มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กรรมการตัดสิน | (n) umpire, See also: referee, Syn. คณะกรรมการตัดสิน, Example: เราทุกคนมีสิทธิ์ที่จะเป็นกรรมการตัดสินร่วมกัน, Count Unit: คน, Thai Definition: กรรมการที่ทำหน้าที่ในการตัดสินแพ้ชนะในการแข่งขัน |
|
| จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. | ตรายาง | น. ตราที่ทำด้วยยางสำหรับประทับบนกระดาษเป็นต้น, โดยปริยายหมายถึง ผู้บริหารหรือผู้มีอำนาจหน้าที่ในการตัดสินใจแต่ลงนามอนุมัติตามที่มีผู้อื่นเสนอมาโดยไม่ได้ตัดสินใจเอง. | ประกวด | ก. แข่งขันเพื่อเลือกเฟ้นเอาดี โดยมีการตัดสิน เช่น ประกวดนางงาม ประกวดบทความ. | ยุติธรรม | ว. เที่ยงธรรม, ไม่เอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, ชอบด้วยเหตุผล, เช่น ราคายุติธรรม กรรมการตัดสินอย่างยุติธรรม. | แล้วแต่ | ว. ตามแต่, สุดแต่, สุดแท้แต่, (ใช้ในลักษณะที่ยกอำนาจการตัดสินขั้นสุดท้ายให้แก่ผู้ใดหรือสิ่งใดเป็นต้น) เช่น แล้วแต่บุญกรรม แล้วแต่สถานการณ์ แล้วแต่กรณี แล้วแต่คณะรัฐมนตรีจะพิจารณาอนุมัติหรือไม่. | เสมอ ๑ | (สะเหฺมอ) ว. เท่ากัน, พอ ๆ กัน, เหมือนกัน, เช่น กรรมการตัดสินให้เสมอกัน ไม่มีใครแพ้ใครชนะ |
| | Decision support system | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ [เทคโนโลยีการศึกษา] | Decision support system | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Fuzzy decision making | การตัดสินใจแบบฟัสซี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Bayesian statistical decision theory | ทฤษฎีการตัดสินใจทางสถิติของเบส์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Task related monitoring | การเฝ้าสังเกตตามภารกิจ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างเร่งด่วนสำหรับการบริหารจัดการในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์] | Independent Living | การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน [Assistive Technology] | Arbitration and award | อนุญาโตตุลาการและการตัดสิน [TU Subject Heading] | Arbitration and award, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศและการตัดสิน [TU Subject Heading] | Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Matters | อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading] | Decision making | การตัดสินใจ [TU Subject Heading] | Decision making in chileren | การตัดสินใจในเด็ก [TU Subject Heading] | Decision support systems | ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ [TU Subject Heading] | Group decision making | การตัดสินใจโดยกลุ่ม [TU Subject Heading] | Judging | การตัดสิน [TU Subject Heading] | Post-conviction remedies | การแก้ไขความเสียหายหลังการตัดสิน [TU Subject Heading] | Sports officiating ; Umpiring (Sports) | การตัดสินกีฬา [TU Subject Heading] | Statistical decision | การตัดสินใจทางสถิติ [TU Subject Heading] | civil society | ประชาสังคม หมายถึง สังคมที่ประชาชนในระดับต่าง ๆ มีการรวมตัวกันอย่างแข็งแกร่ง เพื่อที่จะเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินทางเลือกสาธารณะ ที่มีผลกระทบต่อพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของท้องถิ่นและประเทศโดยรวม [การทูต] | Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] | consensus | ฉันทามติ หมายถึง แนวปฏิบัติในการตัดสินใจที่จะมีมติดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยแม้ทุกฝ่ายจะมิได้เห็นพ้องร่วมกัน แต่ก็ไม่มีผู้ใดคัดค้าน [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Public Diplomacy | การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้ [การทูต] | Technical Competency | สมรรถนะทางวิชาการ, ความรู้ ทักษะและพฤติกรรมที่พนักงานต้องมีเพื่อนำมาใช้ปฏิบัติงาน เช่น ความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์ (Product Knowledge) คุณภาพงานบริการ (Service Quality) ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Making) เป็นต้น [การจัดการความรู้] | Criterion Standard | การตัดสินแบบอิงเกณฑ์ [การแพทย์] | Decision | การตัดสินใจ [การแพทย์] | Decision Evaluation | การประเมินผลการตัดสินใจ [การแพทย์] | Decision Implementation | การนำการตัดสินใจไปใช้ [การแพทย์] | Decision Making | การวินิจฉัยสั่งการ, การตัดสินใจ [การแพทย์] | Decision Making by Research | การตัดสินใจโดยอาศัยการวิจัย [การแพทย์] | Decision Making Process | กระบวนการตัดสินใจ, กระบวนการการตัดสินใจ [การแพทย์] | Decision Making, Intuitive | การตัดสินใจโดยอาศัยการเรียนรู้ [การแพทย์] | Decision Making, Professional | การตัดสินใจอย่างชาญฉลาด [การแพทย์] | Determination | การตัดสินใจ, การตรวจหา, การตรวจวิเคราะห์ [การแพทย์] | Devices, End Point | เครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินจุดยุติ [การแพทย์] | ความขัดแย้ง | ความขัดแย้ง, สภาวะหรือเหตุการณ์ที่ทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกมีความขัดแย้งในตนเอง เมื่อถึงเวลาที่เผชิญแล้ว บุคคลนั้นเกิดความลำบากใจ หนักใจ หรืออึดอัดใจในการตัดสินใจ ตกลงใจที่จะเลือกกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความขัดแย้งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ความขัดแย้งในใจที่บุคคลจะต้องต [สุขภาพจิต] | Arithmetic-Logic Unit (ALU) | หน่วยคำนวณและตรรกะ หรือเอแอลยู, หน่วยที่ทำหน้าที่ในการคำนวณต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อทำการตัดสินใจ เช่น การเปรียบเทียบข้อมูล การเปรียบเทียบว่าจริงหรือเท็จ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | repetition structure | โครงสร้างแบบวนซ้ำ, โครงสร้างการทำงานที่มีการทำงานในบางคำสั่งหรือบางชุดของคำสั่งซ้ำกันมากกว่าหนึ่งรอบขึ้นไป โดยการวนซ้ำนี้จะต้องมีการตัดสินใจร่วมอยู่ด้วยเสมอ เพื่อเป็นเงื่อนไขที่จะตัดสินใจว่าเมื่อใดจะวนซ้ำ หรือเมื่อใดจะถึงเวลาหยุดการวนซ้ำ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Judgement, Defective | การตัดสินใจไม่ดี [การแพทย์] | Judgment | การตัดสินใจ, ตัดสิน, การตัดสิน [การแพทย์] | Judgment of Quality | การตัดสินคุณค่า [การแพทย์] | Judgment, Clinical | การตัดสินใจจากลักษณะทางคลินิค [การแพทย์] | Judgment, Practical | การตัดสินใจในเชิงปฎิบัติการ [การแพทย์] |
| อำนาจในการตัดสินใจ | [amnāt nai kān tatsinjai] (n, exp) EN: decision-making power ; power to take decisions FR: décisionnaire [ m ] | ชะลอการตัดสินใจ | [chalø kān tatsinjai] EN: delay decisions | กรรมการตัดสิน | [kammakān tatsin] (n, exp) EN: umpire ; referee ; judge FR: juge [ m ] | การตัดสิน | [kān tatsin] (n) EN: decision ; judging FR: décision [ f ] | การตัดสินใจ | [kān tatsinjai] (n) EN: decision ; decision-making ; decision making ; making a decision FR: décision [ f ] | การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ | [kān tatsinjai choēng konlayut] (n, exp) EN: strategic decision | การตัดสินใจโดยเสียงข้างมาก | [kān tatsinjai dōi sīeng khāngmāk] (n, exp) EN: majority decision | การตัดสินใจรายวัน | [kān tatsinjai rāiwan] (n, exp) EN: day-to-day decisions | การตัดสินใจซื้อ | [kān tatsinjai seū] (n, exp) EN: purchase decision | การตัดสินใจทางการเงิน | [kān tatsinjai thāng kānngoen] (n, exp) EN: financing decision ; financial decision | การตัดสินปล่อยตัวจำเลย | [kān tatsin plǿi tūa jamloēi] (n, exp) EN: acquittal | เกณฑ์การตัดสินใจ | [kēn kān tatsinjai] (n, exp) EN: decision criteria FR: critère de décision [ m ] |
| fitting box | (n) ห้องหรือตู้ในร้านขายเสื้อผ้า สำหรับให้ผู้ซื้อเสื้อผ้าเปลี่ยนจากเสื้อผ้าที่ตนสวมใส่ มาลองสวมใส่เสื้อผ้าที่จะซื้อเพื่อการตัดสินใจว่าพอเหมาะหรือเป็นไปตามที่ตนต้องการหรือไม่, See also: locker room American, Syn. changing room | precedent | (n) คำพิพากษาในคดีก่อน ซึ่งนำมาเป็นมาตรฐานในการตัดสินคดีต่อๆไป |
| be off the hook | (idm) ไม่มีหน้าที่ในการตัดสินใจ (คำไม่เป็นทางการ), Syn. be on | common sense | (n) การตัดสินแบบพื้นๆ, See also: การใช้ความคิดตัดสินเบื้องต้น | eleventh-hour decision | (idm) การตัดสินใจในนาทีสุดท้าย | decision | (n) การตัดสินใจ, See also: การตกลงใจ, การกำหนด, การสรุป, Syn. detemination | definitiveness | (n) การสรุปขั้นสุดท้าย, See also: การตัดสินใจขั้นเด็ดขาด, การไม่ยอมเปลี่ยนแปลง, Syn. finality | determination | (n) การตัดสินใจ, See also: การตกลงใจ, การลงความเห็น, การสรุป, Syn. judgement, conclusion | dilly-dally | (vi) เสียเวลาในการตัดสินใจ, See also: รวนเร, ชักช้า, อืดอาด, Syn. delay, dawdle, stall, Ant. hasten, hurry | discernment | (n) ความสามารถในการตัดสินดี, See also: การตัดสินใจดี, Syn. judgement, volition, will, taste, Ant. blindness, obtuseness | discretion | (n) การตัดสินใจดี, See also: ความรอบคอบ, การใช้ดุลยพินิจ, Syn. prudence, foresight, Ant. imprudence | discretion | (n) ความอิสระในการตัดสินใจ, Syn. alternative, choice | have a good head on one's shoulders | (idm) มีสามัญสำนึก, See also: มีการตัดสินใจดี มาจากประสบการณ์มากกว่าการเรียน | have someone on a string | (idm) มีบางคนกำลังคอยการตัดสินใจ | in the hot seat | (idm) อย่างลำบากในการตัดสินใจ | miscarriage of justice | (idm) การตัดสินผิด, See also: การตัดสินผิดพลาด | on the hot seat | (idm) อย่างลำบากในการตัดสินใจ | let someone off the hook | (idm) ปล่อยให้เป็นอิสระจาก (ความยุ่งยาก, ความรับผิดชอบ, การตัดสินใจ), Syn. be off, be on, get off | judgement | (n) การตัดสินใจ, See also: การพิจารณา, Syn. discretion, determination | judgement | (n) พิพากษา, See also: การตัดสินความ, การพิจารณาคดี, Syn. verdict, ruling, decree | judgment | (n) การตัดสินใจ, See also: การพิจารณา, Syn. judgement, discretion, determination | judgment | (n) การพิพากษา, See also: การตัดสินความ, การพิจารณาคดี, Syn. judgement, verdict, ruling | jurisdiction | (n) อำนาจในการตัดสินคดี, See also: อำนาจศาล, Syn. power, authority, control | jury | (n) คณะกรรมการตัดสินการแข่งขัน, Syn. panel | Last Judgment | (n) การตัดสินครั้งสุดท้ายของพระเจ้าในวันสิ้นโลก | logical | (adj) เกี่ยวกับตรรกวิทยา, See also: เกี่ยวกับการตัดสินด้วยเหตุผล | mettle | (n) ความกล้าหาญ, See also: ความสามารถในการตัดสินใจทำบางสิ่งได้เป็นอย่างดี, Syn. courage, bravery | middle management | (n) กลุ่มจัดการระดับกลาง (ไม่เกี่ยวกับการตัดสินใจที่มีผลต่อองค์กร) | miscarriage of justice | (n) การตัดสินลงโทษผิดคน | misjudgement | (n) การตัดสินผิด, See also: การตัดสินไม่ยุติธรรม, Syn. unfairness, bias, prejudice | misjudgment | (n) การตัดสินใจผิด, See also: การเข้าใจผิด, Syn. distortion, misinterpretation, misconception | misstep | (n) ความผิดพลาด, See also: การทำพลาด, การตัดสินผิด, Syn. fault, trip, stumble, Ant. correctness, flawlessness | oscillation | (n) การลังเล, See also: การตัดสินใจไม่ได้, Syn. hesitancy, faltering | predetermination | (n) การตัดสินใจไว้ล่วงหน้า, Syn. predestination | play along | (phrv) รอคอยคำตอบหรือการตัดสินใจ | quash | (vt) ยกเลิก, See also: เพิกถอน การตัดสินใจ | resolution | (n) การตัดสินใจอย่างเด็ดขาด, See also: ความตั้งใจอย่างแน่วแน่, Syn. determination, firmness, purpose | resolve | (n) การตัดสินใจ, See also: การตกลงใจแน่วแน่, Syn. decision, intention | ref | (sl) กรรมการตัดสิน | sagacity | (n) ความฉลาดและความสามารถในการตัดสินใจได้ดี, See also: ความหลักแหลม, ความปราดเปรื่อง, การมีไหวพริบ | seesaw | (vi) เปลี่ยนไปเปลี่ยนมา (การตัดสินใจ, ความคิดเห็น, ทัศนคติ), See also: เปลี่ยนแปลง, กลับไปกลับมา, ผันแปร, ลังเล, Syn. alternate, be irresolute, hesitate, fluctuate | self-determination | (n) อำนาจในการตัดสินใจอย่างอิสระ, See also: การกำหนดใจตนเอง, การตัดสินใจด้วยตัวเอง, Syn. free will, independence, freedom, liberty | sentence | (n) การตัดสิน, See also: การพิพากษา, การชี้ขาด, Syn. decree, decision, edict, judgement | thinking | (n) การตัดสิน | timing | (n) การตัดสินเลือกเวลา, See also: การเลือกเวลาที่เหมาะสมที่สุด | umpire | (n) กรรมการตัดสิน, See also: กรรมการ, ผู้ตัดสิน, ผู้ชี้ขาด, ผู้ทำหน้าที่ตัดสิน, ผู้ทำหน้าที่ชี้ขาด | verdict | (n) การตัดสินใจ, See also: การให้ข้อคิดเห็นหลังการไตร่ตรองแล้ว, Syn. decision | volition | (n) การตัดสินใจด้วยตัวเอง, See also: การเลือกด้วยตัวเอง, Syn. choice, election, decision | waver | (vi) แกว่งไปแกว่งมา (การตัดสินใจ, โอกาส, ความคิดเห็น), See also: โอนเอน, วอกแวกไม่มั่นคง, Syn. fluctuate, irresolute, vacillate | wisdom | (n) การตัดสินอย่างเฉียบแหลม, Ant. stupidity | wishy-washy | (adj) ซึ่งไม่แน่นอน (โดยเฉพาะการตัดสินใจ), See also: ซึ่งลังเลใจ, Syn. indecisive, irresolute, ineffectual, vacillating, Ant. decisive, resolute | yardstick | (n) มาตรฐานในการตัดสินคุณภาพ คุณค่า และความสำเร็จ |
| acquittal | (อะควิท' เทิล) n. การตัดสินให้พ้นโทษ, การปฏิบัติ, การชำระหนี้, Syn. discharge | arbitrage | (อาร์'บิทราซฺ) n. การค้ากำไร, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ | arbitral | (อาร์'บิเทริล) adj. เกี่ยวกับผู้ตัดสินหรือการตัดสิน (relating to an arbiter) | arbitrament | (อาร์บิท'ระเมินทฺ) n. การตัดสิน, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ | arbitration | (อาร์บิเทร'เชิน) n. การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ, การชี้ขาด, การตัดสิน. | auto-da-fe | (ออโทคะเฟ') n. การตัดสินคดีของศาสนาโรมันคาธอลิคในยุคกลางที่เผด็จการ มีการลงโทษใช้ไฟเผาพวกต่างศาสนา | casuistry | (แคซ'ซูอิสทรี) n. การใช้หลักศีลธรรมจรรยาในการตัดสินปัญหา, การใช้หลักศีลธรรมจรรยาที่ผิด, การเล่นสำนวนโวหาร, การเล่นลิ้น | chief information officer | ประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | cio | (ซีไอโอ) ย่อมาจาก chief information officer หรือประธานฝ่ายสารสนเทศ งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์) | conclusion | (คันคลู'เชิน) n. การลงเอย, การสิ้นสุดลง, การสรุป, บทสรุป, ผล, การตกลงขั้นสุดท้าย, การตัดสินใจครั้งสุดท้าย, Syn. inference | conviction | (คันวิค'เชิน) n. การลงโทษ, การตัดสินว่ากระทำผิด, ภาวะที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิด, ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่นใจ, Syn. faith, Ant. unbelief | decision | (ดิซิส'เชิน) n. การตัดสินใจ, สิ่งที่ได้ตัดสินใจ, ข้อตกลงใจ, ญัตติ, ความแน่วแน่, Syn. resolve | fair play | n. การตัดสินอย่างยุติธรรม, การเล่นอย่างยุติธรรม, พฤติกรรมที่เที่ยงธรรม | hamartia | n. ความผิดพลาดในการตัดสินใจ | initiative | (อินิช'ชิเอทิฟว) n., adj. (เกี่ยวกับ) การริเริ่ม, การนำเข้า, การตัดสินใจของตนเอง. | judgement | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | judgment | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom | judicable | (จู'ดะคะเบิล) adj. สมควรที่จะได้รับการตัดสิน, เลือกเอาได้, ชี้ขาดได้ | judicial | (จูดิช'เชิล) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีตามกฎหมาย, เกี่ยวกับศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับผู้พิพากษา, เกี่ยวกับกฎหมาย, ซึ่งเกิดจากพระผู้เป็นเจ้า, Syn. legal, juridical | judiciary | (จูดิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีของศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับผู้พิพากษา n. การพิจารณาคดีตามกฎหมาย, ศาลยุติธรรม, ระบบศาล, การะทรวงยุติธรรม, ผู้พิพากษาทั้ง, หลาย, Syn. legal, discerning | jurisdiction | (จัวริสดิค'เชิน) n. อำนาจในการตัดสินคดี, อำนาจศาล, อำนาจการควบคุม, ขอบเขตอำนาจ, อำนาจศาล., See also: jurisdictive adj. ดูjurisdiction jurisdictionally adv. ดูjurisdiction, Syn. judicature, magistracy, sphere, range | jurisprudence | (จัวริสพรูด'เดินซฺ) n. นิติศาสตร์, ธรรมศาสตร์, ระบบกฎหมาย, การตัดสินอรรถคดีของศาล, See also: jurisprudential adj. | juror | (จัว'เรอะ) n. ลูกขุน, ตุลาการ, กรรมการตัดสิน, ผู้ให้คำปฏิญาณ | jury | (จัว'รี) n. คณะลูกขุน, คณะตุลาการ, คณะกรรมการผู้พิจารณา การให้รางวัลและการตัดสิน adj. ใช้ชั่วคราว, ชั่วคราว | knowlelge-based | ฐานความรู้เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดในระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) หมายถึง ข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อใช้เป็นฐานในการตัดสินใจของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ ฐานข้อมูลส่วนมากจะประกอบไปด้วยคำสั่งประเภท ถ้า...... (IF) มากทีเดียว ดู expert system และ artificial intelligence ประกอบ | logic | (ลอจ'จิค) n. ตรรกวิทยา, ตรรก, เหตุผล, การตัดสินด้วยเหตุผล, การอนุมานด้วยเหตุผล | logical | (ลอจ'จิเคิล) adj. มีเหตุผล, เกี่ยวกับตรรกวิทยา, เกี่ยวกับการตัดสินด้วยเหตุผล., See also: logicality n. ดู logical, Syn. clear | resolution | (เรซซะลู'เชิน) n. ความแน่วแน่, ความเด็ดเดี่ยว, การยืนหยัด, การตัดสินใจแล้ว, มิติ, การลงมติ, การแก้ปัญหา, การยุบลงของส่วนที่บวมหรืออักเสบ , ความคมชัดหมายถึง ความละเอียดของภาพ โดยจะนับจุดเล็ก ๆ ในภาพนั้น ยิ่งมีมากจุดต่อนิ้วก็ยิ่งแสดงว่าภาพนั้นมีความคมชัด เช่น อาจใช้วัดประสิทธิภาพของเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) ว่า สามารถพิมพ์ได้ 300 - 600 จุดต่อนิ้ว เป็นต้น ถ้าเป็นชนิดดีมากควรจะพิมพ์ได้ถึง 2, 400 จุดต่อนิ้ว ส่วนความละเอียดของจอภาพ มักจะวัดทั้งความกว้างและยาว เช่น 320 X 200 แสดงว่าจุดมีขนาดใหญ่ แต่ถ้าเป็น 1240 X 800 แสดงว่าจุดมีขนาดเล็ก หมายความว่า ภาพคมชัดกว่า เมื่อใช้อธิบายถึงภาพสี คำ resolution ใช้บอกจำนวนสีที่สามารถแสดงได้ในแต่ละครั้ง ถ้าความคมชัดต่ำ จะแสดงสีได้ครั้งละมาก ๆ ซึ่งทำให้มีความรู้สึกเหมือนกับว่า ภาพนั้นมีความคมชัดมาก ภาพที่มีความคมชัดมากจริง ๆ จะแสดงสีได้น้อยสีในคราวเดียวกัน โดยปกติ มักใช้คำ high res และ low res เป็นคำย่อว่า ความคมชัดมากหรือน้อยดู high resolutution และ low resolution ประกอบ, Syn. resolve, determination | resolve | (รีซอลว') vt., vi., n. (การ) ตกลงใจ, ตัดสินใจ, มีมติ, แยกออก, แยกวิเคราะห์ แยกสลาย n. การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่, มต', Syn. determine | self-determination | n. การตัดสินใจ, การตกลงใจด้วย ตนเอง, ลัทธิของประชาชนในการตัดสินใจเองว่าจะให้มีการปกครอง ในรูปใด., See also: self-determined adj. self-determining adj. | sentence | (เซน'เทินซฺ) n. ประโยค, การตัดสิน, การตัดสินลงโทษ, การพิพากษา, การลงโทษ, คติพจน์, คำคม, สุภาษิต. vt. ตัดสิน, พิพากษา., See also: sentencer n., Syn. judgment, opinion, verdict | umpirage | (อัม'ไพริจ) n. อำนาจหน้าที่ของผู้ตัดสินหรือผู้ชี้ขาด, การตัดสินของผู้ชี้ขาด, การชี้ขาด | volition | (โวลิช'เชิน) n. ความตั้งใจ, ความปรารถนา, การเลือกหรือการตัดสินใจด้วยตัวเอง, กำลังใจ, ความเห็นใจ., See also: volitional adj. volitionary adj., Syn. will, willpower |
| arbitrament | (n) อำนาจชี้ขาด, การตัดสิน, คำตัดสิน | arbitration | (n) การชี้ขาด, การตัดสิน, อำนาจชี้ขาด | CAPITAL capital punishment | (n) การตัดสินประหารชีวิต | conclusion | (n) การจบ, การตัดสินใจ, ข้อยุติ | condemnation | (n) การกล่าวโทษ, การประณาม, การตำหนิ, การลงโทษ, การตัดสินความ | conviction | (n) ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่น, ความแน่ใจ, การลงโทษ, การตัดสินว่าผิด | decision | (n) การตกลงใจ, การตัดสินใจ, การปลงใจ, คำตัดสิน | discretion | (n) ความสุขุม, ความรอบคอบ, การตัดสินใจ, ดุลพินิจ, การไตร่ตรอง | discretionary | (adj) ด้วยความสุขุม, ด้วยความรอบคอบ, เกี่ยวกับการตัดสินใจ | judgment | (n) การตัดสิน, การพิจารณา, คำตัดสิน, คำพิพากษา | referee | (n) ผู้ชี้ขาด, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน | resolve | (n) การลงมติ, การตกลงใจ, การตัดสินใจ, ความแน่วแน่ | SELF-self-determination | (n) การตัดสินใจเอง |
| a fool and his money are soon parted | (ใช้เมื่อต้องสูญเสียเงินเป็นจำนวนมากเนื่องมาจากการตัดสินที่ไม่ดี) ให้คนโง่ใช้เงินอีกไม่นานเงินก็หมด | adjudication | (n) คำตัดสิน (จะใช้ในกรณีการตัดสินคดีล้มละลาย) | decision-making | (n) การตัดสินใจ | dicision | (n, vi) การตัดสินใจ, คำพิพากษา, การตัดสินใจ, สิ่งที่ได้ตัดสินใจ, ข้อตกลงใจ, ญัตติ, ความแน่วแน่ VT. ตัดสินใจ | non-exclusive jurisdiction of court | (n) ศาลที่่มีขอบเขตในการตัดสินคดีทั่่วไป | rapse of reason | (phrase, slang) การตัดสินใจผิด | Reaching a desision | [รีชิง อะ ดีซิชั่น] (n) ถึงการตัดสินใจ | Reaching a desision | [รีชิง อะ ดีซิชั่น] (n) ถึงการตัดสินใจ | เกรียน | (n) เกรียน ในสมัยก่อนหมายถึงเด็กนักเรียนที่เรียนอยู่ในชั้น ประถม ถึง มัธยม แต่ในปัจจุบัน การกล่าวคำว่าเกรียนหมายถึง ผู้ใช้ อารมณ์ในการตัดสินปัญหา มากกว่าที่จะใช้ เหตุและผล ขาดความยั้งคิด และทำตัวเดือดร้อนให้แก่คนรอบข้าง มักพบได้ใน เด็ก ประถม ขึ้นไป |
| 決意 | [けつい, ketsui] (n) การตัดสินใจ | 結論 | [けつろん, ketsuron] (n) การจบ, การตัดสินใจ, ข้อยุติ |
| 判断 | [はんだん, handan] (n, vi, vt) การตัดสินใจ, ตัดสินใจ | 所管 | [しょかん, shokan] (n, adj) อำนาจในการตัดสิน | 引き合い | [ひきあい, hikiai] (n) การพิจารณาก่อนการตัดสินใจ |
| 決意 | [けつい, ketsui] TH: การตัดสินใจแน่วแน่ |
| Entscheidung | (n) |die, pl. Entscheidungen| การตัดสินใจ | Urteil | (n) |das, pl. Urteile| การพิพากษา, การตัดสิน | Urteil | (n) |das, pl. Urteile| การตัดสินใจ | Verfügung | (n) |die| การตัดสิน | Gutachter | (n) |der, pl. Gutachter| ผู้ประเมิน, ผู้ตัดสิน, กรรมการตัดสิน (ไม่ใช่ด้านกีฬา แต่เกี่ยวกับงานด้านวิชาการ เช่น กรรมการผู้ตัดสินงานเรียงความ ฯลฯ), ผู้เชี่ยวชาญ | Bewertung | (n) |die, pl. Bewertungen| การตัดสินระดับคุณภาพ, การประเมินค่า | Schiedsrichter | (n) |der, pl. Schiedsrichter| กรรมการตัดสิน(กีฬา), กรรมการ, Syn. Ringrichter |
| mitentscheinden | (vi, vt) | entscheidest mit, entschied mit, hat mitentschieden | (mit OBJ/ohne OBJ) <jmd. entscheidet mit> มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |