ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ไทร, -ไทร- |
T4 | (n) ฮอร์โมนไทรอยด์ ในกระแสเลือด |
|
| ไทร | (n) banyan, See also: Ficus bengalensis (Moraceae), Syn. ต้นไทร, Thai Definition: ชื่อไม้ต้นในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae มีหลายชนิด เช่น ไทรย้อย (F. benjamina Linn.) ไทรย้อย ใบทู่ หรือ ไฮฮี (F. microcarpa Linn. f.) | ต้นไทร | (n) banyan tree, Syn. ไทร, Example: ต้นไทรแผ่กิ่งก้านสาขาออกไปเป็นระยะกว่าห้าสิบเมตร, Count Unit: ต้น, Thai Definition: ชื่อไม้ต้นวงศ์ Moraceae มีหลายชนิด มีรากห้อยย้อยลงมาจากกิ่งก้าน | ไทรทอง | (n) banyan, See also: kind of banyan tree | ไทรอยด์ | (n) thyroid, Syn. ต่อมไทรอยด์, Thai Definition: ์ต่อมไร้ท่อ มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนไทรอยด์ไปสู่กระแสเลือดโดยใช้สารไอโอดีนเป็นวัตถุดิบที่สำคัญ, Notes: (อังกฤษ) | ดอกไม้ไทร | (n) tune for Thai orchestra, Count Unit: ทำนอง, Thai Definition: ชื่อเพลงปี่พาทย์ทำนองหนึ่ง | ต่อมไทรอยด์ | (n) thyroid gland, Example: ผลการวิจัยพบว่า คนอ้วนเป็นมะเร็งที่เต้านม ต่อมไทรอยด์ ถุงน้ำดี รังไข่ และมดลูกมากกว่าคนผอม | ร่มโพธิ์ร่มไทร | (n) protector, See also: guardian, Syn. ร่มเกล้า, ร่มเกศ, Thai Definition: ผู้ที่ป้องกันความเดือดร้อน |
| ดอกไม้ไทร | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ | ดอกไม้ไทร | ชื่อเพลงไทยประเภทเพลงเถา. | ไทร | (ไซ) น. ชื่อไม้ต้นในสกุล Ficusวงศ์ Moraceae มีหลายชนิด เช่น ไทรย้อยหรือไทรย้อยใบแหลม ( F. benjaminaL.) ไทรย้อยใบทู่หรือไฮฮี ( F. microcarpa L.f.). | ไทรทอง | ดู กร่าง ๒. | ไทรนก | ดู มะเดื่อดิน (๑). | ไทรเลียบ | ดู ไกร ๑. | ร่มโพธิ์ร่มไทร | น. ที่พึ่ง, ผู้ที่ให้ความคุ้มครองและความอบอุ่นใจ, เช่น พ่อแม่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก. | กระพาก | น. ปลาตะพาก. (ประพาสไทรโยค). (ดู ตะพาก). | กระหยะ | น. ขยะ เช่น หนึ่งนิทไทรในราษตรี บมิหลับดั่งมี กระหยะแลผงเลือดไร (อภิไธยโพธิบาทว์). | กร่าง ๒ | (กฺร่าง) น. ชื่อไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ชนิด Ficus altissima Blume ในวงศ์ Moraceae เปลือกเรียบสีเทา ใบกว้างหนารูปไข่ ปลายมน ไม่มีขน ผลกลม เมื่อสุกสีส้มออกแดง, ลุง ฮ่างหลวง หรือ ไทรทอง ก็เรียก. | ไกร ๑ | (ไกฺร) น. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae ลักษณะคล้ายต้นไทร มี ๒ ชนิด คือ ชนิด F. concinna (Miq.) Miq. เปลือกสีเทาค่อนข้างเรียบ ใบเล็ก ช่อดอกรูปคล้ายผล ออกเป็นคู่ตามง่ามใบ ผลสีชมพู มีกระสีจาง ๆ, ไฮฮี ก็เรียก และชนิด F. superba (Miq.) Miq. เปลือกสีเทาเรียบ ใบใหญ่ ช่อดอกคล้ายชนิดแรก ผลสีชมพู, ไทรเลียบ ก็เรียก. | เขมร ๒ | (ขะเหฺมน) น. คำนำหน้าชื่อเพลงไทยสำเนียงเขมร เช่น เขมรไทรโยค เขมรโพธิสัตว์ เขมรลออองค์. | คอพอก | น. ชื่อโรคต่อมไทรอยด์โต ส่วนใหญ่เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน, คอหอยพอก ก็ว่า. | ชระเอม | (ชะระ-) ว. ร่มเย็น เช่น ดั่งฤๅดั่งไทรชระเอมชรอื้อ (ม. คำหลวง ชูชก). | ดุริยางค์จำเรียง | น. ชื่อกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๙ คำ ในแต่ละวรรคให้มีคำซ้ำ ๓ คู่ ในแต่ละคู่มีคำอื่นมาคั่นตำแหน่งละ ๑ คำ เช่น หวั่นหวั่นจิตรคิดคิดไปใจใจหวล อ่อนอ่อนท้อรอรอรวนนวลนวลสมร ท้าวท้าวแนบแอบแอบน้องย่องย่องจร เหนื่อยเหนื่อยนอนขอนขอนไม้ใต้ใต้ไทร (กลบลศิริวิบุลกิตติ์). | ตรีธารทิพย์ | น. พิกัดตัวยาประเภทหนึ่งในตำรายาไทย จำกัดจำนวนตัวยาอันมีรสดังน้ำทิพย์ ๓ อย่าง คือ รากไทรย้อย รากราชพฤกษ์ รากมะขามเทศ. | ตามเสด็จ | ติดตามพระมหากษัตริย์ ซึ่งผู้ติดตามเป็นพระบรมวงศานุวงศ์หรือสามัญชน, ใช้ว่า โดยเสด็จ ก็มี เช่น พระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชการตามเสด็จไปในกระบวนเสด็จพระราชดำเนินยังไทรโยค. | ตีทอง | น. ชื่อนกขนาดเล็กชนิด Megalaima haemacephala (Müller) ในวงศ์ Megalaimidae เป็นนกโพระดกที่เล็กที่สุด ตัวสีเขียว คอสีเหลือง อกสีแดง หน้าผากสีแดง วงรอบเบ้าตาสีเหลือง ทำรังในโพรงไม้ กินผลไม้ขนาดเล็ก เช่น ลูกไทร ลูกหว้า มักเกาะตามกิ่งไม้แห้งในที่สูง ๆ ร้องเสียง “ต้อง ๆ ” เป็นจังหวะสมํ่าเสมอ. | เต้า ๒ | น. นม เช่น แสงสอดลอดในพระไทรพราย เดือนบ่ายต้องเต้าเจ้าวันทอง (ขุนช้างขุนแผน), บัวตูมติดขั้วบังใบ บังใบท้าวไท ว่าเต้าสุดาดวงมาลย์ (อนิรุทธ์) | ทีเอ็นที | น. สารประกอบอินทรีย์ ชื่อเต็มคือ ไทรไนโทรโทลูอีน (trinitrotoluene) มีสูตร C7H5(NO2)3 ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกสีเหลืองอ่อน หลอมละลายที่ ๘๒˚ซ. เป็นวัตถุระเบิดชนิดร้ายแรง. | นิโครธ | (-โคฺรด) น. ต้นไทร. | บำบวง | ก. บนบาน, เซ่นสรวง, บูชา, เช่น สนธยากรภุมบุษ ปบังคมบำบวงสรณ พระไทรบริมณ ฑลเทพยสิงศักดิ์ (อนิรุทธ์). | ผกเรือก | น. ต้นไทร. | มะเดื่อดิน | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Ficus chartacea Wall. ex King var. torulosa Wall. ex King ในวงศ์ Moraceae ใบออกสลับกัน ผลออกที่โคนต้นใกล้รากลักษณะคล้ายผลมะเดื่อ, ไทรนก ก็เรียก. | ย้อย | ก. ห้อยเป็นทางลงมา เช่น รากไทรย้อยลงมา พวงมะไฟห้อยย้อย, ห้อยลงมา เช่น รวงผึ้งย้อยลงมา ผมย้อยลงปรกหน้า, ไหลเป็นทางยืดลงมา เช่น น้ำมูกย้อย น้ำตาลย้อย, หยาดห้อยลงมาจวนจะหยด เช่น น้ำหมากย้อย น้ำตาย้อย | ย่าน ๒ | น. เครือเถา เช่น ย่านวันยอ ย่านลิเภา, เรียกรากไทรที่ห้อยย้อยลงมา ว่า ย่านไทร. | ราชินี ๒ | น. ชื่อปูน้ำจืดชนิด Thaiphusa sirikit (Naiyanetr) ในวงศ์ Potamidae กระดองสีม่วงอมน้ำเงิน ขอบกระดองและขาก้ามสีขาว ขาสีแดง อาศัยอยู่ตามลำห้วย พบที่อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี, ปูสามสี หรือ ปูไตรรงค์ ก็เรียก. | เลียบ ๑ | น. ชื่อไม้ต้นประเภทไทรพัน ชนิด Ficus superba (Miq.) Miq. var. japonica Miq. ในวงศ์ Moraceae คล้ายต้นกร่าง ใบและผลอ่อนกินได้. | วฏะ | (วะ-) น. ไม้ไทร. | วนัสบดี | (วะนัดสะบอดี) น. ไม้ใหญ่, พญาไม้, (ในภาษาสันสกฤตหมายเฉพาะต้นไทรและต้นมะเดื่อชุมพร). | สะดุดหู | ก. กระทบหูชวนให้อยากฟัง หรือรู้สึกเคลือบแคลงใจเป็นต้น เช่น ได้ยินเสียงเพลงเขมรไทรโยค รู้สึกสะดุดหูทำให้นึกถึงความหลัง ได้ยินเสียงคนพาลพูดแขวะ รู้สึกสะดุดหูทันที. | โอบ | ก. เอาแขนอ้อมไว้ เช่น โอบไหล่, เอาแขนทั้ง ๒ อ้อมไว้ เช่น โอบต้นไม้ โอบกอด, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น รากไทรโอบรอบเจดีย์เก่า | ไอโอดีน | น. ธาตุลำดับที่ ๕๓ สัญลักษณ์ I เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเทาดำเป็นเงาวาว หลอมละลายที่ ๑๑๔ ํซ. เมื่อระเหิดเป็นไอให้ไอสีม่วง เป็นธาตุสำคัญมากสำหรับต่อมไทรอยด์ หากขาดธาตุนี้จะทำให้เป็นโรคคอพอก. | ไฮฮี | ดู ไกร ๑ และ ไทร. |
| | Acetonitrile | อะซิโตไนไทรล์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Committed dose | ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต [นิวเคลียร์] | Triton | ไทรทอน, นิวเคลียสของอะตอมทริเทียม ประกอบด้วยโปรตอน 1 อนุภาค และนิวตรอน 2 อนุภาค [นิวเคลียร์] | Scintillator | ตัวเปล่งแสงวับ, วัสดุโปร่งแสง ทั้งของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ซึ่งเปล่งแสงวับเมื่อทำอันตรกิริยากับรังสีชนิดก่อไอออน เช่น ผลึกโซเดียมไอโอไดด์ ส่วนผสมของไทรเอทิลเบนซีนกับเทอร์เฟนิล แก๊สซีนอน [นิวเคลียร์] | Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceutics | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiopharmaceuticals | สารเภสัชรังสี, เภสัชภัณฑ์รังสี, ผลิตภัณฑ์ยาที่อยู่ในรูปของสารประกอบหรือสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสารกัมมันตรังสีเกาะอยู่ในโมเลกุล ซึ่งผลิตขึ้นตามมาตรฐานสากลเภสัชรังสี ใช้ตรวจวินิจฉัยหรือบำบัดรักษา การให้สารเภสัชรังสีแก่ผู้ป่วยกระทำโดยการฉีดหรือกิน เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วสารเภสัชรังสีดังกล่าวจะไปกระจายตัวอยู่ในอวัยวะที่ต้องการตรวจหรือรักษา (target organ) โดยแสดงพยาธิสภาพตามความผิดปกติที่เกิดขึ้นในอวัยวะนั้นๆ สารเภสัชรังสีที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น <br><sup>99m</sup>Tc-MDP ใช้ตรวจกระดูก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAA ใช้ตรวจปอด</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MIBI ใช้ตรวจกล้ามเนื้อหัวใจ, tumor ทรวงอก</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DISIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-BROMIDA ใช้ตรวจตับและระบบท่อน้ำดี</br> <br><sup>99m</sup>Tc-HMPAO ใช้ตรวจสมอง</br> <br><sup>99m</sup>Tc-DTPA ใช้ตรวจสมองและไต</br> <br><sup>99m</sup>Tc-MAG3 ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-Hippuran ใช้ตรวจไต</br> <br><sup>131</sup>I-MIBG ใช้ตรวจต่อมหมวกไต</br> <br>Na13<sup>1</sup>I ใช้ตรวจและรักษาโรคไทรอยด์</br> <br><sup>153</sup>Sm-EDTMP ใช้บรรเทาความเจ็บปวดของผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งกระดูก [นิวเคลียร์] | Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] | Congenital hypothyroidism | ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด [TU Subject Heading] | Hyperparathyroidism | ภาวะฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์สูง [TU Subject Heading] | Hyperthyroidism | ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานเกิน [TU Subject Heading] | Hypothyroidism | ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน [TU Subject Heading] | Immunoglobulins, Thyroid-stimulating | อิมมูโนโกลบุลินชนิดกระตุ้นต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Parathyroid diseases | โรคต่อมพาราไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Parathyroid glands | ต่อมพาราไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Parathyroid hormone | ฮอร์โมนต่อมพาราไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Parathyroid hormone-related protein | โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับต่อมพาราไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Parathyroidectomy | การตัดต่อมพาราไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Thyroid diseases | โรคต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Thyroid gland | ต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Thyroid hormones | ไทรอยด์ฮอร์โมน [TU Subject Heading] | Thyroid neoplasms | เนื้องอกต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Thyroid nodule | ก้อนเล็กของต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Thyroidectomy | ศัลยกรรมต่อมไทรอยด์ [TU Subject Heading] | Trichinosis | ไทรคิโนซิส [TU Subject Heading] | Trichloroethane | ไทรคลอโรอีเธน [TU Subject Heading] | Trichloroethylene | ไทรคลอโรเอทิลีน [TU Subject Heading] | Trichlorophenoxyacetic acid | กรดไทรคลอโรฟีนอกซีอะซีติก [TU Subject Heading] | Trichothecenes | ไทรโคเทคซีนส์ [TU Subject Heading] | Trigeminal neuralgia | อาการปวดประสาทไทรเจมินัล [TU Subject Heading] | Triglycerides | ไทรกลีเซอไรด์ [TU Subject Heading] | Trimethoprium | ไทรเมโธปริม [TU Subject Heading] | Buna N | ยางไนไทรล์ เป็นโคโพลิเมอร์ของบิวทาไดอีนและอะคริโลไนไทรล์ มีชื่อทางการค้าหลายอย่าง เช่น Hycar, Paracil (ดู Nitrile) [เทคโนโลยียาง] | Coupling agent | สารเติมแต่งที่ทำหน้าที่เพิ่มอันตรกิริยา (เกิดการเชื่อมโยง) ระหว่างยางกับสารเสริมแรงประเภทซิลิกาให้มีแรงยึดเหนี่ยวเพิ่มสูงขึ้น โดยหมู่อัลคอกซีบนสารคู่ควบจะทำปฏิกิริยาเคมีกับหมู่ไซลานอลที่อยู่บนพื้น ผิวของซิลิกาเกิดเป็นพันธะไซลอกเซนที่เสถียร ทำให้หมู่ไซลานอลลดลง อันตรกิริยาระหว่างอนุภาคของซิลิกาจึงลดลงด้วย ตัวอย่างของสารคู่ควบ ได้แก่ ไทรเอทอกซีไซลีลโพรพีลเททระซัลไฟด์ (Si-69) เมอร์แคปโตโพรพีลไทรเมทอกซีไซเลน (A-189) ไทโอไซยาเนโตโพรพีลไทเอทอกซีไซเลน (Si-264) เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Epoxidised or Epoxidized natural rubber | ยางธรรมชาติอิพ็อกซิไดซ์เป็นยางที่ได้จากการเติมออกซิเจนเข้าไปใน โมเลกุลของยางตรงบริเวณพันธะคู่เกิดเป็นวงแหวนอิพ็อกไซด์โดยผ่านปฏิกิริยาอิ พ็อกซิเดชัน (Epoxidation) โดยมีระดับของการเกิดอิพ็อกซิเดชันตั้งแต่ร้อยละ 10-50 ยาง ENR ที่ได้จึงมีความเป็นขั้วสูงกว่ายางธรรมชาติทั่วไป ทำให้ทนต่อความร้อนและน้ำมันได้ดีขึ้น โดยยาง ENR เกรดที่มีระดับอิพ็อกซิเดชันสูงถึงร้อยละ 50 จะมีความเป็นขั้วสูงเทียบเท่ากับยาง NBR ที่มีปริมาณอะไครโลไนไทรล์ปานกลาง นอกจากนี้ยังพบว่ายาง ENR ที่เสริมแรงด้วยซิลิกาจะมีสมบัติคล้ายกับยางธรรมชาติที่เสริมแรงด้วยเขม่าดำ อีกด้วย การเตรียมยาง ENR นี้สามารถเตรียมได้ทั้งในรูปของน้ำยางและยางแห้ง [เทคโนโลยียาง] | Hydrogenated acrylonitrile-butadiene rubber | ยางไฮโดรจิเนตอะไครโลไนไทรล์บิวทาไดอีน หรือยาง HNBR เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งได้จากการเกิดปฏิกิริยาไฮโดรจิเนชัน (Hydrogenation) ของยาง NBR สมบัติของยาง HNBR มีความทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน รังสีที่มีพลังงานสูง และโอโซนสูงมาก ใกล้เคียงกับยาง EPDM และเนื่องจากมี CN อยู่ในโมเลกุลทำให้ยางชนิดนี้ทนต่อน้ำมันได้ดี ยาง HNBR มีสมบัติทั่วไปอยู่ระหว่างยาง NBR และยางฟลูออโรคาร์บอน เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูง จึงนิยมใช้ยาง HNBR แทนยาง NBR เฉพาะกรณีที่ต้องการใช้งานในสภาวะที่รุนแรงหรือที่อุณหภูมิสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยางชนิดนี้ยังมีข้อดีเหนือกว่ายางฟลูออโรคาร์บอน คือ มีความทนทานต่อสารตัวเติมที่มีฤทธิ์เป็นด่าง เช่น สารประกอบเอมีน ได้ดี จึงนิยมใช้ในการผลิตชิ้นส่วนยางที่ใช้ในแท่นขุดเจาะน้ำมัน [เทคโนโลยียาง] | Nitrile rubber or Acrylonitrile butadiene | ยางไนไทรล์เป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งเป็นโคพอลิเมอร์ของอะไค รโลไนไทรล์และบิวทาไดอีน ประกอบด้วยอะไครโลไนไทรล์ตั้งแต่ร้อยละ 18-51 ซึ่งขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์การใช้งาน ยางไนไทรล์เป็นยางที่มีความเป็นขั้วสูงมีสมบัติเด่น คือ ทนต่อน้ำมันปิโตรเลียมและตัวทำละลายที่ไม่มีขั้วต่างๆ ได้ดี นอกจากนี้ยังทนต่อความร้อนและต้านทานต่อการขัดถูได้ดี จึงนิยมนำไปผลิตผลิตภัณฑ์ที่ต้องสัมผัสกับน้ำมัน เช่น ปะเก็นน้ำมัน ยางโอริง ยางซีล ยางเชื่อมข้อต่อ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Synthetic rubber | ยางที่ผลิตขึ้นใข้แทนยางธรรมชาติ โดยสังเคราะห์จากน้ำมันปิโตรเลียม มีสมบัติคล้ายยางธรรมชาติ นอกจากนี้ยังรวมถึงยางชนิดต่างๆ ที่สังเคราะห์ได้จากปฏิกิริยาเคมีอีกด้วย เช่น ยางสไตรีนบิวทาไดอีน ยางไนไทรล์ เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] | Adenosine Triphosphate | กรดอดีนีลลิคอยู่ในลักษณะไตรฟอสเฟท, อาดีโนซีนไตรฟอสเฟส, แอดีโนซีนไตรฟอสเฟต, อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต, อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต, อดิโนสินไตรฟอสเฟต, การแปรสภาพของสารพลังงาน, อะดิโนซินไทรฟอสเฟท [การแพทย์] | Adenosine Triphosphate | อะดีโนซีน ไทรฟอสเฟต; อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต, สาร; เอดีโนซีน ไทรฟอสเฟท [การแพทย์] | Antidepressive Agents, Tricyclic | ยาแก้เศร้าไทรไซคลิก [การแพทย์] | Antithyroid Drugs | ยารักษาโรคคอพอกเป็นพิษ, ยารักษาโรคไทรอยด์, ยารักษาโรคคอหอยพอกเป็นพิษ, ยาต้านธัยรอยด์ [การแพทย์] | Antithyroids | สารต่อต้านธัยรอยด์, แอนตีไทรอยด์ [การแพทย์] | Athyrosis | ไม่มีต่อมไทรอยด์ [การแพทย์] | Beta-Aminoproprionitrite | เบต้า-อะมิโนโพรพริโอไนไทรท์ [การแพทย์] | Bugs, Triatiomid | เรือดไทรอาโทมิด [การแพทย์] | Charcot's Triad | อาการปวดที่ท้องบนด้านขวา, ไทรแอดของชาร์โคต์ [การแพทย์] | Chlorotrianisene | คลอโรไทรอานิซีน;คลอโรไทรอานิซีน, สาร [การแพทย์] | Cholestyramine | โคเลสไทรามีน, ยา;โคเลสติย์รามีน;โคเลสทายรามิน [การแพทย์] | Cytidine Triphosphate | ไซติดีนไตรฟอสเฟต, ซัยทิดีนไทรฟอสเฟต [การแพทย์] |
| | | accipitrine | (แอคซิพ' พิทริน -ไทรน์) adj. ซึ่งเกี่ยวกับนกจำพวกเหยี่ยว, ซึ่งคล้ายเหยี่ยว., Syn. accipitral | amphitrite | (แอมพิไทร' ที) n. เทพเจ้ามหาสมุทรของกรีก (Greek sea goddess) | astride | (แอสไทรดฺ') adv., prep. คร่อม (ม้า, เก้าอี้) บนสองข้างของ, เท้าทั้งสองเหยียดห่างออกจากกัน | attrited | (อะไทร'ทิด) adj. สึกกร่อน | banyan | (แบน'เยิน) n. ต้นไทร | bestride | (บิสไทรดฺ') { bestrode, bestridden/bestrid } vt. ขี่, คร่อม, ข้าม, ยืนอยู่เหนือ, ควบคุม, Syn. strude | cicatrise | (ซิค'คะไทรซ) { cicatrised, cicatriszed, cicatrising, cicatriszing, cicatrises, cicatriszes } vt., vi. รักษาโดยการทำให้เกิดแผลเป็น., See also: cicatrisant adj. ดูcicatrise cicatrizant adj. ดูcicatrise cicatrisation n. ดูcicatrise cicatriszation n. | cicatrisze | (ซิค'คะไทรซ) { cicatrised, cicatriszed, cicatrising, cicatriszing, cicatrises, cicatriszes } vt., vi. รักษาโดยการทำให้เกิดแผลเป็น., See also: cicatrisant adj. ดูcicatrise cicatrizant adj. ดูcicatrise cicatrisation n. ดูcicatrise cicatriszation n. | contrite | (คันไทรท', คอน'ไทรทฺ) adj. ซึ่งสำนึกผิด, ด้วยความเสียใจ., See also: contriteness n. ดูcontrite | contrivance | (คันไทร'เวินซฺ) n. สิ่งประดิษฐ์, โครงการ, อุบาย, เพทุบาย, การประดิษฐ์, การออกอุบาย, การออกแบบ, Syn. mechanism | contrive | (คันไทรฟว') { contrived, contriving, contrives } vt. ประดิษฐ์, วางแผน, ออกอุบาย, ทำให้เกิดขึ้นโดยอุบายหรือสิ่งประดิษฐ์., See also: contrivable adj. ดูcontrive contriver n. ดูcontrive | contrived | (คันไทรฟวดฺ') adj. ซึ่งวางแผนไว้, ซึ่งออกอุบายไว้, ซึ่งประดิษฐ์ขึ้น | diatribe | (ได'อะไทรบ) n. การด่าอย่างรุนแรง | gastritis | (แกรสไทร'ทิส) n. กระเพาะอาหารอักเสบ (โดยเยื่อบุผิวกระเพาะอาหาร) | nitrite | (ไน'ไทรท) n. เกลือหรือเอสเตอร์ของnitrous acid | re-try | (รีไทร') vt. ทดลองใหม่, ทดสอบใหม่ | refuge | (เรฟ'ฟิวจฺ) n. ที่หลบภัย, ที่ปลอดภัย, ที่พึ่ง, ร่มโพธิ์ร่มไทร vt. ให้ที่หลบภัยแก่. vi. หลบภัย, ลี้ภัย | retry | (รีไทร') vt. ทดลองใหม่, ทดสอบใหม่ | stria | (สไทร'อะ) n. ริ้ว, แถบ, แคบ, เส้น, ร่อง, ลายเส้นขนาน, ร่องเสียดสี, ร่องหิน, ร่องเสา pl. striae, Syn. narrow furrow, ridge, strix | stride | (สไทรดฺ) { strode, stridden/strid, striding, strides } vt., vi., n. (การ) เดินก้าวยาว, ก้านยาว, เดินจังหวะยาว, เดินกางขา, ช่วงก้าวยาว, จังหวะก้าวยาว, กางเกง, ทางเดินปกติ, การก้าวหน้า, See also: strider n. stridingly adv., Syn. step, pa | strident | (สไทร'เดินทฺ) adj. เสียงพร่า, เสียงจิ้ง-หรีด, เสียงห้าว, กร้าน., See also: stridence n. stridency n., Syn. shrill | strife | (สไทรฟฺ) n. ความขัดแย้งอย่างรุนแรง, การต่อสู้กัน, การปะทะกัน, การดิ้นรน, การทะเลาะวิวาท, ความสับสนอลหม่าน, ความพยายามเต็มที่, การแข่งขัน, See also: strifeful adj., Syn. discord, conflict-A. peace, concord | strike | (สไทรคฺ) { struck, struck/stricken, striking, strikes } vt., vi. ตี, ตอก, ทุบ, ต่อย, ชก, ปะทะ, พุ่ง, โจมตี, จู่โจม, เคาะ, โขก, เขก, ชน, ขูด, ขีด (ไม้ขีดไฟ) , ตีกรรเชียง, พิมพ์, ประทับตรา, ทำเหรียญ, กด, อัด, เจาะพบ (น้ำมัน) จับ, ก่อ, ประสบ, ตกลง, ตบมือเป็นสัญญาณ, ยกเลิก, รื้อ, ถอน, ประทับใจ | stripe | (สไทรพฺ) n. ริ้ว, ผ้าริ้ว, ลายยาว, ลาย, แถบ, ชนิด, บั้ง, แถบยศ, เสื้อลายขวางของนักโทษ, การตี, การเฆี่ยน, การโบย, การหวด, รอย (เฆี่ยน, โบย, หวด) | striped | (สไทรพดฺ, สไทร'พิด) adj. เป็นริ้ว, เป็นลายยาว, มีแถบ, เมาเหล้า | stripy | (สไทร'พี) adj. มีริ้ว, มีลายยาว, มีแถบ | strive | (สไทรฟว) { strove/strived, striven/strived, striving, strives } vi. พยายามหนัก, มุ่งมั่น, ฝ่าฟัน, ดิ้นรน, ต่อสู้, แข่งขัน., See also: striver n. strivingly adv., Syn. apply, try, attempt | triable | (ไทร'อะเบิล) adj. พิจารณาคดีได้, ฟ้องร้องได้, ทดสอบได้, ทดลองได้, See also: triableness n. | triad | (ไทร'แอด) n. กลุ่มที่มี 3 (คน, อัน, ชิ้น...) คณะสาม, See also: triadic adj. triadism n. | trial | (ไทร'เอิล) n. การทดลอง, การสอบสวน, การซ้อม, การทรมาน, ความเจ็บปวด, ความยากลำบาก, บุคคลที่ลำบากลำบน, เรื่องที่ยากลำบาก adj. เกี่ยวกับการทดสอบ, เป็นตัวอย่าง, Syn. experiment, tryout, ordeal, test | triangle | (ไทร'แองเกิล) n. สามเหลี่ยม, See also: triangled adj. | triangular | (ไทรแอง'กิวละ) adj. สามเหลี่ยม, สามมุม, See also: triangularityn., Syn. three-cornered | tribal | (ไทร'เบิล) adj. เกี่ยวกับเผ่า, เกี่ยวกับเผ่าพันธุ์., See also: tribally adv. | tribesman | (ไทรบซ'เมิน) n., (pl. tribesmen) สมาชิกของเผ่า, ชนเผ่า | tribunal | (ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี | trice | (ไทรซฺ) n. ระยะเวลาที่สั้นมาก, ชั่วขณะ, ชั่วประเดี๋ยว, Syn. instant | triceps | (ไทร'เซพซฺ) n. กล้ามเนื้อสามหัว (เช่น กล้ามเนื้อที่ด้านหลังของแขนบน) pl. tricepses, triceps | tricolor | (ไทร'คัลเลอะ) adj. มีสามสี. n. ธงที่มีสามสี | tricolour | (ไทร'คัลเลอะ) adj. มีสามสี. n. ธงที่มีสามสี | trident | (ไทร'เดินทฺ) n. อาวุธสามง่าม, ตรีศูล adj. มีสามง่าม | tried | (ไทรดฺ) adj. ผ่านการทดสอบว่าดีแล้ว, ไว้ใจได้, เชื่อถือได้ | trier | (ไทร'เออะ) n. ผู้ทดสอบ, สิ่งทดสอบ | trifle | (ไทร'เฟิล) n. เรื่องขี้ปะติ๋ว, เรื่องไม่สำคัญ, เรื่องจุกจิก, สิ่งปลีกย่อย, ข้อที่ไม่สำคัญ. vi. ล้อ, ล้อเล่น, หยอกล้อ, เสียเวลา, See also: trifler n., Syn. fool with, play, triviality, toy | trifling | (ไทร'ฟลิง) adj., n. (การ, ความ) ขี้ปะติ๋ว, ไม่สำคัญ, เล็กน้อย, กระจอก, มีค่าเล็กน้อย, เหลาะแหละ, เสียเวลา, See also: triflingly adv. triflingness n., Syn. insignificant, minor, meager | trilobite | (ไทร'ละไบทฺ) n. แมลงทะเล ที่สูญพันธุ์ไปแล้วสมัยดึกดำบรรพ์ มีร่างแบนเป็นวงรี, See also: trilobitic adj. | trilocular | (ไทรลอค'คิวละ) adj. มีสามเซลล์, มีสามห้อง | trimester | (ไทรเมส'เทอะ) ระยะเวลา3เดือน, ภาคละ3เดือน, หนึ่งใน3ภาค, See also: trimestral, trimestrial adj. | triparted | (ไทรพาร์'ทิด) adj. แบ่งออกเป็น3ส่วน., Syn. tripart | tripartite | (ไทรพาร์'ไททฺ) adj. แบ่งออกเป็น3ส่วน, แบ่งออกเป็น3แฉก, ประกอบด้วย3ชิ้น | tripartition | (ไทรพาร์ทิช'เชิน) n. การแบ่งออกเป็น3ส่วน |
| banyan | (n) ต้นมะเดื่อ, ต้นไทร | refuge | (n) ที่พักอาศัย, ที่พำนัก, ที่พึ่ง, ร่มโพธิ์ร่มไทร |
| | 腺 | [せん, sen] (n) ต่อม<BR> <BR> eg. 甲状腺 (こうじょうせん) ต่อมไทรอยด์ | 甲状腺 | [こうじょうせん, koujousen] (n) ต่อมไทรอยด์ |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |