ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: คาร์บอน, -คาร์บอน- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ greenhouse effect | ปรากฏการณ์เรือนกระจก ภาวะที่กลุ่มของก๊าซชนิดต่างๆมาห่อหุ้มชั้นบรรยากาศของโลกไว้ กลุ่มก๊าซเหล่านี้ประกอบด้วยก๊าซหลักๆ 5 ชนิด ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ สารซีเอฟซี ออกไซด์ของไนโตรเจน มีเธนและโอโซน ก๊าซเหล่านี้เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของบรรยากาศโลกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสามารถในการดูดซับรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ เป็นผลให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นจนเหมาะที่สิ่งมีชีวิตต่างๆจะอาศัยอยู่ได้ |
|
| คาร์บอน | (n) carbon, Example: พวกคาร์บอนและยางเหนียวที่ออกมาหลังการเผาไหม้มีพิษมีภัยต่อระบบหายใจของคนเรา, Thai Definition: ธาตุลำดับที่ 6 สัญลักษณ์ C เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป เช่น เพชร แกรไฟต์ คาร์บอนเป็นธาตุองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดธาตุหนึ่งของสิ่งมีชีวิต, Notes: (อังกฤษ) | ไฮโดรคาร์บอน | (n) hydrocarbon, Example: ไฮโดรคาร์บอนทำให้ระคายเคืองนัยน์ตา และคันตามผิวหนัง, Thai Definition: สารอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน และไฮโดรเจนเท่านั้น, Notes: (อังกฤษ) | คาร์บอนมอนอกไซด์ | (n) carbon monoxide, Example: กรุงเทพมหานครยามจราจรติดขัด ความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในอากาศมีสูงถึง 300 ส่วนในล้านส่วน, Thai Definition: ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี เป็นแก๊สพิษร้ายแรง จุดไฟติดในอากาศให้เปลวสีน้ำเงินอ่อน เกิดจากการเผาไหม้โดยไม่สมบูรณ์ของธาตุคาร์บอน มีปรากฏจากแก๊สท่อไอเสียของเครื่องยนต์ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง เป็นต้น, Notes: (อังกฤษ) | คาร์บอนไดออกไซด์ | (n) carbon dioxide, Example: พืชสีเขียวที่อยู่ในน้ำช่วยเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์เป็นออกซิเจน, Thai Definition: ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้ โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เป็นต้น, Notes: ภาษาอังกฤษ | ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ | (n) carbon dioxide, Example: ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นอันตรายต่อสุขภาพ, Count Unit: ก๊าซ |
| คาร์บอน | น. ธาตุลำดับที่ ๖ สัญลักษณ์ C เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป เช่น เพชร แกรไฟต์ คาร์บอนเป็นธาตุองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดธาตุหนึ่งของสิ่งที่มีชีวิต. | คาร์บอนไดออกไซด์ | น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO2 มีปรากฏในบรรยากาศ เกิดจากการเผาไหม้โดยสมบูรณ์ของธาตุคาร์บอนหรือสารอินทรีย์ เป็นแก๊สหนักกว่าอากาศและไม่ช่วยการเผาไหม้ จึงใช้ประโยชน์ในการดับเพลิง ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องดื่มอัดลม เช่น นํ้าโซดา นํ้าหวาน ใช้ทำนํ้าแข็งแห้ง ซึ่งเป็นตัวทำความเย็น. | คาร์บอนมอนอกไซด์ | (-มอน็อก-) น. ชื่อแก๊สชนิดหนึ่ง ไม่มีสี สูตรเคมี CO เป็นแก๊สพิษร้ายแรง จุดไฟติดในอากาศให้เปลวสีนํ้าเงินอ่อน เกิดจากการเผาไหม้โดยไม่สมบูรณ์ของธาตุคาร์บอน มีปรากฏในแก๊สจากท่อไอเสียของเครื่องยนต์ ใช้ประโยชน์เป็นแก๊สเชื้อเพลิง ใช้เตรียมเมทิลแอลกอฮอล์ในอุตสาหกรรม. | ไฮโดรคาร์บอน | (-โดฺร-) น. สารอินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและธาตุไฮโดรเจนเท่านั้น เช่น มีเทน (CH4) เอทิลีน (C2H4) อะเซทิลีน (C2H2) เบนซีน (C6H6). | แกรไฟต์ | (แกฺร-) น. อัญรูปหนึ่งของธาตุคาร์บอน ชื่อสามัญเรียกว่า พลัมเบโก (plumbago) หรือแร่ดินสอดำ ลักษณะเป็นของแข็ง มีรูปผลึกเป็นแผ่นบาง ๆ ทึบแสง อ่อนนุ่ม สีเทาเข้มถึงดำ เนื้ออ่อน เป็นตัวนำความร้อนและไฟฟ้าได้ดี มักใช้ทำไส้ดินสอดำ เบ้าหลอมโลหะ นํ้ามันหล่อลื่นบางชนิด ไส้ถ่านไฟฉาย ไส้ไฟอาร์ก ใช้เป็นตัวลดความเร็วช่วยควบคุมจำนวนอนุภาคนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. | คลอโรฟิลล์ | (คฺลอ-) น. สารสีเขียว มีปรากฏในพืช ซึ่งสามารถดูดกลืนพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง โดยใช้นํ้าและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศมาผลิตคาร์โบไฮเดรตได้. | คาร์บอเนต | น. เกลือปรกติของกรดคาร์บอนิก เช่น แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของหินปูน หินอ่อน กระดูก เป็นต้น. | คาร์โบไฮเดรต | (-เดฺรด) น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาลและพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สำคัญมากประเภทหนึ่ง. | เคมีอนินทรีย์ | (-อะนินซี) น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับธาตุทั้งสิ้นและสารประกอบของธาตุเหล่านั้น ยกเว้นธาตุคาร์บอนซึ่งศึกษาแต่เพียงตัวธาตุคาร์บอน สารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนตเท่านั้น. | เคมีอินทรีย์ | น. วิชาเคมีแขนงที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับสารประกอบทั้งสิ้นของธาตุคาร์บอน ยกเว้นเรื่องสารประกอบออกไซด์ สารประกอบซัลไฟด์ และโลหะคาร์บอเนต. | เชื้อหมัก | น. จุลินทรีย์พวกราที่มีขนาดเล็ก สามารถเปลี่ยนนํ้าตาลให้เป็นแอลกอฮอล์และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้. | โซดา | น. นํ้าที่อัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ด้วยความดัน บรรจุไว้ในขวดหรือกระป๋อง เมื่อเปิดภาชนะบรรจุมีฟองแก๊สผุดขึ้นมา. | ถ่านโค้ก | น. กากที่เหลือหลังจากนำถ่านหินไปอบในห้องที่ไม่มีอากาศ จนกระทั่งถ่านหินเดิมสลายไป เป็นสารที่ประกอบด้วยคาร์บอนประมาณร้อยละ ๘๐-๙๐ ใช้ประโยชน์ในการถลุงแร่ เช่น ในอุตสาหกรรมถลุงเหล็กเป็นต้น. | ถ่านไฟฉาย | น. เซลล์ไฟฟ้าชนิดปฐมภูมิ มีรูปทรงกระบอกขนาดเล็ก ภายในบรรจุผงคาร์บอน แมงกานีสไดออกไซด์ ซิงก์คลอไรด์ แอมโมเนียมคลอไรด์ ซึ่งผสมนํ้าให้มีลักษณะคล้ายแป้งเปียกหุ้มอยู่รอบแท่งคาร์บอนซึ่งเป็นขั้วบวก ภายนอกหุ้มด้วยกระบอกสังกะสีซึ่งเป็นขั้วลบ ตอนปากของกระบอกสังกะสีมีครั่งหุ้มปิดไว้ เหลือแต่หมวกโลหะที่ครอบแท่งคาร์บอนเท่านั้นที่โผล่พ้นพื้นครั่งขึ้นมา ใช้ใส่ในไฟฉาย วิทยุ เป็นต้น. | ธาตุ ๓ | (ทาด) น. สารเนื้อเดียวล้วนซึ่งประกอบด้วยบรรดาอะตอมที่มีโปรตอนจำนวนเดียวกันในนิวเคลียส เช่น ธาตุออกซิเจน ธาตุคาร์บอน. | น้ำแข็งแห้ง | น. คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งอยู่ในสภาพเป็นของแข็ง เย็นจัด ลักษณะคล้ายนํ้าแข็ง ใช้ประโยชน์เป็นตัวทำความเย็น | น้ำอัดลม | น. เครื่องดื่มที่ผสมนํ้าตาลหรือนํ้าผลไม้ มีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายอยู่โดยใช้ความดัน. | ปิโตรเลียม | น. นํ้ามันดิบ ประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์อื่น ๆ อีกมาก องค์ประกอบไม่แน่นอนแล้วแต่แหล่งที่พบ. | ผงฟู | น. สารผสมชนิดหนึ่ง ซึ่งเมื่อเปียกนํ้าหรือทำให้ร้อนจะให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา มีองค์ประกอบที่สำคัญ คือ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต มีสูตร NaHCO3 ปนแป้ง ผสมคลุกเคล้ากับสารอื่นซึ่งมักเป็นกรดทาร์ทาริก มีสูตร HOOC·CHOH·CHOH· COOH หรือโพแทสเซียมไฮโดรเจนทาร์เทรต มีสูตร KHC4H4O6 หรือแคลเซียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต มีสูตร Ca(H2PO4)2 หรือสารส้ม ใช้ประโยชน์ทำให้ขนมปังและขนมบางประเภทมีเนื้อฟูพรุน. | ยางมะตอย | น. สารผสมประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนมากชนิด และสารอินทรีย์อื่น ๆ ซึ่งเรียกรวม ๆ กันว่า สารบิทูเมน ลักษณะเป็นของเหลวข้นหนืด หรือเป็นกึ่งของแข็ง สีดำ หรือสีนํ้าตาลแก่แกมดำ เกิดตามธรรมชาติ และเป็นผลพลอยได้จากการกลั่นนํ้ามันปิโตรเลียม ใช้ประโยชน์ราดทำผิวถนนหรือใช้ผสมกับหินขนาดเล็กทำพื้นถนนได้, แอสฟัลต์ ก็เรียก. | ละลาย | อาการที่สารอย่างหนึ่งแผ่กระจายในสารอีกอย่างหนึ่งอย่างสมํ่าเสมอโดยไม่มีปฏิกิริยาเคมีต่อกัน เช่น คาร์บอนละลายในเหล็ก แอลกอฮอล์ละลายในนํ้า แก๊สออกซิเจนละลายในแก๊สไนโตรเจน ผลที่ได้เรียกว่า สารละลาย. | ลิกไนต์ | น. ถ่านหินชนิดหนึ่ง สีนํ้าตาลเข้มหรือสีดำแกมนํ้าตาล มีปริมาณสารไฮโดรคาร์บอนสูงกว่าถ่านหินธรรมดา ใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ แต่ให้ปริมาณความร้อนตํ่ากว่าถ่านหินธรรมดา. | ศุกร-, ศุกร์ | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๒ ในระบบสุริยะ อยู่ห่างดวงอาทิตย์ประมาณ ๑๐๘ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๑๒, ๑๐๔ กิโลเมตร ไม่มีบริวาร เป็นดาวเคราะห์ที่มีบรรยากาศหนาทึบด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และไอของกรดกำมะถัน ปรากฏสว่างที่สุดบนฟ้า, ถ้าเห็นทางตะวันตกในเวลาหัวคํ่า เรียกว่า ดาวประจำเมือง, ถ้าเห็นทางตะวันออกในเวลาใกล้รุ่ง เรียกว่า ดาวรุ่ง หรือ ดาวประกายพรึก. | เหล็กกล้า | น. เหล็กที่มีธาตุคาร์บอนเจืออยู่ประมาณร้อยละ ๐.๑๕-๑.๕ สมบัติของเหล็กกล้าแตกต่างกันไปตามจำนวนร้อยละของธาตุคาร์บอนและของโลหะอื่นที่เจือปนอยู่ ทั้งยังขึ้นอยู่กับอุณหภูมิที่ใช้ในการเตรียมเหล็กกล้านั้น ๆ ด้วย. | เหล็กพืด | น. เหล็กที่มีธาตุคาร์บอนเจือปนอยู่ประมาณร้อยละ ๐.๑๒-๐.๒๕ และมีสิ่งเจือปนอื่น ๆ รวมกันทั้งสิ้นน้อยกว่าร้อยละ ๐.๕ หลอมละลายที่ ๑๔๐๐ º-๑๕๐๐ ºซ., เหล็กเหนียว ก็เรียก, เรียกเหล็กเหนียวชนิดหนึ่งที่เป็นแผ่นยาวอย่างเหล็กทำปลอกถัง ว่า แถบเหล็กพืด. | เหล็กหล่อ | น. เหล็กที่ได้มาจากเตาถลุง มีธาตุคาร์บอนเจือปนอยู่ประมาณร้อยละ ๒.๒–๔.๕ นอกจากนี้ยังมีธาตุแมงกานีส ฟอสฟอรัส ซิลิคอน และกำมะถันปนอยู่ด้วย หลอมละลายที่ประมาณ ๑๒๐๐ ºซ. | อังคาร | ชื่อดาวเคราะห์ดวงที่ ๔ ในระบบสุริยะ มองเห็นด้วยตาเปล่า อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ประมาณ ๒๒๘ ล้านกิโลเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ๖, ๗๘๗ กิโลเมตร มีพื้นผิวขรุขระและมีบรรยากาศเบาบาง ส่วนใหญ่เป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ มีบริวาร ๒ ดวง | อัญรูป | (อันยะ-) น. ธาตุเดียวกันแต่มีสมบัติและรูปแบบต่างกัน เมื่อนำไปทำปฏิกิริยากับธาตุอื่นธาตุเดียวกัน จะให้ผลเป็นสารประกอบอันเดียวกัน เช่น ธาตุคาร์บอน มีอัญรูป คือ เพชร กับ แกรไฟต์ เมื่อนำอัญรูปทั้ง ๒ นี้ ไปเผาด้วยความร้อนสูงกับธาตุออกซิเจน จะได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เช่นเดียวกัน. | อัดลม | ว. เรียกเครื่องดื่มประเภทหนึ่งซึ่งมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายและอัดไว้ในขวดเป็นต้น ว่า นํ้าอัดลม. | เฮโมโกลบิน | (-โกฺล-) น. สารที่ให้สีแดงในเม็ดเลือดแดง ประกอบขึ้นด้วยโปรตีนที่เรียกว่า โกลบิน และ เฮม ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีเหล็ก ไนโตรเจน คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน เป็นองค์ประกอบ มีหน้าที่นำออกซิเจน ซึ่งร่างกายสูดหายใจเข้าทางปอดไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย โดยออกซิเจนเกาะติดไปในรูปออกซิเฮโมโกลบิน และออกซิเจนแยกตัวออกได้ง่ายจากเฮโมโกลบินเมื่อไปถึงส่วนอื่นของร่างกายที่ต้องการใช้. |
| | Electrodes, Carbon | ขั้วไฟฟ้าคาร์บอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Carbon | คาร์บอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Carbon fiber | คาร์บอนไฟเบอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Carbonate | คาร์บอนเนต [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Cap Rock | ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน, ชั้นหินที่ไม่ยอมให้ของเหลวหรือก๊าซไหลผ่าน ปิดทับอยู่ด้านบนของชั้นหินกักเก็บปิโตรเลียม และปิดกั้นไม่ให้ไฮโดรคาร์บอนหนีออกมาถึงพื้นผิวดินได้ [ปิโตรเลี่ยม] | Butane | ไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอน 4 อะตอม และไฮโดรเจน 10 อะตอม, Example: ปรกติอยู่ในสภาพก๊าซ แต่ทำให้เหลวได้ง่ายเพื่อการขนส่งและจัดเก็บ ใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน รถยนต์ และอุตสาหกรรมบางประเภท [ปิโตรเลี่ยม] | Petroleum | สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยมีธาตุสองชนิดเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่คาร์บอนและไฮโดรเจน โดยอาจมีหรือไม่มีธาตุอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วยก็ได้, Example: ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของปิโตรเลียมเอง และความร้อน ตลอดจนความกดดันตามสภาพแวดล้อมที่ปิโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บไว้ แบ่งตามสถานะสำคัญทางธรรมชาติได้ 2 ชนิด คือ น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ [ปิโตรเลี่ยม] | Conversion Refinery | โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา, โรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming Refinery ที่มี cracking เพิ่มเข้ามา ซึ่งจะทำหน้าที่แตกตัวโมเลกุลของสารไฮโดรคาร์บอนต่างๆให้เป็นน้ำมันที่มีคุณค่าสูง, Example: โรงกลั่นน้ำมันประเภทนี้จะให้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหนัก เช่น น้ำมันเตา น้อยกว่าที่ผลิตได้จากโรงกลั่นน้ำมันประเภท Hydro skimming เพราะน้ำมันหนักที่กลั่นได้จะถูกทำให้แตกตัวที่หน่วย cracking เปลี่ยนสภาพเป็นน้ำมันเบาชนิดต่างๆ ที่มีมูลค่าสูงขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] | Cracking | กระบวนการที่ทำให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนักแตกตัวเป็นโมเลกุลที่เล็กลง, Example: เป็นการทำให้น้ำมันหนักแตกตัวให้เป็นน้ำมันเบาที่มีมูลค่าสูงขึ้น ถ้าทำให้โมเลกุลแตกตัวด้วยความร้อน เรียกว่า Thermal cracking ถ้าแตกตัวโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา เรียกว่า catalytic (cat) cracking และถ้ากระบวนการ cat cracking เกิดขึ้นในบรรยากาศก๊าซไฮโดรเจน เรียกว่า hydrocracking [ปิโตรเลี่ยม] | Hydrocarbon | ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียม, ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมไม่ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมันดิบ คือ คาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) ในรูปของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon) นอกจากนี้ก็มีสารอื่นๆที่เป็นส่วนประกอบของปิโตรเลียม เช่น กำมะถัน (S) ไนโตรเจน (N) และอื่นๆ, Example: สารที่นอกเหนือจากไฮโดรคาร์บอนถือเป็นสิ่งแปลกปลอมและไม่เป็นที่ต้องการ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมนั้น อาจอยู่ในสภาพของก๊าซ ของเหลว หรือของแข็ง ที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ ขึ้นอยู่กับจำนวนและการจัดตัวของอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุล โดยทั่วไปโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนไม่เกิน 4 อะตอมจะมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้ามีคาร์บอนระหว่าง 5-19 อะตอม จะมีสถานะเป็นของเหลว และถ้ามีคาร์บอนตั้งแต่ 20 อะตอมขึ้นไป จะมีสถานะเป็นของแข็ง [ปิโตรเลี่ยม] | Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] | Atomic mass | มวลเชิงอะตอม, อัตราส่วนของมวลเฉลี่ยต่ออะตอมของธาตุใด ๆ ต่อ 1/12 ของมวลคาร์บอน-12 หนึ่งอะตอม แต่เดิมใช้คำว่าน้ำหนักเชิงอะตอม (atomic weight, A) เช่น มวลเชิงอะตอมของคลอรีน เท่ากับ 35.5 หมายถึง คลอรีน 1 อะตอม หนักเป็น 35.5 เท่าของ 1/12 ของมวลคาร์บอน-12 หนึ่งอะตอม, Example: [นิวเคลียร์] | Atomic Mass Unit | หน่วยมวลอะตอม, หน่วยของมวล โดยหนึ่งหน่วยมีค่าเท่ากับ 1/12 ของมวลหนึ่งอะตอมของคาร์บอน-12 ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1.66033 10–27 กิโลกรัม หน่วยนี้ใช้สำหรับอะตอมและโมเลกุล [นิวเคลียร์] | Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Carbon-14 dating | การหาอายุจากคาร์บอน-14, ดู Radiocarbon dating [นิวเคลียร์] | Coolant | ตัวทำให้เย็น, สารระบายหรือถ่ายโอนความร้อนที่หมุนเวียนในระบบระบายความร้อนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก อากาศ คาร์บอนไดออกไซด์ โซเดียมเหลว และโลหะผสมโซเดียม-โพแทสเซียม [นิวเคลียร์] | Cosmogenic radionuclides | นิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดจากรังสีคอสมิก, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นเมื่อรังสีคอสมิกชนกับโมเลกุลของแก๊สในชั้นบรรยากาศของโลก เช่น ทริเทียม (<sup>3</sup>H) คาร์บอน-14 (C-14) โซเดียม-22 (Na-22) และ เบริลเลียม-7 (Be-7) [นิวเคลียร์] | Chlorofluorocarbon | คลอโรฟลูออโรคาร์บอน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Radiocarbon dating | การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี, การหาอายุของวัตถุโบราณโดยหาปริมาณของคาร์บอน-14 เทียบกับคาร์บอนทั้งหมดที่มีอยู่ในวัตถุนั้น วิธีนี้เหมาะสำหรับหาอายุของวัตถุโบราณที่มีอายุสูงสุดประมาณ 100, 000 ปี ดร. ดับเบิลยู. เอฟ. ลิบบี (Dr. W. F. Libby) เป็นผู้ค้นพบวิธีการนี้ <br>(ดู carbon-14 ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Radioactive dating | การหาอายุจากสารกัมมันตรังสี, การหาอายุของวัตถุหรือตัวอย่างโดยใช้สัดส่วนของสารกัมมันตรังสีหรือผลผลิตจากการสลายกัมมันตรังสีที่มีในวัตถุนั้น เช่น ใช้สัดส่วนของคาร์บอน-14 ต่อคาร์บอนทั้งหมดบอกอายุของกระดูก ไม้ หรือตัวอย่างวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ หรือใช้สัดส่วนของโพแทสเซียม-40 ต่ออาร์กอน-41 บอกอายุของหินหรือแร่ที่มีโพแทสเซียมเป็นองค์ประกอบได้ <br>(ดู carbon-14 ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] | Carbon, Activated | คาร์บอนกัมมันต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Carbon dioxide | คาร์บอนไดออกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Carbon dioxide laser | คาร์บอนไดออกไซด์เลเซอร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Carbon monoxide | คาร์บอนมอนอกไซด์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Carbonization | คาร์บอนไนเซชัน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Naturally occurring radionuclides | นิวไคลด์กัมมันตรังสีตามธรรมชาติ, นิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติบนพื้นโลกในปริมาณที่มีนัยสำคัญ (significant quantities) โดยทั่วไปหมายถึงนิวไคลด์กัมมันตรังสีเกิดพร้อมโลก ซึ่งได้แก่ โพแทสเซียม-40 ยูเรเนียม-235 ยูเรเนียม-238 ทอเรียม-232 และผลผลิตการสลายกัมมันตรังสีของนิวไคลด์ดังกล่าว นอกจากนี้ยังรวมถึงทริเทียมและคาร์บอน-14 ซึ่งเกิดจากกระบวนการเชิงก่อกัมมันตภาพรังสีตามธรรมชาติด้วย, Example: [นิวเคลียร์] | ICRU sphere | ทรงกลมไอซีอาร์ยู, ทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ทำจากวัสดุที่มีการตอบสนองต่อรังสีเทียบเท่ากับเนื้อเยื่อมนุษย์ โดยมีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 76.2 คาร์บอนร้อยละ 11.1 ไฮโดรเจนร้อยละ 10.1 และไนโตรเจนร้อยละ 2.6 เป็นทรงกลมที่ใช้อ้างอิงสำหรับการหาค่าปริมาณรังสีสมมูล [นิวเคลียร์] | Gas cooled reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ชนิดระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้แก๊ส เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ เป็นตัวระบายความร้อนออกจากแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ [นิวเคลียร์] | คาร์โบไฮเดรต | ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คาร์โบไฮเดรท [คำที่มักเขียนผิด] | Carbon chloroform extraction | การสกัดด้วยคาร์บอนและคลอโรฟอร์ม, Example: วิธีวัดมลพิษอินทรีย์ในน้ำ ประกอบด้วยการดูดติดสารอินทรีย์ไว้บนถ่านกัมมันต์ และสกัดออกด้วยคลอโรฟอร์ม [สิ่งแวดล้อม] | Carbon | คาร์บอน [TU Subject Heading] | Carbon content | ปริมาณคาร์บอน [TU Subject Heading] | Carbon cycle (Biogeochemistry) | วงจรคาร์บอน (ชีวธรณีเคมี) [TU Subject Heading] | Carbon dioxide | คาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] | Carbon dioxide lasers | เลเซอร์ คาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] | Carbon dioxide mitigation | การลดคาร์บอน ไดออกไซด์ [TU Subject Heading] | Carbon fibers | คาร์บอน ไฟเบอร์ [TU Subject Heading] | Carbon monoxide | คาร์บอน มอนนอคไซด์ [TU Subject Heading] | Carbon monoxide poisoning | คาร์บอน มอนนอคไซด์เป็นพิษ [TU Subject Heading] | Carbon paper | กระดาษคาร์บอน [TU Subject Heading] | Carbon sequestration | การสะสมคาร์บอน [TU Subject Heading] | Carbon steel | เหล็กกล้าคาร์บอน [TU Subject Heading] | Carbon tetrachloride poisoning | คาร์บอน เตตราคลอไรด์เป็นพิษ [TU Subject Heading] | Carbon, Activated | คาร์บอนกัมมันต์ [TU Subject Heading] | Carbon-black | คาร์บอน แบล็ก [TU Subject Heading] | Carbon-black industry | อุตสาหกรรมคาร์บอน แบล็ก [TU Subject Heading] | Chlorofluorocarbons | คลอโรฟลูออโรคาร์บอน [TU Subject Heading] | Hydrocarbons | ไฮโดรคาร์บอน [TU Subject Heading] | Mild steel | เหล็กกล้าคาร์บอนต่ำ [TU Subject Heading] | Polycyclic aromatic hydrocarbons | โพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน [TU Subject Heading] |
| อะตอมคาร์บอน | [atǿm khābǿn] (n, exp) FR: atome de carbone [ m ] | ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ | [kāt khābøn daiøksai] (n, exp) EN: carbon dioxide | คาร์บอน | [khābǿn] (n) EN: carbon FR: carbone [ m ] | คาร์บอนไดออกไซด์ | [khābǿn daiǿksāi] (n, exp) EN: carbon dioxide FR: dioxyde de carbone [ m ] | คาร์บอนไฟเบอร์ | [khābøn faiboē] (n, exp) EN: carbon fibre FR: fibre de carbone [ f ] | คาร์บอนมอนอกไซด์ | [khābøn mønǿksāi] (n, exp) EN: carbon monoxide FR: monoxyde de carbone [ m ] | กระดาษคาร์บอน | [kradāt khābøn] (n, exp) EN: carbon paper FR: papier carbone [ m ] | กรดคาร์บอนิก | [krot khābønik] (n, exp) EN: carbonic acid ; H2CO3 FR: acide carbonique [ m ] ; H2CO3 | ท่อนาโนคาร์บอน | [thø nānō khābǿn] (n, exp) EN: carbon nanotubes FR: nanotube en carbone [ mpl ] |
| benzene | (n) สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนอย่างละหกอะตอม | benzine | (n) น้ำมันเบนซิน (น้ำมันที่กลั่นได้จากน้ำมันดิบ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ระเหยง่ายและติดไฟได้), Syn. benzin |
| alloy steel | (n) เหล็กกล้าผสมคาร์บอนและธาตุอื่น ๆ | carbide | (n) สารประกอบของธาตุคาร์บอน | carbon | (n) คาร์บอน, See also: ธาตุทางเคมีชนิดหนึ่ง มีสัญลักษณ์ C | carbon copy | (n) สำเนาเอกสารที่คัดลอกโดยการใช้กระดาษคาร์บอน, Syn. CC (คำย่อของ carbon copy) | carbon dating | (n) การคำนวณอายุของวัตถุเก่าแก่โดยดูจากปริมาณคาร์บอน, Syn. carbon-14 dating, carbon-14 method, radioactive dating | carbon dioxide | (n) ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์, See also: ก๊าซที่เกิดขึ้นเมื่อสัตว์หรือคนหายใจออก, Syn. carbonic acid gas | carbon monoxide | (n) คาร์บอนมอนอกซ์ไซด์, See also: ก๊าซชนิดหนึ่งไม่มีสีไม่มีกลิ่น มีพิษต่อร่างกาย มีสัญลักษณ์ CO | carbon paper | (n) กระดาษคาร์บอนที่ใช้ในการคัดลอกเอกสาร, Syn. carbon | carbonaceous | (adj) ที่ประกอบด้วยคาร์บอน | carbonate | (n) เกลือของกรดคาร์บอน | carbonate | (n) ที่เติมคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป | carbonated | (adj) ที่มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ | carbonise | (vt) ทำให้เปลี่ยนเป็นคาร์บอน, Syn. carbonize | carbonise | (vi) เปลี่ยนเป็นคาร์บอน, Syn. carbonize | carbonize | (vt) ทำให้เปลี่ยนเป็นคาร์บอน, Syn. carbonise | carbonize | (vi) เปลี่ยนเป็นคาร์บอน, Syn. carbonise | cast iron | (n) เหล็กชนิดหนึ่งมีคาร์บอนสูงทำให้แข็งแต่เปราะง่าย | charcoal | (n) ถ่าน, See also: ถ่านไม้, ถ่านที่เกิดจากการเผาไหม้ของคาร์บอน, Syn. wood coal | ethyl | (n) อนุมูลทางเคมี มีคุณสมบัติไวไฟ, See also: สารเคมีที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจน | hydrocarbon | (n) สารไฮโดรคาร์บอน | napthalene | (n) สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากน้ำมันดิน, Syn. camphor | organic chemistry | (n) อินทรีย์เคมี, See also: การศึกษาเกี่ยวกับองค์ประกอบของสารคาร์บอน | pantane | (n) สารไฮโดรคาร์บอน | radiocarbon | (n) กัมมันตภาพรังสีในรูปของคาร์บอนที่ใช้คำนวณอายุของอินทรีย์วัตถุ |
| acapnia | การขาดคาร์บอนไดออกไซด์อย่างสิ้นเชิงในโลหิต | alkalimeter | (แอลคะลิม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดปริมาณคาร์บอนไดอ๊อคไซด์. -alkalimetric (al) adj. -alkalimetry n. | alloy steel | เหล็กกล้าผสมคาร์บอนและธาตุอื่น ๆ เช่น โครเมียม โคบอลท์, ทองแดง, แมงกานีส, นิเกิล, ทั้งสเตน | atomic mass | มวลอะตอม, หน่วยของมวลที่เท่ากับ 1/12 ของมวลของอะตอมของคาร์บอน | austenite | (ออส'ทะไนทฺ) n. สารละลาย (หลอดเหลว) ของคาร์บอนและธาตุอื่น ๆ ในเหล็ก | autotype | (ออ'โทไทพ) n. สิ่งที่ประดิษฐ์จากแบบเดิม, ขบวนการพิมพ์ ด้วยสารสีคาร์บอน. -autotype n. -autotypic adj. (facsimile) | bicarbonate | n. เกลือของคาร์บอนิคแอซิด | c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม | carb- | Pref. "ธาตุคาร์บอน์" | carbide | Pref. n. สารประกอบคาร์บอนที่มีธาตุหรือกลุ่มธาตุที่มีประจุบวก, แคลเซี่ยมคาร์ไบด์ | carbo- | Pref. ธาตุคาร์บอน | carbon | (คาร์'บอน) n. ธาตุคาร์บอน | carbon 14 | n. ธาตุคาร์บอนกัมมันตภาพรังสี. ดู radiocarbon | carbon black | n. คาร์บอนดำสนิทที่ใช้เป็นสีย้อมใช้ในอุตสาหกรรมและเป็นตัวกรองสี | carbon dioxide | n. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ | carbon paper | n. กระดาษก๊อปปี้, กระดาษคาร์บอน, กระดาษสำเนา | carbon-14 | n. ธาตุคาร์บอนกัมมันตภาพรังสี. ดู radiocarbon | carburet | (คาร์'บะเรท) vt. ผสมกับคาร์บอนหรือไฮโดรคาร์บอน | carotene | (แค'ระทีน) n. ไฮโดรคาร์บอนสีแดงที่พบในพืชหลายชนิด | cast iron | n. โลหะผสมของเหล็กคาร์บอนและธาตุอื่น ๆ , เหล็กหล่อ | chokedamp | n. บรรยากาศในเหมืองซึ่งมีปริมาณแก๊สออกซิเจนน้อย แต่มีปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์สูง | decarbonise | vt. เอาคาร์บอนออก., See also: decarboniz s ation n. การเอาคาร์บอนออก. decarboniz s er n. สิ่งที่เอาคาร์บอนออก. | decarbonize | vt. เอาคาร์บอนออก., See also: decarboniz s ation n. การเอาคาร์บอนออก. decarboniz s er n. สิ่งที่เอาคาร์บอนออก. | dry ice | n. คาร์บอนไดออกไซด์แข็งใช้เป็นตัวทำให้เย็น | gasolene | (แกส'ซะลีน) n.น้ำมันเชื้อเพลิงจากปิโตรเลียม เป็นส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน, See also: gasolinic adj., Syn. petrol | gasoline | (แกส'ซะลีน) n.น้ำมันเชื้อเพลิงจากปิโตรเลียม เป็นส่วนผสมของไฮโดรคาร์บอน, See also: gasolinic adj., Syn. petrol | graphite | (แกรฟ'ไฟทฺ) n. แร่คาร์บอนที่ใช้ทำดินสอ, ตะกั่วดำ., See also: graphitic adj. | octane | (ออค'เทน) n. สารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง | photosynthesis | (โฟโทซิน'ธิซิส) n. กระบวนการที่พืชสร้างคาร์โบไฮเดรตโดยรวมกันกับคาร์บอนไดอ๊อคไซด์และน้ำเมื่อมีแสงกับคลอ-โรฟิลล์., See also: photosynthetic adj. | secondary | (เซค'เคินเดอริ) adj. ที่สอง, ลำดับสอง, ทุติยะ, อันดับรอง, รอง, สำรอง, ทีหลัง, ต่อเนื่อง, สังกัด, ได้มาจาก, ไม่สำคัญ, ส่งเสริม, ส่วนเสริม, เกี่ยวกับโรงเรียนมัธยม, เกี่ยวกับคาร์บอนอะตอมที่รวมตัวกับอีกสองคาร์บอนอะตอม, เป็นอนุพันธุ์, เกี่ยวกับอดีต, เกี่ยวกับการเน้นเสียงที่สอง | washing soda | n. โซเดียมคาร์บอนเนตหรือโซดาซักผ้า | wrought iron | n. เหล็กในรูปที่ค่อนข้างบริสุทธิ์เกือบจะไม่มีคาร์บอน, See also: wrought-iron adj. |
| | cabonation | [คาบอเนชั่น] (n) การอัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อทำให้เป็นน้ำอัดลม, ความอิ่มตัวของกรดถ่าน, การเติมเกลือกรดถ่าน, การเป็นถ่าน | drapery | (n) ม่านหินปูน, หินที่มีลักษณะคล้ายม่าน เกิดจากน้ำที่มีสารคาร์บอเนตสูงที่ไหลตามผนังที่เอียง หยดน้ำทีละหยดที่ไหลผ่านไปตามแนวเดิม เมื่อน้ำเกิดสูญเสียก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์จึงทำให้เกิดการตกตะกอนของแร่แคลไซต์มีลักษณะเป็นแผ่นบาง และมักจะโปร่งแสงงอกยาวขึ้นเรื่อยๆ | trypticase soy agar | [วุ้น-ถั่ว-เหลือง-ทริป-ติ-เคส] (n, name) วุ้นถั่วเหลืองทริปติเคส (Trypticase soy agar) หรือเรียกสั้นๆว่า (TSA) เป็นอาหารเลี้ยงเชื้อแบคทีเรีย ประกอบด้วยเคซีนและถั่วเหลืองที่ถูกย่อยด้วยเอนไซม์ซึ่งเป็นแหล่งของกรดอะมิโนและธาตุอาหารอื่นๆ มีเดกซ์โตสเป็นแหล่งคาร์บอน มีโซเดียมคลอไรด์เพื่อรักษาแรงดันออสโมติก และไดโพแทสเซียมฟอสเฟตเป็นบัฟเฟอร์ อาหารนี้อาจจะเพิ่มเลือดหรือยาปฏิชีวนะตามแต่ความต้องการในการเลี้ยงเชื้อ อาหาร 1 ลิตรประกอบไปด้วย 15 g (ทริปโตน) 5 g (ซอยโตน — ถั่วเหลืองที่ย่อยด้วยเอนไซม์) 5 g (NaCl หรือโซเดียมคลอไรด์) 15 g (วุ้น) | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
| 炭化物 | [たんかぶつ, tankabutsu] (n) สารประกอบคาร์บอน | 二酸化炭素 | [にさんかたんそ, nisankatanso] คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ คาร์บอนไดอ็อกไซด์ คาร์บอนไดอ๊อกไซ คาร์บอนไดอ็อกไซ CO2 | 炭素14年代測定 | [たんそ14ねんだいそくてい, tanso 14 nendaisokutei] การหาอายุจากคาร์บอน 14, See also: R. 炭素14年代測定, carbon 14 dating | 炭酸 | [たんさん, tansan] (n) กรดคาร์บอนิก, See also: R. carbonic acid | 一酸化炭素 | [いっさんかたんそ, issankatanso] (n) คาร์บอนมอนอกไซด์, See also: R. carbon monoxide |
| Kohlenstoff | (techn) |der , nur Sg.| ธาตุคาร์บอน (เคมี) | Benzol | (n) |das, pl. Benzole| สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยคาร์บอนและไฮโดรเจนอย่างละหกอะตอม | Benzin | (n) |das, pl. Benzine| น้ำมันเบนซิน (น้ำมันที่กลั่นได้จากน้ำมันดิบ เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่ระเหยง่ายและติดไฟได้) |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |