มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน | ทฤษฎี | (ทฺริดสะดี) น. หลักการทางวิชาการที่ได้ข้อสรุปมาจากการค้นคว้าทดลองเป็นต้น เพื่อเสริมเหตุผลและรากฐานให้แก่ปรากฏการณ์หรือข้อมูลในภาคปฏิบัติ เช่น ทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก ทฤษฎีแสง. (ส.; ป. ทิฏฺ ิ). | บรรณานุกรม | (บันนานุกฺรม) น. บัญชีรายชื่อหนังสือที่ใช้ประกอบการค้นคว้า, บัญชีรายชื่อหนังสือในหัวข้อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ยุคใดยุคหนึ่ง หรือของผู้เขียนคนใดคนหนึ่ง มักจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์. | ภาคนิพนธ์ | (พากคะ-, พาก-) น. รายงานการค้นคว้าประจำภาคเรียน. | วิจัย ๒ | น. การค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา เช่น วิจัยเรื่องปัญหาการจราจรในกรุงเทพมหานคร. |
|
| Reference librarian | บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า, Example: Reference librarian หมายถึง บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า มีหน้าที่ให้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าหาคำตอบที่ผู้ใช้ห้องสมุดต้องการ และช่วยให้ผู้ใช้ห้องสมุดได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากหนังสือและวัสดุต่าง ๆ ของห้องสมุด <p> คุณสมบัติของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ <p> ศาสตราจารย์คุณหญิงแม้นมาศ ชวลิต ได้ให้ทัศนะเกี่ยวกับคุณสมบัติที่ดีของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ ไว้ดังนี้ <p> - มีความรู้เกี่ยวกับหนังสืออ้างอิงเป็นอย่างดี มีความเข้าใจและคุ้นเคยกับแหล่งความรู้ที่มีอยู่ในห้องสมุด <p> - มีมนุษยสัมพันธ์อันดี <p> - มีความสนใจในวิชาการต่างๆ หมั่นศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ <p> - มีความอดทน พากเพียร <p> - มีไหวพริบดีในการรวบรวม วิเคราะห์ปัญหาว่าอยู่ในแนวใด ควรหาคำตอบจากแหล่งใด <p> - มีความจำดี <p> - มีจินตนาการดี รู้จักการยืดหยุ่น ไม่ฝังความคิดไว้ในด้านเดียว <p> - ช่างสังเกต รอบคอบ <p> - ตัดสินใจดี รู้จักเลือกแหล่งคำตอบที่เหมาะสม <p> - รู้จักวิธีการพูดคุย ซักถามอย่างเป็นกันเองกับผู้ใช้ <p> - กระตือรือร้นที่จะช่วยเหลือผู้ใช้อยู่เสมอ <p> การให้บริการของบรรณารักษ์บริการตอบคำถามฯ นอกจากการให้บริการที่โต๊ะให้บริการตอบคำถามแล้ว ยังสามารถให้บริการโดยทางโทรศัพท์ โดยทางอี-เมล์ หรือโดยผ่านการสนทนาทางออนไลน์ อย่างไรก็ตาม บทบาทของบริการตอบคำถามในปัจจุบันกำลังเปลี่ยนไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้ห้องสมุดสามารถใช้ Google และเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทางออนไลน์ได้มากขึ้น ดังนั้น บรรณารักษ์บริการตอบคำถามอาจไม่ต้องตอบคำถามหรือเก็บข้อมูลมากเหมือนในอดีต แต่ควรเน้นที่การให้คำแนะนำผู้ใช้ให้รู้จักวิธีค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ หรือช่วยแนะนำแหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัยต่อไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Research report | รายงานการค้นคว้าวิจัย, Example: <p>รายงานการค้นคว้าวิจัยหรือรายงานผลการวิจัย (Research Report) หมายถึง เรื่องราวที่เป็นผลจากการค้นคว้าทางวิชาการ แล้วนำมาเรียบเรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน เรื่องราวที่นำมาเขียนรายงานต้องเป็นข้อเท็จจริง หรือความรู้ อันเกิดจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการค้นคว้าที่เป็นระบบ มีลักษณะเป็นวิทยาศาสตร์ <p>วัตถุประสงค์ของรายงานการค้นคว้าวิจัย หรือรายงานผลการวิจัย ดังนี้ <p>1. เพื่อเสนอข้อเท็จจริง หรือความรู้ ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ อันเป็นแนวทางในการเสนอข้อมูลทางวิชาการแนวใหม่ หรือปรับปรุงข้อมูลเดิม <p>2. เพื่อพัฒนาความคิด ด้านความคิดริเริ่ม การวิเคราะห์ และการประมวลความคิดอย่างมีระบบระเบียบ ตลอดจนการถ่ายทอดความคิดเป็นภาษาเขียนที่ชัดเจน สละสลวย <p>3. เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม ในการรวบรวมข้อมูลหรือประกอบการอ้างอิง อันเป็นวิธีการหาความรู้ด้วยตนเอง <p>ส่วนประกอบที่สำคัญของรายงานการค้นคว้าวิจัย ประกอบด้วย ความนำ เอกสารหรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้อง วิธีการวิจัย ผลของการวิจัย <p>แนวทางการเขียนเนื้อเรื่องรายงานผลการวิจัย ส่วนเนื้อเรื่องถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของรายงานผลการวิจัย ซึ่งมีแนวทางในการเขียน คือ ความนำ การเขียนความนำเป็นการเกริ่นนำเรื่องให้ผู้อ่านได้ทราบถึงที่มาของปัญหา <p>ส่วนเนื้อหา <p>1. เริ่มด้วยการเชื่อมโยงจากส่วนนำเข้าสู่เนื้อหา <p>2. อธิบายวิธีการศึกษาเรื่องนั้น ๆ เช่น รวบรวมจากเอกสาร สัมภาษณ์ สังเกต ทดลอง เป็นต้น <p>3. เสนอหลักการ ทฤษฎี ข้อค้นพบ หรือข้อวิเคราะห์วิจารณ์ให้ชัดเจน ยกเหตุผลสนับสนุนให้หนักแน่น อ้างอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้อง หากมีหลายประเด็นควรจำแนกเป็นประเด็น ๆ ไป <p>4. ให้นิยามศัพท์เฉพาะที่สำคัญ <p>5. อธิบายขยายความ ยกตัวอย่างประกอบให้เข้าใจง่าย <p>6. ใช้แผนภูมิ ภาพ ตาราง กราฟ ฯลฯ ประกอบในส่วนที่จำเป็นเพื่อให้เห็นเป็นรูปธรรมมากขึ้น <p>ส่วนสรุป <p>1. สรุปเนื้อหา อาจสรุปย่อประเด็นสำคัญ เป็นข้อความหรือแผนภูมิ เพื่อให้เห็นภาพรวมของเนื้อหาอย่างชัดเจน <p>2. กล่าวย้ำจุดสำคัญหรือจุดเด่นของเนื้อหา <p>3. เสนอทรรศนะของผู้เขียน แต่ต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นความคิดเห็นส่วนตัว มิใช่หลักการหรือทฤษฎีตายตัวที่ทุกคนต้องทำตาม <p>4. ชี้นำให้ผู้อ่านขบคิดพิจารณาต่อไป เพื่อให้ผู้อ่านมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและพัฒนาวิชาการนั้น ๆ <p>บรรณานุกรม <p>สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คู่มือการเขียนรายงานการวิจัย. Available at : http://www.riclib.nrct.go.th/link/info/researchwrite.pdf. Accessed June 6, 2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | clinical professor | ศาสตราจารย์คลินิก, ตำแหน่งทางวิชาการที่สภามหาวิทยาลัยแต่งตั้งบุคลากรฝ่ายเวชกรรมที่มีความรู้ ความชำนาญในด้านการสอน การวิจัย การค้นคว้าทดลอง และวิธีบำบัดรักษาในภาคเวชปฏิบัติ ซึ่งมีคุณค่าทางวิชาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Discovery | กระบวนการค้นคว้า [การแพทย์] | Investigation | การสืบสวน, การตรวจสอบ, วิธีการค้นคว้า, การตรวจสืบสวน, การตรวจช่วยวิเคราะห์ [การแพทย์] | Literature Search | การค้นคว้า [การแพทย์] |
| | | high tech | เทคโนโลยีขั้นสูงเป็นคำที่แสดงถึงคุณภาพที่ใช้กันมากในปัจจุบัน เพื่อแสดงให้เห็นว่าสิ่งนั้น ๆ หรืองานนั้น ๆ ได้มีการค้นคว้าและพัฒนากันมามากมายแล้ว | project | (พรอจ'เจคทฺ) n. โครงการ, แผนการ, โครงการวิจัย, โครงการค้นคว้า, โครงการเคหะ. vt. (โพรเจคทฺ') เสนอ, ออกแบบ, วางแผน, ยื่นออกมา, ต่อ, ส่อง, ฉาย, ฉายเป็นเงา, ถ่ายแผนที่, ถ่ายทอด. vi. ปรากฎตัว, แสดงออก, จินตนาการตัวเอง, Syn. plan, venture | research | (รีเซิร์ชฺ', รี'เซิร์ชฺ) n. การวิจัย, การค้นคว้า, การวินิจฉัย, การสืบเสาะ, การสำรวจ vi., vt. วิจัย, ค้นคว้า, See also: researchable adj. researcher n. researchist n., Syn. scrutiny, study, inquire, investigation | study | (สทัด'ดี) n. การศึกษา, การเรียน, การค้นคว้า, การดูหนังสือ, การพิเคราะห์พิจารณา, การสืบสวนสอบสวน, การวิจัย, สิ่งที่ศึกษา, สิ่งที่ค้นคว้า, รายงานการค้นคว้า, สาขาวิชา, ความมานะบากบั่น, การทดลองวาดหรือประพันธ์, ห้องค้นคว้า, เพลงฝึกซ้อม, สิ่งที่ใช้ฝึกฝนการเรียน. vi. ศึกษา |
| disquisition | (n) การถกเถียง, การตรวจสอบ, การค้นคว้า, การบรรยาย, ปาฐกถา | quest | (n) การค้นหา, การสืบหา, การค้นคว้า | research | (n) การวิจัย, การค้นคว้า, การสำรวจ, การวินิจฉัย | study | (n) การศึกษา, การเรียน, การค้นคว้า, ห้องค้นคว้า |
| 検討 | [けんとう, kentou] (n) การค้นคว้า พิเคราะห์พิจารณา |
| 学研 | [がっけん, gakken] (n) การเรียนและการค้นคว้า |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |