Search result for

non-fiction book

   
Languages
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -non-fiction book-, *non-fiction book*
(Few results found for non-fiction book automatically try *non-fiction book*)
Some results are hidden.
configure
Dictionaries languages






Chinese Phonetic Symbols


อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Non-fiction bookหนังสือสารคดี, Example: หนังสือสารคดี (Non-fiction book) คือ หนังสือที่แต่งขึ้นจากเรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ โดยมีจุดประสงค์เพื่อมุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นสำคัญ ไม่ได้เจาะจงให้ความเพลิดเพลิน ถึงแม้ว่าเนื้อหาในหนังสือบางเล่มจะให้ทั้งสาระความรู้ ความเพลิดเพลินและความจรรโลงใจในการอ่านด้วยก็ตาม ซึ่งครอบคลุมวิชาการสาขาต่างๆ เช่น หนังสือเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล การรักษาสุขภาพอนามัย ศาสนา ปรัชญา การศึกษา วรรณกรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชีวประวัติ เป็นต้น</p> <p> โดยสามารถแบ่งหนังสือสารคดีออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้</p> <ul> <li> หนังสือตำรา (Text book)เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้เป็นสื่อ หรือคู่มือโดยมีเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในการศึกษาเล่าเรียนวิชาต่างๆ และระดับการศึกษาต่างๆ ได้แก่ แบบเรียน เอกสารตำรา หนังสือประกอบคำบรรยาย ตำราวิชาการ เป็นต้น</li> <li> หนังสืออ่านประกอบ (External reading1) เป็นหนังสือที่เขียนในเชิงวิชาการที่ไม่ได้ยึดหลักสูตรเป็นหลัก</li> <li> หนังสือความรู้ทั่วไป (General book) เป็นหนังสือที่เขียนเพื่อมุ่งให้ความรู้ทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงความรู้สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง&nbsp; เหมาะสำหรับผู้อ่านและผู้สนใจทั่วไป อาจไม่ได้เจาะลึกในเนื้อหาวิชามากนักเป็นการปูพื้นฐาน</li> <li> หนังสืออ้างอิง (Reference book) เป็นหนังสือที่ใช้ในการค้นคว้าหาคำตอบที่ต้องการเพียงเรื่องใดตอนหนึ่งเฉพาะเรื่องที่ต้องการเท่านั้น ไม่ต้องอ่านทั้งเล่ม ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น&nbsp; ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกห้องสมุด โดยมีสัญลักษณ์กำกับไว้ที่สันหนังสือ&nbsp; คือ&nbsp; อ (อ้างอิง) หรือ Ref (Reference) เช่น พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม ดรรชนี หนังสือรายปี เป็นต้น</li> <li> วิทยานิพนธ์ (Thesis หรือ Dissert ration) เป็นรายงานผลการศึกษาค้นคว้าวิจัยโดยมีการเรียบเรียงอย่างละเอียดลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ประกอบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หรือการศึกษาขั้นระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก เพื่อนำเสนอต่อสถาบันการศึกษานั้น</li> <li> คู่มือสถานศึกษา (School Catalog) เป็นหนังสือที่สถาบันการศึกษาต่าง ๆ จัดทำขึ้น ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับรายละเอียดของสถาบันการศึกษานั้นๆ เกี่ยวกับ ประวัติ หลักสูตรที่เปิดสอน ระเบียบการเรียน ค่าธรรมเนียม รายนามคณาจารย์ วุฒิการศึกษา แนะนำสถานศึกษา กฎระเบียบต่างๆ และสิ่งอำนวยความสะดวก</li> <li> สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) คือ สิ่งพิมพ์ที่หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจรับผิดชอบในการผลิต หรือมีส่วนรับผิดชอบในเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ หน่วยงานราชการอาจเป็นหน่วยงานระดับกระทรวง กรม กอง ฯลฯ ผลิตขึ้น เพื่อเผยแพร่สารสนเทศ ผลงานของหน่วยงาน หรือความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ อาจเสนอในรูปของหนังสือ วารสาร จุลสาร สิ่งพิมพ์ชุด ฯลฯ เนื้อหาของสิ่งพิมพ์รัฐบาลส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ผลิตสิ่งพิมพ์ สถาบันบริการสารสนเทศหลายแห่งมีระบบการจัดเก็บไว้ให้บริการแยกต่างหากจากหนังสือทั่วไปและหนังสืออ้างอิง เป็นอีกงานหนึ่งต่างหาก อาจเรียกว่า งานสิ่งพิมพ์รัฐบาล ได้แก่ ราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น</li> </ul> <p> อ้างอิง : แม้นมาส ชวลิต. (2549). คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.<br /> <span _fck_bookmark="1" style="display: none">&nbsp;</span> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Non-fiction bookหนังสือสารคดี, Example: หนังสือสารคดี (Non-fiction book) คือ หนังสือที่แต่งขึ้นจากเรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจากความจริง ไม่ใช่จากจินตนาการ โดยมีจุดประสงค์เพื่อมุ่งให้สาระความรู้แก่ผู้อ่านเป็นสำคัญ ไม่ได้เจาะจงให้ความเพลิดเพลิน ถึงแม้ว่าเนื้อหาในหนังสือบางเล่มจะให้ทั้งสาระความรู้ ความเพลิดเพลินและความจรรโลงใจในการอ่านด้วยก็ตาม ซึ่งครอบคลุมวิชาการสาขาต่างๆ เช่น หนังสือเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล การรักษาสุขภาพอนามัย ศาสนา ปรัชญา การศึกษา วรรณกรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชีวประวัติ เป็นต้น</p> <p> โดยสามารถแบ่งหนังสือสารคดีออกเป็นประเภทต่างๆ ดังนี้</p> <ul> <li> หนังสือตำรา (Text book)เป็นหนังสือที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้เป็นสื่อ หรือคู่มือโดยมีเนื้อหาสาระตามหลักสูตรในการศึกษาเล่าเรียนวิชาต่างๆ และระดับการศึกษาต่างๆ ได้แก่ แบบเรียน เอกสารตำรา หนังสือประกอบคำบรรยาย ตำราวิชาการ เป็นต้น</li> <li> หนังสืออ่านประกอบ (External reading1) เป็นหนังสือที่เขียนในเชิงวิชาการที่ไม่ได้ยึดหลักสูตรเป็นหลัก</li> <li> หนังสือความรู้ทั่วไป (General book) เป็นหนังสือที่เขียนเพื่อมุ่งให้ความรู้ทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจงความรู้สาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง&nbsp; เหมาะสำหรับผู้อ่านและผู้สนใจทั่วไป อาจไม่ได้เจาะลึกในเนื้อหาวิชามากนักเป็นการปูพื้นฐาน</li> <li> หนังสืออ้างอิง (Reference book) เป็นหนังสือที่ใช้ในการค้นคว้าหาคำตอบที่ต้องการเพียงเรื่องใดตอนหนึ่งเฉพาะเรื่องที่ต้องการเท่านั้น ไม่ต้องอ่านทั้งเล่ม ให้ใช้ภายในห้องสมุดเท่านั้น&nbsp; ไม่อนุญาตให้ยืมออกนอกห้องสมุด โดยมีสัญลักษณ์กำกับไว้ที่สันหนังสือ&nbsp; คือ&nbsp; อ (อ้างอิง) หรือ Ref (Reference) เช่น พจนานุกรม สารานุกรม นามานุกรม ดรรชนี หนังสือรายปี เป็นต้น</li> <li> วิทยานิพนธ์ (Thesis หรือ Dissert ration) เป็นรายงานผลการศึกษาค้นคว้าวิจัยโดยมีการเรียบเรียงอย่างละเอียดลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ประกอบการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา หรือการศึกษาขั้นระดับปริญญาโทหรือปริญญาเอก เพื่อนำเสนอต่อสถาบันการศึกษานั้น</li> <li> คู่มือสถานศึกษา (School Catalog) เป็นหนังสือที่สถาบันการศึกษาต่าง ๆ จัดทำขึ้น ซึ่งให้ความรู้เกี่ยวกับรายละเอียดของสถาบันการศึกษานั้นๆ เกี่ยวกับ ประวัติ หลักสูตรที่เปิดสอน ระเบียบการเรียน ค่าธรรมเนียม รายนามคณาจารย์ วุฒิการศึกษา แนะนำสถานศึกษา กฎระเบียบต่างๆ และสิ่งอำนวยความสะดวก</li> <li> สิ่งพิมพ์รัฐบาล (Government Publication) คือ สิ่งพิมพ์ที่หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจรับผิดชอบในการผลิต หรือมีส่วนรับผิดชอบในเนื้อหาของสิ่งพิมพ์ หน่วยงานราชการอาจเป็นหน่วยงานระดับกระทรวง กรม กอง ฯลฯ ผลิตขึ้น เพื่อเผยแพร่สารสนเทศ ผลงานของหน่วยงาน หรือความรู้ในสาขาวิชาต่างๆ อาจเสนอในรูปของหนังสือ วารสาร จุลสาร สิ่งพิมพ์ชุด ฯลฯ เนื้อหาของสิ่งพิมพ์รัฐบาลส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ผลิตสิ่งพิมพ์ สถาบันบริการสารสนเทศหลายแห่งมีระบบการจัดเก็บไว้ให้บริการแยกต่างหากจากหนังสือทั่วไปและหนังสืออ้างอิง เป็นอีกงานหนึ่งต่างหาก อาจเรียกว่า งานสิ่งพิมพ์รัฐบาล ได้แก่ ราชกิจจานุเบกษา เป็นต้น</li> </ul> <p> อ้างอิง : แม้นมาส ชวลิต. (2549). คู่มือบรรณารักษ์ (ฉบับปรับปรุงแก้ไข) เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.<br /> <span _fck_bookmark="1" style="display: none">&nbsp;</span> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Sachbuch { n }fact book; non-fiction book; book of non-fiction [Add to Longdo]

add this word


You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit




ติดโพย (PopThai)
 Move your mouse over the text to see pop-up windows.

 

non ( N AA1 N)-fiction ( F IH1 K SH AH0 N) book ( B UH1 K)

 


 
non
  • ไม่[Lex2]
  • /N AA1 N/ [CMU]
fiction
  • บันเทิงคดี: นวนิยาย, เรื่องเล่า, เรื่องโกหก [Lex2]
  • (ฟิค'เชิน) n. นวนิยาย,นิทาน,เรื่องโกหก,ความเท็จ,การเสกสรรเรื่องขึ้น ###S. story [Hope]
  • (n) นวนิยาย,นิทาน,เรื่องเริงรมย์,เรื่องอ่านเล่น,เรื่องโกหก [Nontri]
  • /F IH1 K SH AH0 N/ [CMU]
  • (n) /f'ɪkʃən/ [OALD]
book
  • หนังสือ[Lex2]
  • จอง: บุ๊ค, จองล่วงหน้า, สั่งจองล่วงหน้า [Lex2]
  • บันทึกข้อหา: เขียนใบสั่ง [Lex2]
  • (บุค) n. หนังสือ v.จอง, การจอง [Hope]
  • (n) หนังสือ,ตำรา,สมุด,คัมภีร์ [Nontri]
  • (vt) จองล่วงหน้า,สำรองที่นั่ง,ลงบัญชี,ลงชื่อ,ลงรายการ,ลงบันทึก [Nontri]
  • /B UH1 K/ [CMU]
  • (vt,n (count)) /b'uk/ [OALD]
 


Search other online dictionaries

English/Thai Dictionary
Thai Dictionary and related
English/Thai Dictionary Software Application
English/English Dictionary
 

Japanese Dictionary
German and German/English Dictionaries
Other translation and dictionary websites
Other interesting resources

Do you know the meaning of this word?

You can Suggest your own translation to Longdo

Discussions

About our ads
We know you don’t love ads. But we need ads to keep Longdo Dictionary FREE for users. Thanks for your understanding! Click here to find out more.
Go to Top