนิชำนาญ, เชี่ยวชาญ, เช่น มีความรู้แตกฉาน. | แตกฉาน ๒, แตกฉานซ่านเซ็น | ก. กระจัดกระจายไป. | กระจัดกระจาย | ว. เรี่ยรายไป, แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน. | กระจัดพลัดพราย | ก. แตกฉานซ่านเซ็นไป, ไม่รวมอยู่ในพวกเดียวกัน. | ฉาน ๓ | ก. แตก, กระจาย, ซ่าน, เช่น แตกฉานซ่านเซ็น. | ฉาน ๓ | ว. มีแสงกล้า, มีแสงพุ่งออกไป, สว่าง, กระจ่างแจ้ง, จ้า, เช่น แสงฉาน ปัญญาแตกฉาน | ซ่านเซ็น | ก. กระจัดกระจาย, มักใช้เข้าคู่กับคำ แตกฉาน เป็น แตกฉานซ่านเซ็น. | ธรรมปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | นิรุตติปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | ปฏิภาณปฏิสัมภิทา | (ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | ปฏิสัมภิทา | น. ความแตกฉาน, ปัญญาอันแตกฉาน, มี ๔ อย่าง คือ อรรถปฏิสัมภิทา ธรรมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. | เปรื่อง | (เปฺรื่อง) ก. เชี่ยวชาญ, ปรุโปร่ง, แตกฉาน, เช่น ปัญญาเปรื่อง สมองเปรื่อง. | เรือง, เรือง ๆ | แตกฉาน เช่น เรืองปัญญา | อรรถปฏิสัมภิทา | (อัดถะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในอรรถ คือ ความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไปจากเหตุ, ความเข้าใจอธิบายอรรถแห่งภาษิตย่อให้พิสดาร, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
| | | | schism | (ชิส'ซีม) n. การแตกแยก, การแตกความสามัคคี, การแตกร้าว, การแตกฉาน, ส่วนที่แตกแยกออกมา, See also: schismatic adj., Syn. division |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |