က | [ka'] (n) พยัญชนะตัวที่ ๑ ของภาษามอญ | ဂ | [/ge'/] พยัญชนะตัวที่ ๓ ของภาษามอญ | ဃ | [ghe'] พยัญชนะตัวที่ ๔ ของภาษามอญ | ဃ | [ghέ เคี่ยะ] (n) พยัญชนะตัวที่ ๔ ของภาษามอญ | စ | [ca จะ] พยัญชนะตัวที่ ๖ ของภาษามอญ | ဆ | [cha ชะ] (n) พยัญชนะตัวที่ ๗ ของภาษามอญ | ၚ | [ŋέ เงี่ยะ] พยัญชนะตัวที่ ๕ ของภาษามอญ |
|
| พยัญชนะ | (n) consonant, Syn. ตัวอักษร, ตัวหนังสือ, Example: ในระบบคอมพิวเตอร์ มนุษย์จะติดต่อสื่อสารกันโดยใช้ข้อมูลที่ประกอบไปด้วยพยัญชนะ ได้แก่ A-Z และตัวเลขตั้งแต่ 0-9, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ, Notes: (บาลี), (สันสกฤต) |
| พยัญชนะ | (พะยันชะนะ) น. เสียงพูดที่เปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะส่วนต่าง ๆ ในปากและคอ เช่น เสียง ป โดยทั่วไปจะออกเสียงพยัญชนะร่วมกับเสียงสระ, เสียงพยัญชนะ ก็เรียก | พยัญชนะ | ตัวอักษรที่ใช้แทนเสียงพยัญชนะ เช่น ก ข, รูปพยัญชนะ ก็เรียก, ตัวหนังสือ เช่น แปลโดยพยัญชนะ | พยัญชนะ | กับข้าวที่ไม่ใช่แกง, คู่กับ สูปะ ซึ่งหมายถึง แกง. (ป. พฺยญฺชน, วฺยญฺชน; ส. วฺยญฺชน) | พยัญชนะ | ลักษณะของร่างกาย. |
| | | | พยัญชนะ | [phayanchana] (n) EN: consonant FR: consonne [ f ] |
| alpha | (n) พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก | B | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 | b | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 | chi | (n) พยัญชนะตัวที่ 22 ของภาษากรีก | D | (n) พยัญชนะตัวภาษาอังกฤษที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน | d | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน | E | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 | e | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 | epsilon | (n) พยัญชนะตัวที่ 5 ในภาษากรีก (คล้ายพยัญชนะ e ในภาษาอังกฤษ) | ex | (n) พยัญชนะในภาษาอังกฤษตัวที่ 24 |
| a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ | abecedarian | (เอบีซิแด' เรียน) n. , adj. ผู้กำลังเรียนอักษรพยัญชนะ ผู้เริ่มศึกษา ตัวพยัญชนะ, เรียงตามลำดับพยัญชนะ, เบื้องต้น, ขั้นต้น, มูลฐาน | acronym | (แอค' โรนิม) n. คำย่อจากพยัญชนะตัวแรกหลายคำ. -acronymic adj. คำย่อรัสพจน์หมายถึง คำย่อที่เกิดจากการนำอักษรตัวแรก หรือกลุ่มอักษรบางตัวมาสร้างขึ้นเป็นคำใหม่ประกอบด้วยอักขระตั้งแต่สองตัวขึ้นไป นิยมออกเสียงเหมือนคำปกติ เช่น DOS ซึ่งเอาอักษร D มาจากคำว่า Disk อักษร O มาจาก คำ Operating และ S มาจากคำว่า System คำนี้จะอ่านออกเสียงว่า "ดอส" แทนที่จะอ่านว่า ดีโอเอส คำย่อประเภทนี้ นิยมใช้กันมากใน วงการคอมพิวเตอร์ เช่น BASIC ซึ่งย่อมาจาก Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code ก็อ่านว่า "เบสิก" | alif | (อา' ลิฟ) n. พยัญชนะอาหรับตัวแรก | alpha | (แอล' ฟะ) n. พยัญชนะตัวแรกของภาษากรีก, จุดเริ่ม, สิ่งแรก, ดาวที่สว่างที่สุดในกลุ่มดาว, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มของอะตอมในสารประกอบ, isomer แบบหนึ่งของสารประกอบ | alphabet | (แอล' ฟาเบท) n. อักษรพยัญชนะ, อักษร, อักขระ, ระบบตัวอักษร, ความรู้พื้นฐาน, ขั้นมูลฐาน. | anagram | (แอน' นะแกรม) n. การสับเปลี่ยนพยัญชนะของคำหรือวลีเพื่อให้ได้คำหรือวลีใหม่ -anagrammatic (al) adj. (transposition) | b | (บี) พยัญชนะตัวที่ 2 ของภาษาอังกฤษ | beta | (เบ'ทะ) n. อักษรตัวที่สองของพยัญชนะกรีก, ตำแหน่งหนึ่งของอะตอมหรือกลุ่มอะตอมในสารประกอบ, สารประกอบ isomer, อนุภาค beta | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
| | က | [ka] (n) พยัญชนะตัวที่ ๑ ปลา fish |
| | | consonne | (n) |f, pl. -s| พยัญชนะ, สระอักษร ประกอบด้วย A(อา) B(เบ) C(เซ) D(เด) E(เอ) F(เอฟ) G(เจ) H(อาช) I(อี) J(จี) K(คา) L(เอ็ล) M(เอ็ม) N(เอ็น) O(โอ) P(เพ) Q(คู) R(แอร์) S(เอส) T(เท) U(ออกเสียงระหว่าง อู-อือ) V(เว) W(ดุบเบลอเว) X(อิกส์) Y(อีเกร็ค) Z(เซท) é: e accent aigu è: e accent grave ê: e accent circonflexe ë: e tréma ç ตัวอักษรที่เรียกว่า cédille (เซดีย์) ใช้เปลี่ยงเสียงคำที่ขึ้นต้นด้วย ca, co, cu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ค ให้เป็น ça, ço, çu ซึ่งต้องเปล่งเสียงเป็น ส | constitutionnellement | (adv) ตามรัฐธรรมนูญ (เป็นคำในภาษาฝรั่งเศสที่มีจำนวนพยัญชนะและสระในหนึ่งคำมากที่สุด) | nouveau | (adj) |f. nouvelle| ใหม่ เช่น Ce livre est nouveau. -หากใช้ติดกับคำนามให้วางไว้หน้าคำนามเพศชายเอกพจน์ที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ เช่น C'est un nouveau livre. -หากคำนามเป็นเพศชายเอกพจน์ขึ้นต้นด้วยสระใช้ nouvel เช่น C'est mon nouvel ami. -หากเป็นคำนามเพศชายพหูพจน์ ให้ใช้ nouveaux เช่น Ce sont les nouveaux livres. |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |