ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แบ่งออก, -แบ่งออก- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กรมการ | (กฺรมมะ-) น. ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. | กั๊ก ๑ | ส่วน ๑ ใน ๔ ของเหล้าเทหนึ่ง, ส่วน ๑ ใน ๔ ของเหล้าขวดใหญ่ขนาด ๗๕๐ ซีซี., ส่วน ๑ ใน ๔ ของนํ้าแข็งซองหนึ่ง แบ่งออกได้เป็น ๔ มือ. | ข่า ๑ | น. คนชาวเขาจำพวกหนึ่ง แบ่งออกเป็น ๒ พวก พวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลมอญ−เขมร เช่น ข่าอัตตะปือ ข่าตองเหลือง และอีกพวกหนึ่งพูดภาษาในตระกูลอินโดนีเซียน ได้แก่ ข่าระแด และ ข่าจะราย. | คาร์โบไฮเดรต | (-เดฺรด) น. ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ส่วนใหญ่มีสูตรเคมี Cx(H2O)y แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ คือ นํ้าตาลและพอลิแซ็กคาไรด์ เป็นสารอาหารที่สำคัญมากประเภทหนึ่ง. | เคมี | น. วิทยาศาสตร์กายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งกล่าวถึงเรื่องราวและสมบัติของสารต่าง ๆ ว่าประกอบกันขึ้นเป็นสารนั้น ๆ ได้อย่างไร และเมื่อสารนั้น ๆ แปรเปลี่ยนไปเป็นสารอื่นได้ปฏิกิริยาที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้น ๆ เป็นอย่างไร ทั้งกล่าวถึงการที่จะสังเคราะห์สารนั้น ๆ ขึ้นได้อย่างไรด้วย แบ่งออกเป็นสาขาต่าง ๆ อีกหลายสาขา เช่น เคมีอินทรีย์ เคมีอนินทรีย์ ชีวเคมี เคมีกายภาพ เคมีวิเคราะห์. | แคลคูลัส | (แคน-) น. คณิตศาสตร์ชั้นสูงแขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับค่าของจำนวนที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา แบ่งออกเป็น แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ และแคลคูลัสเชิงอินทิกรัล. | งวด | น. คราวที่กำหนด เช่น การออกรางวัลสลากกินแบ่งออกเป็นงวด, ลักษณนามเรียกจำนวนนับของคราวที่กำหนด เช่น แบ่งการชำระหนี้ออกเป็น ๕ งวด. | จตุรงคนายก | (จะตุรงคะ-) น. ชื่อกลอนกลบทโบราณ มีบังคับพิเศษคือ กลอนแต่ละวรรคแบ่งออกเป็น ๔ จังหวะ จังหวะละ ๒ คำ คำเริ่มต้นของทุกจังหวะใช้คำเดียวกันซ้ำตลอด คำที่ ๒ กับคำที่ ๔ ใช้เสียงพยัญชนะเดียวกัน และคำที่ ๖ กับคำที่ ๘ ใช้เสียงพยัญชนะเดียวกัน ตัวอย่างว่า จักกรีดจักกรายจักย้ายจักย่อง ไม่เมินไม่มองไม่หมองไม่หมาง งามเนื้องามนิ่มงามยิ้มงามย่าง ดูคิ้วดูคางดูปรางดูปรุง (ชุมนุมตำรากลอน). | จักรราศี | น. อาณาเขตที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์, อาณาเขตโดยรอบดวงอาทิตย์ที่ดาวเคราะห์เดิน, วิถีโคจรประจำของดวงอาทิตย์ซึ่งดูเสมือนวนไปรอบท้องฟ้าได้ ๓๖๐ องศาใน ๑ ปี วงโคจรนี้แบ่งออกเป็น ๑๒ ส่วน หรือ ๑๒ ราศี แต่ละส่วนหรือแต่ละราศีมีช่วง ๓๐ องศา ได้แก่ ราศีเมษ ราศีพฤษภ ราศีเมถุน ราศีกรกฎ ราศีสิงห์ ราศีกันย์ ราศีตุลหรือราศีดุล ราศีพฤศจิกหรือราศีพิจิก ราศีธนู ราศีมังกร ราศีกุมภ์ และราศีมีน, วงโคจรของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ที่สมมุติขึ้นทางโหราศาสตร์ ประกอบด้วย ๑๒ ราศี. | ช่วงชัย | น. การเล่นพื้นเมืองอย่างหนึ่ง นิยมเล่นในเทศกาล เช่นสงกรานต์ มีผู้เล่นหลายคน แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ชายฝ่ายหนึ่ง หญิงฝ่ายหนึ่ง ยืนหันหน้าเข้าหากัน ห่างพอที่จะใช้ลูกช่วงที่ทำด้วยผ้าขาวม้าเป็นต้นม้วนเป็นลูกกลม ๆ ผูกให้แน่นโยนหรือปาใส่กัน ถ้าฝ่ายใดรับได้แล้วปาไปถูกคนใดคนหนึ่งของฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ถูกปาเป็นฝ่ายแพ้ มี ๓ ชนิด คือ ช่วงรำ ผู้แพ้ต้องออกไปรำ ช่วงใช้ ผู้แพ้ต้องไปอยู่อีกข้างหนึ่ง และช่วงขี้ข้า ผู้แพ้ต้องให้อีกฝ่ายหนึ่งขี่หลัง. | ซอง | หน่วยของปริมาณของแท่งน้ำแข็งก้อนใหญ่ แบ่งออกได้เป็น ๔ กั๊ก | เซนติเกรด | (-เกฺรด) น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซนติเกรด, ปัจจุบันใช้ องศาเซลเซียส, อักษรย่อว่า ซ. | เซลเซียส | น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซลเซียส เดิมเรียกว่า องศาเซนติเกรด กำหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา (เขียนย่อว่า ๐ ºซ.) และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๑๐๐ องศา (เขียนย่อว่า ๑๐๐ ºซ.), อักษรย่อว่า ซ. | โซ่ลาน | น. โซ่เหล็กกว้างประมาณ ๔ มิลลิเมตร หนา ๐.๕ มิลลิเมตร ไม่ยืดหรือหดในทุกอุณหภูมิ มี ๒ ขนาด คือ ยาว ๔๐ เมตร และ ๕๐ เมตร ทั้ง ๒ ขนาด แบ่งออกเป็น ๑๐๐ ข้อต่อกัน ใช้วัดที่ดิน. | ตรียมก | (ตฺรียะมก) น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดบังคับวรรคละ ๙ คำ วรรคหนึ่งแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง ให้ใช้พยัญชนะที่มีเสียงพ้องกัน ๒ เสียงในแต่ละช่วง เช่น สิ้นอาสัญในอาศรมที่อาศรัย อนาถใจอนาโถโอ้อางขนาง พระองค์เดียวพระอับเปลี่ยวพระองค์นาง ม้วยชีพวางสิ้นชีวาตม์ขาดชีวัง (ศิริวิบุลกิตติ). | ตอน ๑ | น. ส่วนหนึ่ง ๆ ที่แบ่งออกจากส่วนใหญ่ (ใช้แก่สิ่งที่มีความยาว) เช่น ถนนวิภาวดีรังสิตตอนที่ผ่านดอนเมืองรถติดมาก โขนแสดงตอนหนุมานเผาลงกา ขอให้มาตอนเช้า ตอนเหนือของประเทศไทย. | เต่าหับ ๑ | น. ชื่อเต่านํ้าจืดขนาดกลางชนิด Cuora amboinensis (Daudin) ในวงศ์ Emydidae หัวสีดำมีลายสีเหลืองตามขอบหัวด้านบน ที่พบในประเทศไทยกระดองหลังโค้งนูนมาก ที่พบในต่างประเทศกระดองหลังแบน กระดองท้องเป็นบานพับแบ่งออกเป็น ๒ ตอน และสามารถหับปิดหัว ขา และหางได้สนิท จึงเรียกว่า เต่าหับ อาศัยอยู่บนบกที่มีความชื้นมากกว่าอยู่ในน้ำ. | ทุนจดทะเบียน | น. จำนวนเงินทุนของบริษัทที่ได้จดทะเบียนไว้ตามกฎหมาย และได้กำหนดไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิของบริษัท โดยแบ่งออกเป็นหุ้นพร้อมทั้งระบุมูลค่าหุ้นที่ตราไว้ และจำนวนสูงสุดของหุ้นที่จะออกจำหน่ายได้. | ทุนเรือนหุ้น | น. ทุนจดทะเบียนของบริษัทซึ่งแบ่งออกเป็นหุ้น มีมูลค่าหุ้นละเท่า ๆ กัน. | บรรดาศักดิ์ | (บันดา-) น. ฐานันดรศักดิ์ที่พระราชทานแก่ข้าราชการหรือบุคคลทั่วไป แบ่งออกเป็น เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พัน และทนาย โดยมีราชทินนามต่อท้าย เช่น เจ้าพระยายมราช พระยาพลเทพ. | บั้น ๑ | น. ครึ่งหนึ่งหรือตอนหนึ่งของสิ่งที่แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เช่น บั้นต้น บั้นปลาย. | แบ่งแยก | ก. แบ่งออกจากกันเป็นส่วนหนึ่งต่างหาก เช่น แบ่งแยกโฉนดที่ดิน. | ปี่ไฉน | (-ฉะไหฺน) น. ชื่อปี่ชนิดหนึ่งขนาดเล็กมาก ทำด้วยไม้หรืองาแบ่งออกเป็น ๒ ท่อน ถอดจากกันได้ ท่อนบนเรียกว่า เลาปี่ ท่อนล่างเรียกว่า ลำโพง มีลิ้นทำด้วยใบตาลผูกติดกับปลายท่อลมเล็กที่เรียกว่า กำพวด. | ภาค, ภาค- | (พาก, พากคะ-) น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. | ภาคเรียน | น. ช่วงเวลาที่สถานศึกษาเปิดทำการสอนติดต่อกัน ตามปรกติปีการศึกษาหนึ่ง ๆ จะแบ่งออกเป็น ๒-๓ ภาคเรียน. | มณฑล | (มนทน) น. วง เช่น สุริยมณฑล คือ วงรอบดวงอาทิตย์ จันทรมณฑล คือ วงรอบดวงจันทร์, บริเวณ เช่น มณฑลพิธี, เขตปกครองที่แบ่งออกเป็นส่วนใหญ่ ๆ | แมลง | (มะแลง) น. ชื่อสัตว์ขาปล้องในชั้น Hexapoda (Inseeta) มีการเจริญเติบโตโดยการลอกคราบ ระยะโตเป็นตัวเต็มวัยร่างกายแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน เห็นชัดเจน ได้แก่ ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง มีขนาดแตกต่างกันมาก มีขา ๖ ขา มีหนวดหนึ่งคู่ เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังพวกเดียวที่มีปีก ซึ่งส่วนใหญ่มี ๒ คู่ ยกเว้นบางพวกมี ๑ คู่ หรือไม่มี เป็นสัตว์พวกที่มีจำนวนชนิดมากที่สุดในโลก พบได้ทั่วไป. | เรือฟริเกต | น. เรือรบที่มีความเร็วสูง มีระวางขับน้ำประมาณ ๑, ๕๐๐-๓, ๕๐๐ ตัน แบ่งออกได้เป็นหลายประเภทตามระบบอาวุธประจำเรือ อาทิ เรือฟริเกตต่อสู้อากาศยาน เรือฟริเกตควบคุมอากาศยาน เรือฟริเกตปราบเรือดำน้ำ และเรือฟริเกตอเนกประสงค์. | ฤดู | (รึ-) น. ส่วนของปีซึ่งแบ่งโดยถือเอาภูมิอากาศเป็นหลัก มักแบ่งออกเป็น ๓ ช่วง คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน หรือเป็น ๔ ช่วง คือ ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง และฤดูหนาว ที่แบ่งเป็น ๒ ช่วง คือ ฤดูแล้งกับฤดูฝน ก็มี, เวลาที่กำหนดสำหรับงานต่าง ๆ เช่น ฤดูเก็บเกี่ยว ฤดูทอดกฐิน ฤดูถือบวช, เวลาที่เหมาะ เช่น ฤดูสัตว์ผสมพันธุ์ | ลิปดา | น. มาตราวัดมุม ได้แก่เศษ ๑ ใน ๖๐ ขององศา แบ่งออกเป็น ๖๐ พิลิปดา. | วิ่งผลัด | น. การแข่งขันชนิดหนึ่ง แบ่งออกเป็นชุด ๆ ชุดละ ๔ คน แต่ละชุดจัดคนยืนอยู่ในลู่ของตนตามจุดต่าง ๆ ที่กำหนด คนแรกจะเริ่มวิ่งจากต้นทาง แล้วส่งไม้ให้คนที่ ๒ คนที่ ๒ วิ่งไปส่งให้คนที่ ๓ และคนที่ ๓ วิ่งไปส่งให้คนที่ ๔ ตามลำดับ คนที่ ๔ ของชุดใดวิ่งถึงหลักชัยก่อนเป็นผู้ชนะ. | ส่วน | แผนกย่อย, ฝ่าย, เช่น งานกองนี้แบ่งออกเป็นหลายส่วน, ตอน, ท่อน, เช่น เรื่องนี้แบ่งออกเป็น ๕ ส่วน | สามแหยม | น. เรียกปอยผมที่แบ่งออกเป็น ๓ ส่วนเพื่อเตรียมโกนจุก (ใช้แก่พระองค์เจ้าลงมาถึงสามัญชน). | แสก ๑ | ว. เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนเท่า ๆ กัน ว่า ผมแสกกลาง, เรียกผมที่หวีแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนไม่เท่ากัน ว่า ผมแสกข้าง. | หอย | น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัม Mollusca มีเปลือกหุ้มตัว ส่วนใหญ่แบ่งออกได้เป็น ๒ จำพวก ตามลักษณะเปลือก คือ จำพวกกาบเดี่ยว เช่น หอยขม (Filopaludina doliaris Gould) และจำพวกกาบคู่ เช่น หอยนางรม [ Saccostrea forskali (Gmelin) ] ที่มีเป็นส่วนน้อยเป็นพวกที่มีเปลือกแตกต่างออกไป เช่น หอยงาช้าง ชนิด Dentalium longitrorsum Reeve หอยงวงช้าง ชนิด Nautilus pompilius (Linn.). | ออก ๓ | ขยาย, แยกเป็นคนละส่วน, เช่น คลี่ออก แบ่งออก | ฮอกกี้ | น. กีฬากลางแจ้งชนิดหนึ่ง เล่นในสนามหรือบนลานนํ้าแข็งก็ได้ ผู้เล่นแบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ฝ่ายละ ๑๑ คน ทั้ง ๒ ฝ่ายพยายามใช้ไม้ตีลูกให้เข้าไปในประตูของฝ่ายตรงข้าม. |
| ASEAN Award | รางวัลอาเซียน " แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทบุคคลและประเภทองค์กร เพื่อ ยกย่องและให้การรับรองผลงานที่มีความโดดเด่นในการส่งเสริมและการพัฒนาความ ร่วมมือในภูมิภาคอาเซียน " [การทูต] | Bangkok Plan of Action | แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด [การทูต] | Bi-Polar | มหาอำนาจสองขั้วหรือสองค่าย ในช่วง 40 ปี ของสงครามเย็น ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2490 โลกแบ่งออกเป็นมหาอำนาจสองขั้ว ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และสหภาพโซเวียต [การทูต] | Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] | Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | head of consular post | หัวหน้าสถานทำการทางกงสุล " หมายถึงบุคคลที่ได้รับมอบหน้าที่ให้กระทำการในฐานะนั้น หัวหน้าสถานทำการทางกงสุลแบ่งออกเป็น 4 ชั้น คือ (1) กงสุลใหญ่ (2) กงสุล (3) รองกงสุล (4) ตัวแทนทางกงสุล (อนุสัญญากรุงเวียนนา ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล พ.ศ. 2506) " [การทูต] | Head of Diplomatic Mission | บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจากรัฐผู้ส่งให้ทำหน้าที่ เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ในกรณีของสถานเอกอัครราชทูตผู้ที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทน ทางการทูต เรียกว่า เอกอัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม (Ambassador Extraordinary and plenipotentiary) หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะได้แก่ อัครราชทูตวิสามัญและมีอำนาจเต็ม หรือเรียกว่าอุปทูต (Chargé d?Affaires entitre) คองเกรสแห่งเวียนนาและที่ประชุมแห่งเอกซ์ ลา ชา แปล (Congress of Aix-la-Chapelle) ได้จำแนกหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตไว้ดังต่อไปนี้ คือ1. เอกอัครราชทูต (Ambassadors) หรือเอกอัครสมณทูต (Papal Nucios)2. อัครราชทูต (Envoys Extraordinary and Ministers Plenipotentiary)3. อัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนัก (Mission Resident)4. อุปทูต (Chargé d?Affaires)แต่อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตร 14 ว่า?1. หัวหน้าคณะผู้แทนแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือก. ชั้นเอกอัครราชทูตหรือเอกอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐ และหัวหน้าคณะผู้แทนอื่นที่มีชั้นเท่ากันข. ชั้นรัฐทูต อัครราชทูต และอัครสมณทูต ซึ่งแต่งตั้งไปยังประมุขของรัฐค. ชั้นอุปทูตซึ่งแต่งตั้งไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 2. ข้อยกเว้นที่เกี่ยวกับลำดับอาวุโสและมารยาท ต้องไม่ให้มีความแตกต่างกันระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทน ในมาตรา 15 ก็ได้ระบุว่า ชั้นที่กำหนดให้แก่หัวหน้าคณะผู้แทนนั้น ต้องทำความตกลงกันระหว่างรัฐ? [การทูต] | Parliamentary Diplomacy | การทูตแบบรัฐสภา หรือบางครั้งเรียกว่า Organization Diplomacy เช่น การทูตในองค์การสหประชาชาติ การทูตแบบนี้ต่างกับการทูตตามปกติที่ดำเนินกันในนครหลวงของประเทศ กล่าวคือ1. นักการทูตมีโอกาสติดต่อโดยใกล้ชิดกับสื่อมวลชนและกับนัการทูตด้วยกันจาก ประเทศอื่น ๆ รวมทั้งจากประเทศที่ไม่เป็นมิตรภายในองค์การสหประชาติ มากกว่าในนครหลวงของประเทศ แต่มีโอกาสน้อยกว่าที่จะติดต่อกับคนชาติของตนอย่างใกล้ชิด2. การพบปะติดต่อกับบรรดานักการทูตด้วยกันในองค์การสหประชาชาติ จะเป็นไปอย่างเป็นกันเองมากกว่าในนครหลวงของประเทศ3. ในองค์การสหประชาติ ประเทศเล็ก ๆ สามารถมีอิทธิพลในการเจรจากับประเทศใหญ่ ๆ ได้มากกว่าในนครของตน เพราะตามปกติ นักการทูตในนครหลวงมักจะติดต่ออย่างเป็นทางการกับนักการทูตในระดับเดียวกัน เท่านั้น แต่ข้อนี้มิได้ปฏิบัติกันอย่างเคร่งครัดนักในสหประชาชาติ ในแง่การปรึกษาหารือกันระหว่างกลุ่ม ในสมัยก่อนที่สงครามเย็นจะสิ้นสุดในสหประชาชาติได้แบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม (Blocs) ด้วยกัน คือกลุ่มเอเชียอัฟริกา กลุ่มเครือจักรภพ (Commonwealth) กลุ่มคอมมิวนิสต์ กลุ่มละตินอเมริกัน กลุ่มยุโรปตะวันตก กลุ่มสแกนดิเนเวีย และกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ ประเทศที่มิได้ผูกพันเป็นทางการกับกลุ่มใด ๆ ที่กล่าวมา อนึ่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับสงครามเย็น สมาชิกประเทศในสหประชาชาติจะรวมกลุ่มกันตามแนวนี้ คือ ประเทศนิยมฝักใฝ่กับประเทศฝ่ายตะวันตก (Pro-West members) ประเทศที่นิยมค่ายประเทศคอมมิวนิสต์ (Pro-Communist members) และประเทศที่ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายใด (Non-aligned members)เกี่ยวกับเรื่องการทูตในการประชุมสหประชาชาติ ในสมัยสงครามเย็น นักการทูตชั้นนำของอินเดียผู้หนึ่งให้ข้อวิจารณ์ว่า ไม่ว่าจะเป็นการประชุมพิจารณากัน การทะเลาะเบาะแว้งด้วยคำผรุสวาทหรือการแถลงโผงผางต่อกันนั้น ล้วนเป็นลักษณะที่ตรงกันข้ามกับลักษณะวิสัยของการทูตทั้งสิ้น ดังนั้น สิ่งที่เป็นไปในการประชุมสหประชาชาติ จึงแทบจะเรียกไม่ได้เลยว่าเป็นการทูต เพราะการทูตที่แท้จริงจะกระทำกันด้วยอารมณ์สงบ ใช้ความสุขุมคัมภีรภาพ ปราศจากกามุ่งโฆษณาตนแต่อย่างใด การแสดงต่าง ๆ เช่น สุนทรพจน์และภาพยนตร์นั้นจะต้องมีผู้ฟังหรือผู้ชม แต่สำหรับการทูตจะไม่มีผู้ฟังหรือผู้ชม (Audience) หากกล่าวเพียงสั้น ๆ ก็คือ ผู้พูดในสหประชาชาติมุ่งโฆษณาหาเสียง หรือคะแนนนิยมจากโลกภายนอก แต่ในการทูตนั้น ผู้พูดมุ่งจะให้มีการตกลงกันให้ได้ในเรื่องที่เจรจากันเป็นจุดประสงค์สำคัญ [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] | United Nations Security Council | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ " ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวรที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] | Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] | World Intellectual Property Organization | องค์การเกี่ยวกับสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาที่ เกี่ยวกับการค้า ถือกำเนิดจากอนุสัญญากรุงปารีส ปี ค.ศ. 1883 และอนุสัญญากรุงเบอร์นส์ ปี ค.ศ. 1886 ว่าด้วยการคุ้มครองงานวรรณกรรมและศิลปกรรมอนุสัญญาจัดตั้งองค์การเกี่ยวกับ สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาเกี่ยวกับการค้านี้ ได้มีการลงนามกันเมื่อปี ค.ศ. 1967 และมีผลใช้บังคับตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 เป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งของสหประชาชาติ และมีประเทศที่เป็นสมาชิกขององค์การแล้วรวม 155 ประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการให้ทรัพย์สินทางปัญญาที่มีอยู่ทั่วโลกได้รับการธำรงรักษาและเพิ่ม ขึ้น ทั้งนี้ เพื่อจะกระตุ้นให้มีการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและวัฒนธรรม และเอื้ออำนวยต่อการถ่ายทอดวิทยาการเทคโนโลยี รวมทั้งให้เผยแพร่งานวรรณกรรม และศิลปกรรม ทรัพย์สินทางปัญญาแบ่งออกได้เป็นสองประเภทใหญ่ ๆ คือ ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม และทรัพย์สินทางลิขสิทธิ์กับสิทธิที่ใกล้เคียงองค์การมีสำนักเลขาธิการตั้ง อยู่ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ตำแหน่งหัวหน้าขององค์การนี้ เรียกว่า ผู้อำนวยการใหญ่ ซึ่งขณะนี้ได้แก่ Dr.Arpad Bogsch [การทูต] | Vulcanizing agent | สารเคมีสำหรับผสมในยางเพื่อทำให้ยางเกิดการเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุล เกิดเป็นโครงสร้างตาข่ายสามมิติ (โครงสร้างร่างแห) ขึ้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระบบใหญ่ๆ ได้แก่ ระบบที่ใช้กำมะถัน ระบบที่ใช้เพอร์ออกไซด์ และระบบที่ใช้สารเคมีอื่นๆ เช่น โลหะออกไซด์ [เทคโนโลยียาง] | Compartmentation | การสภาคห้อง, การแบ่งออกเป็นส่วน, ความเข้ากันได้, ความสอดคล้องต้องกัน [การแพทย์] | Cotyledon | เนื้อรกที่ถูกแบ่งออกเป็นส่วนๆ [การแพทย์] | Embryo splitting | Embryo splitting, การโคลนนิ่งตัวอ่อน (embryo cloning) เนื่องจากเป็นการทำให้เกิดตัวอ่อนหลายตัวที่มีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกัน โดยที่เซลล์ของตัวอ่อนจะถูกแบ่งออกไปตั้งแต่เซลล์ยังอยู่ในระยะที่สามารถ แบ่งตัวเพื่อเกิดตัวอ่อนที่เหมือนกันได้ และเซลล์ที่ถูกแยกไปจะสามารถพัฒนาเป็นตัว [ชีวจริยธรรม] | cytoplasm | ไซโทพลาซึม, ของเหลวภายในเซลล์ที่อยู่รอบนิวเคลียส มีสารอินทรีย์พวกโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันเป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ไซโทพลาซึมแบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เอ็กโทพลาซึมและเอนโดพลาซึม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pituitary gland | ต่อมใต้สมอง, ต่อมไร้ท่อที่ติดกับส่วนล่างของสมองส่วนไฮโพทาลามัส ต่อมนี้แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหน้า ส่วนกลาง และส่วนหลัง แต่ละส่วนสร้างฮอร์โมนต่าง ๆ กัน ฮอร์โมนเหล่านี้จะควบคุมต่อมไร้ท่อเกือบทั้งหมดของร่างกาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | insect | แมลง, อาร์โทรพอดพวกหนึ่ง มีขา 3 คู่ ลำตัวแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว อก และท้อง เช่น ยุง มด เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | quadrant | ควอดรันต์ (จตุภาค), พื้นที่ในระนาบที่แบ่งโดยแกน X และแกน Y แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่อยู่ทางขวาของแกน Y และเหนือแกน X เรียกว่าควอดรันต์ที่ 1 ส่วนที่อยู่ทางซ้ายของแกน Y และเหนือแกน X เรียกว่าควอดรันต์ที่ 2 ส่วนที่อยู่ทางซ้ายของแกน Y และใต้แกน X เรียกว่าควอดรันต์ที่ 3 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | rock | หิน, สารแข็งที่รวมตัวกันอยู่เป็นเปลือกโลก อาจประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็ได้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ หินอัคนี หินตะกอน และหินแปร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | sub species | ซับสปีชีส์, กลุ่มย่อยของสปีชีส์สมาชิกของกลุ่มย่อยนี้มีลักษณะคล้ายคลึงกันและแตกต่างกันบางประการ แต่ความแตกต่างนั้นยังไม่มากจนถึงขั้นที่จะแบ่งออกเป็นสปีชีส์ใหม่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | sketch | ภาพร่าง, ภาพที่แสดงรายละเอียดของแนวคิดในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ เกิดจากการลำดับความคิดหรือจินตนาการในสิ่งที่เราต้องการจะอธิบายอย่างเป็นขั้นตอน แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ ภาพร่าง 2 มิติ ภาพร่าง 3 มิติ และภาพฉาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | form | รูปทรง, ลักษณะภายนอกของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็น 3 มิติ คือ มีความกว้าง ความยาวและความสูง สามารถหาขนาดและปริมาตรได้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ รูปทรงเรขาคณิต รูปทรงอิสระ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Leukocyte Count, Differential | การนับแยกชนิดเม็ดเลือดขาว, เม็ดเลือดขาวแบ่งออกเป็นขนาดและเปอร์เซนต์ [การแพทย์] |
|
| (Laughter breaks out) | (หัวเราะแบ่งออก) The Shawshank Redemption (1994) | With the magnifying glass, you can actually see... the projection on the end of the bird's beak... with which he breaks out of the egg. | ด้วยแว่นขยายที่คุณสามารถมองเห็น ... ฉายที่ปลายจะงอยปากของนก ... ซึ่งเขาแบ่งออกมาจากไข่ Greystoke: The Legend of Tarzan, Lord of the Apes (1984) | If we split up into pairs, whichever one of us is left with the killer might get killed. | ถ้าเราแบ่งออกเป็นคู่ ใครคนหนึ่งจะอยู่กับฆาตกร แล้วอาจจะถูกฆ่าก็ได้ Clue (1985) | The only way they could make real extra money was to go out and cut corners. | ทางเดียวที่จะได้เงินก้อนใหญ่ คือตัดส่วนแบ่งออก Goodfellas (1990) | They won't dig these out, like our usual rounds. | มันไม่สามารถแบ่งออกได้เหมือนอย่างที่เราเคยใช้ Underworld (2003) | And tell Willie to break out the big boy! | และบอกวิลลี่ที่จะ แบ่งออกหนุ่มใหญ่! Contact (1997) | The camp is divided into quarters. | ค่ายนี้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน The Great Raid (2005) | We break the tree line, Lieutenant Riley's platoon will head to the east of the camp. | เราจะแบ่งออกเป็นสามแนวรบ.. กองกำลังของผู้หมวดไรลี่ย์จะไปทางตะวันออก The Great Raid (2005) | New patient. New rules. Today you're gonna split yourselves into two teams. | คนไข้ใหม่ กฎใหม่ วันนี้ พวกคุณ จะต้องแบ่งออกเป็น 2 ทีม 97 Seconds (2007) | Our government is divided into three branches. | รัฐบาลของเราแบ่งออกเป็นสามสาขา Sex Trek: Charly XXX (2007) | "One nation,indivisible,with liberty and justice for all." | "ชาติเป็นหนึ่ง, แบ่งออกไม่ได้ กับอิสรภาพและความยุติธรรมของทุกคน" Photo Finish (2007) | No matter how they divide it up, someone would be left out. | ไม่ว่าพวกเขาจะแบ่งออกเป็นสองส่วน ต้องมีใครบางคนเป่าพลาด Cancer Man (2008) | There'll be three groups. Group Alpha will do sheet metal fabrication. | แบ่งออกเป็นสามกลุ่ม กลุ่มอัลฟา ทำผืนทอโลหะ Madagascar: Escape 2 Africa (2008) | Split up into 3 teams and move. | แบ่งออกเป็นสามกลุ่ม Iris (2009) | Super. Probably comes from a larger container. | ยอดเยี่ยม น่าจะแบ่งออก มาจากขวดใหญ่กว่านี้ Sherlock Holmes (2009) | Stratification. | การแบ่งออกเป็นของโครงสร้าง Human (2010) | We could go to two-man teams, cover a little more ground, but we'd be stretching ourselves pretty thin. | แต่มันมีพื้นที่มาก เราสามารถแบ่งออกเป็น2กลุ่ม ล้อมพื้นที่ได้เล็กน้อย Trial and Error (2010) | The theory that explains all this, quantum mechanics, applies not just to matter, but to the entire universe. | ทุกภาพที่คอมพิวเตอร์ สร้างขึ้นไม่ว่าจะมีเหตุผล, แบ่งออกเป็นพิกเซล เมื่อคุณได้รับใกล้พอ คุณอาจคิดว่านี้ไม่ได้เกิด ขึ้นในโลกแห่งความจริง Is There a Creator? (2010) | The rest will split up into two teams of three. | ที่เหลือจะแบ่งออกเป็น2ทีม ทีมล่ะ3คน Malice (2010) | Most high-quality paper stock can be split in two. | กระดาษแข็งคุณภาพดี ส่วนใหญ่จะแบ่งออกได้เป็น 2 แผ่นได้ Deadline (2011) | A man divided? | เขาถูกแบ่งออก Heroes and Villains (2011) | And once that happens, we'll split into five two- person teams and run them down. | หลังจากนั่นแบ่งออกเป็นห้ากลุ่ม กลุ่มละสองคน แล้วลากตัวมันออกมา Semper I (2011) | You do not live through centuries of fire and ice and continental divide... by jumping to conclusions. | นายไม่สามารถอยู่รอดได้ตลอดศตวรรษ ท่ามกลางไฟและน้ำแข็ง แล้วก็ทวีปที่ถูกแบ่งออก There Will Be Blood (2012) | They split into 3 circles. | พวกเขาแบ่งออกเป็น 3 วงเวทย์ Crystal (2012) | - I believe that there is a faction of the vampire population that wishes to do away with the pretense and go back to the old days of murder and bloodshed. | - ผมเชื่อว่า แวมไพร์ได้แบ่งออก เป็นฝักเป็นฝ่ายที่ ปราถนาและเสแสร้งแกล้งทำเป็นดี ซึ่งแท้จริงแล้ว Gone, Gone, Gone (2012) | We're going to divide up into two teams and play baseball, okay? | เราจะแบ่งออกเป็นสองทีม และเล่นเบสบอลโอเค? Fading Gigolo (2013) | Thus magnified, the starlight is split up into a band showing its component colors, the red rays going to one end and the violet to the other. | ขยายดังนั้นแสงดาว จะถูกแบ่งออกเป็นวง แสดงสีขององค์ประกอบ รังสีแดงจะไปปลายด้าน หนึ่งและสีม่วงที่อื่น ๆ Sisters of the Sun (2014) | Otherwise, nothing could move or grow, be divided or changed. | มิฉะนั้นไม่มีอะไรสามารถย้ายหรือ เติบโตแบ่งออกหรือมีการเปลี่ยนแปลง Deeper, Deeper, Deeper Still (2014) | ! Let's split up in three groups. | เราแบ่งออกเป็นสามกลุ่ม Tom Sawyer & Huckleberry Finn (2014) | The away team will be on the other side of the tunnel, fall into Krall's base, get inside the building and break out the crew. | ทีมเยือนจะเป็นในด้านอื่น ๆ ของ อุโมงค์ ตกอยู่ในฐานของครัลล์ได้รับ ภายในอาคารและแบ่งออกลูกเรือ Star Trek Beyond (2016) | Show me one historian who has not broken into a cold sweat at the thought of undergoing similar treatment. | แสดงให้ฉันเห็นประวัติศาสตร์ที่ ยังไม่ได้แบ่งออกเป็นเหงื่อเย็น ที่คิดว่าการรักษาที่คล้ายกัน Denial (2016) |
| แบ่งออก | [baeng øk] (v, exp) EN: distribute FR: scinder ; sectionner | แบ่งออกเป็น | [baeng øk pen] (v, exp) FR: se diviser en |
| stonefly | (n, name) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: plecoptera |
| bisect | (vt) แบ่งออกเป็นสองส่วน, See also: ตัดขวาง, ตัดแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่าๆกัน, Syn. dichotomize, split | break into | (phrv) แบ่งออกเป็นส่วนเล็กๆ, See also: ทำให้แตกเป็นส่วนๆ, บิออก | break up | (phrv) แบ่งออกเป็นส่วนเล็กๆ | divide out | (phrv) แบ่งออก, See also: แบ่ง | decompose | (vt) ทำให้แยกออกเป็นส่วนๆ (ทางเคมี), See also: ทำให้แตกเป็นส่วนๆ, ทำให้แบ่งออกเป็นส่วนๆ, Syn. break up, break down, disintegrate | disconnect | (vt) ตัดขาดจากกัน, See also: แยกออกจากกัน, แบ่งออก, Syn. divide, part, break, Ant. unite, join | disconnection | (n) การตัดขาด, See also: การแยกสองสิ่งออกจากกัน, การแบ่งออก, Syn. detachment, parting, disunion | duplex | (n) บ้านที่ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วนสำหรับสองครอบครัว, Syn. apartment, double, twofold | indivisible | (adj) ซึ่งไม่สามารถแบ่งออกเป็นส่วนๆ ได้, See also: ซึ่งไม่อาจแบ่งแยกได้, Syn. impartiable, inseparable, Ant. divisible, partiable, separable | lot | (vt) แบ่งออกเป็นส่วนๆ, See also: แบ่ง, แบ่งปัน, แบ่งส่วน, Syn. divide, distribute | morsel | (vt) แบ่งออกเป็นชิ้นเล็กๆ | parted | (adj) ซึ่งแบ่งออกเป็นส่วน, Syn. separated, Ant. joint | partite | (adj) ซึ่งแบ่งออกเป็นส่วนๆ | partition | (n) การแบ่งแยก, See also: การแยกออก, สิ่งที่แบ่งแยก, เขตที่แบ่งออก, Syn. separation, rupture, detachment, Ant. merger, union | portion out | (phrv) แบ่งออกเป็นส่วน, See also: แบ่งเป็นกลุ่ม | quarter | (vt) แบ่งออกเป็นสี่ส่วน, Syn. devide, quadrisect, cleave | quartered | (adj) แบ่งออกเป็น 4 ส่วน, See also: มีที่พักอาศัย, ได้รับการจัดที่พักอาศัย, แบ่งออกเป็น 4 ส่วน | quarterly | (adv) ทุก 3 เดือนคือ 4 ครั้งใน 1 ปี, See also: โดยแบ่งออกเป็น 4 ตอน, Syn. by quarters, once a quarter, periodically | resolve into | (phrv) แบ่งออกเป็นส่วน, See also: แบ่งส่วน | rip apart | (phrv) แยกจาก, See also: แบ่งออกจาก, Syn. pull apart | scissile | (adj) ซึ่งแยกออกหรือแบ่งออกได้ | section | (vt) แบ่งออก, See also: แยกส่วน, ตัดออก, ผ่าตัด | sector | (vt) แบ่งออกเป็นส่วนๆ, See also: แยก, ซอย, แบ่ง, Syn. divide, separate | sectorial | (adj) ซึ่งแบ่งออกเป็นส่วนๆ, See also: เป็นส่วนๆ, เป็นภาค | segmentation | (n) การแบ่งออกเป็นส่วน, See also: ส่วน, ตอน, การแบ่งเซลล์, การแบ่งกลีบ, การแบ่งเป็นเสี้ยว, การแบ่งเป็นตอน, Syn. separation, scission, subdivision | segregate | (vt) แยกออกจากกลุ่ม, See also: แบ่งออก, แยกตัวออก, Syn. separate, set apart, isolate, seclude, divide | separate | (adj) ซึ่งแบ่งออก, See also: ซึ่งแตกต่างกัน | subdivision | (n) ที่ดินที่แบ่งเป็นแปลงย่อยๆ, See also: บริเวณที่แบ่งออกเป็นส่วนๆ, Syn. building lots, development site | share out | (phrv) แบ่งออก, Syn. divide out | sort out | (phrv) แยกออก, See also: แบ่งออกมา, เลือก | split in | (phrv) แบ่งออกเป็นสองส่วน, See also: ผ่าครึ่ง, แบ่งครึ่ง | split into | (phrv) แบ่งออกเป็น, See also: ผ่าเป็น | tear | (vt) แบ่งออก, Syn. divide |
| actinomorphic | (แอคทิโนมอร์' ฟิค) fadj. ซึ่งเกี่ยวกับรัศมีสมมาตรหรือสัดส่วน, แบ่งออกได้ในแนวตั้งตรงเป็นครึ่งเล็ก ๆ ที่เหมือนกัน. -actinomorpous adj. actinomorphy n. | archived file | (อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้) | bipartite | (ไบพาร์'ไททฺ) adj. ประกอบด้วย หรือแบ่งออกเป็นสองส่วน, แบบเดียวกัน 2 ฉบับ | bisect | vt., vi. แบ่งออกเป็นสองส่วน, , See also: bisection n. | block | (บลอค) { blocked, blocking, blocks } n. ท่อนไม้, ท่อนหิน, ก้อนใหญ่, ชิ้นใหญ่, ห่อดินระเบิด, แท่นโลหะ, เขียง, แม่พิมพ์, ลูกรอก, ตะแลงแกง, ตึกที่แบ่งออกเป็นส่วน, เครื่องกีดขวาง, ทั้งแถว, ทั้งก้อน, ทั้งปีก, ตึกใหญ่, คฤหาสน์ใหญ่, อุปสรรค, การขัดขวาง, เขตหนึ่งของตัวเมือง, เขตห่างไกลท | break | (เบรค) (broke, broken, breaking, breaks) vt., vi. ทำให้แตก, ทำให้บาดเจ็บ, แบ่งออกเป็นส่วน, เปิดเผย, ทำให้เชื่อง, เอาชนะ, ทำลายสถิติ, แหก (คุก) , ฝ่าฝืน, ตัดขาด, ฝึก, สลัด, (โรงเรียน) หยุด, (สงคราม) เกิดขึ้น, ละเลยหน้าที่, ระเบิด, หนี, หยุดพักทำงาน n. การแตกออก, การหยุดพัก, ตอนฟ้าสว่าง หยุดหมายถึง การสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงานอย่างกระทันหัน เราอาจใช้วิธีกดแป้น Break หรือกดแป้น CTRL + C ก็ได้ | breakdown | (เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว, การล้มเจ็บ, การไม่สบาย, การสลายตัว, การวิเคราะห์, การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง | calibrate | (แคล'ลีเบรท) { calibrated, calibrating, calibrates } vt. ตรวจตา, วัด, หาค่าแบ่งออกเป็นขีด ๆ , ทำให้เป็นมาตรฐาน, See also: calibrator, calibrater n. | canton | (แคน'เทิน) n.เขตปกครองเล็ก ๆ vt. จัดแบ่งออกเป็นเขตปกครองเล็ก ๆ, See also: cantonal adj. ดู canton, cantonalism n. ดู canton | categorise | (แคท'ทะกอไรซ) v { categorized, categorised, categorising, categorizing, categorizes, categorises } จัดเป็นหมวดหมู่, ลำดับขั้น, แบ่งออกเป็นประเภท, See also: categorist n. ดูcategorise categorization n. ดูcategorise, Syn. classif | categorize | (แคท'ทะกอไรซ) v { categorized, categorised, categorising, categorizing, categorizes, categorises } จัดเป็นหมวดหมู่, ลำดับขั้น, แบ่งออกเป็นประเภท, See also: categorist n. ดูcategorise categorization n. ดูcategorise, Syn. classif | centigrade | adj. แบ่งออกเป็น 100 องศาหรือร้อยส่วนเท่า ๆ กัน, Syn. Celsius | chapter | (แชพ'เทอะ) n. บทในหนังสือ, ตอน, ขั้นตอน, ส่วนแบ่งที่สำคัญ, คณะพระ, คณะสงฆ์, สาขา (ของสโมสรสมาคมและอื่น ๆ) . -vt.แบ่งออกเป็นบท, จัดเป็นตอน ๆ, See also: chapteral adj., Syn. part | class | (คลาส) { classed, classing, classes } n. ชั้น, ชนชั้น, วรรณะ, ประเภท, ชนิด, จำพวก, ระดับ, ยอดเยี่ยม, ชั้นหนึ่ง, พวกชนชั้นสูง, ท่าทาง vt. จัดแบ่งออกเป็นชั้น ๆ vi. อยู่ในชั้นหนึ่งชั้นใด | classification | (แคลสซิฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นหมวดหมู่., See also: classificatory adj. -al adj. | classified | (แคลส'ซิไฟดฺ) adj. ซึ่งแบ่งออกเป็นประเภทหรือหมวดหมู่, สำหรับเจ้าหน้าที่หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องเท่านั้น, เป็นความลับ. n. แจ้งความเล็ก ๆ ในหน้าหนังสือพิมพ์, Syn. confidential | cleavage | (คลี'วิจฺ) n. การแยกออก, การแตกร้าว, การแบ่งออก | compart | (คัมพาร์ทฺ') { comparted, comparting, comparts } vt. แบ่งออกเป็นส่วน, แยกออกเป็นส่วน, Syn. separate, subdivide | compartment | (คัมพาร์ท'เมินทฺ) n. ห้อง, ตอน, ส่วนแยก, ช่อง, ลักษณะต่างหาก. vt. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ, Syn. niche, cell, nook | computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล | connective tissue | เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อชนิดนี้มีเซลล์น้อยแต่มี matrix มาก เนื้อเยื่อชนิดนี้พบได้ทั่วไปใปมากกว่าเนื้อเยื่อชนิดอื่นทำหน้าที่ให้เนื้อเยื่ออื่นยึดเกาะติดกัน รองรับและห่อหุ้มเนื้อเยื่ออื่น ๆ ช่วยให้อาหารให้แก่เนื่อเยื่อที่เกาะอยู่ ป้องกันและให้ความปลอดภัยแก่ร่างกายโดยทำหน้าที่ซึม ทำลายวัตถุที่แปลกปลอม ยังช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อทีสึกหรอ แบ่งออกเป็น สองชนิดคือ 1.embryonic 1.1 mesenchyme เจริญมาจากชั้น mesoderm จะพบใน embryo และเจริญขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น connective tissue ชนิดต่าง ๆ 1.2 mucous connective tissue ลักษณะคล้ายเมือกข้นที่ขับจากต่อมน้ำมูก (mucin) มีกลุ่มของอเส้นใยละเอียดสีขาว พบได้ที่สายสะดือเด็กเรียกว่า wharton's jelly 2. adult 2.1 เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้ 2.2 เลือดและน้ำเหลือง 2.3 กระดูกอ่อน 2.4 กระดูกแข็ง | dipartite | adj. เกี่ยวกับการแบ่งออกเป็นสองส่วน | discriminative | adj. ซึ่งแยกแยะ, ซึ่งแบ่งออก, เกี่ยวกับการเลือกที่รักมักที่ชัง, Syn. discriminating | disserver | vt. ตัด, แยก, แบ่งออกเป็นส่วน ๆ, See also: disserverance n. ดูdisserver disserverment n. ดูdisserver disserveration n. ดูdisserver, Syn. part | district | (ดิส'ทริคทฺ) n. เขต, ตำบล, แถบ, ท้องถิ่น, เมือง, มณฑล. vt. แบ่งออกเป็นเขต (ตำบล แถบ, ท้องถิ่น, มณฑล), Syn. area, region | divisibility | (ดวิซซะบิล'ลิที) n. การถูกหารได้, การแบ่งออกได้ | endoplasmic reticulum | เป็นท่อขนาดเล็ก แทรกอยู่ทั้วไปในไซโตปลาสซึม และเป็นส่วนที่เชื่อมระหว่างผนังเซลล์กับผนังนิวเคลียส ของเหลวภายในนี้จึงเหมือนกับของเหลวภายนอกเซลล์ทำหน้าที่เป็นระบบสังเคราะห์และลำเลียงสารไปยังที่ต่างภายในและภายนอกเซลล์ แบ่งออกได้เป็น 2 พวก คือ Granular พวกนี้มี ribosome มาเกาะจึงเห็นเปืนผิวขรุขระ ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนและลำเลียงเพื่อปล่อยออกนอกเซลล์ ส่วนชนิดที่ 2 เรียกว่า Agranular หรือชนิดผิวเรียบเพราะไม่มี ribosome มาเกาะ ทำหน้าที่ผลิตสารพวกไขมันและลำเลียงโปรตีนต่าง ๆ ภายในเซลล์ | fraction | (แฟรค'เชิน) n. เศษส่วน, ส่วนน้อย, เศษน้อย, เศษ, นิดหนึ่ง vt. หารหรือแบ่งออกเป็นเศษส่วน, See also: fractional adj., Syn. part, -A. whole | furcate | (เฟอ'เคท) adj. เป็นง่าม, เป็นกิ่งก้านสาขา.vi. กลายเป็นง่าม, แบ่งออกเป็นกิ่งก้านสา-ขา., See also: furcation n., Syn. forked, branching | grade | (เกรด) n. ชั้น, ระดับ, ขั้น, ขีด, ตอน, ชนิด., See also: grades n. โรงเรียนประถม, การเอียงลาด, พันธ์ผสม vt. แบ่งออกเป็นขั้น ๆ, แบ่งออกเป็นชนิด, ทำให้ราบ, ผสมพันธุ์. vi. กลายเป็นขั้นเป็นระดับ, Syn. step, slope, rank | graduate | (แกรด'จุเอท) n., adj. บัณฑิต, ภาชนะตวงที่แบ่งออกเป็นขีด ๆ vi.สำเร็จการศึกษา, ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลง vt. มอบปริญญาแก่, สำเร็จการศึกษาจาก, แบ่งออกเป็นขีด, See also: graduated adj., Syn. mark off, calibrate | hexamerous | adj. ซึ่งประกอบด้วยหรือแบ่งออกเป็น6ส่วน | indivisible | (อินดะวิซ'ซะเบิล) adj. แบ่งแยกไม่ได้, แบ่งออกเป็นส่วน ๆ ไม่ได้., See also: indivisibility n. indivisibly adv. | lineation | (ลินนิเอ'เชิน) n. การลากเส้น, การขีดเส้น, การแบ่งออกเป็นเส้น ๆ , การใช้เส้นแสดง, เค้าโครง, กลุ่มของเส้น | lot | (ลอท) { lotted, lotting, lots } n. สลาก, ฉลาก, การจับฉลาก (ฉลาก) , ส่วนแบ่ง, โชคชะตา, ชตากรรม, ผืนดิน, ประเภทของคน, ชุด, รุ่น, ภาษี, ทั้งมวล, กอง, ทั้งหมด v. จับฉลาก, จับสลาก, แบ่งออกเป็นส่วน ๆ abbr. left occiput transverse, Syn. part, quota | memory unit | หน่วยความจำหมายถึง หน่วยความจำที่อยู่ในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการทำงานกับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลเข้าไปแล้ว เครื่องอ่านก็จะนำข้อมูลที่อ่านได้ไปเก็บไว้ในหน่วยความจำนี้ แล้วจะเรียกมาใช้ในเวลาที่ต้องการ ข้อความหรือข้อมูลที่นำไปเก็บไว้ในหน่วยความจำแล้วไม่ว่าจะนำมาใช้สักกี่ครั้งกี่หน ก็จะยังคงเป็นอยู่อย่างเดิม แต่ถ้าข้อมูลอื่นถูกอ่านทับเข้าไป ข้อมูลเก่าจะถูกลบไปทันที หรือถ้าไฟดับ ข้อมูลทั้งหมดที่อยู่ในหน่วยความจำก็จะหายไปหมดเช่นกัน คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ดี หรือมีประสิทธิภาพมากหรือน้อย ย่อมขึ้นอยู่กับหน่วยความจำนี้มากกว่าอย่างอื่น สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ เราเรียกหน่วยความจำนี้ว่า ชิป (chip) ซึ่งใช้เป็นที่เก็บข้อมูล แบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ประเภทอ่านได้อย่างเดียว เรียกว่า "รอม" (ROM หรือที่ย่อมาจาก read-only memory) ซึ่งเก็บคำสั่งประเภทที่เครื่องต้องปฏิบัติตามทันที เช่น ไบออส (BIOS) ข้อมูลในนั้นจะไม่มีวันลบหายแม้ว่าจะปิดเครื่อง ส่วนอีกประเภทหนึ่ง เรียกว่า "แรม" (RAM หรือที่ย่อมาจาก random access memory) หน่วยความจำแรมนี้ใช้เก็บโปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลที่กำลังจะใช้งาน เมื่อปิดไฟที่ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ในแรมจะหายไปหมด และหากเริ่มต้นเปิดเครื่องใหม่ ต้องการจะใช้โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลใด ก็จะต้องบรรจุ (load) โปรแกรมหรือแฟ้มข้อมูลนั้นมาเก็บไว้ในแรมก่อน จึงจะทำงานต่อไปได้ สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์แล้ว ยิ่งแรมมีขนาดใหญ่เท่าใด ก็ยิ่งแสดงว่าคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นมีประสิทธิภาพเท่านั้นอย่างไรก็ตาม หน่วยความจำที่กล่าวถึงนั้นเป็นหน่วยความจำที่อยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่เรายังมีหน่วยเก็บข้อมูลที่อยู่นอกเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย หน่วยความจำนอกเครื่องนี้ เราเรียกว่า หน่วยความจำช่วย (auxiliary memory) ซึ่งหมายถึงสื่อเก็บข้อมูลต่าง ๆ นั่นเอง เป็นต้นว่า จานบันทึก แถบบันทึก หน่วยความจำเหล่านี้ ไฟดับข้อมูลก็ยังอยู่ | morsel | (มอร์'เซิล) n. (อาหาร) คำหนึ่ง, จำนวนเล็กน้อย, เศษเล็กเศษน้อย. vt. แบ่งออกเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, Syn. taste, bite | panelized | adj. ประกอบด้วยผนัง พื้นหรือหลังคาที่แบ่งออกเป็นส่วน ๆ และประกอบขื้นเป็นชิ้นเดียวได้ในภายหลัง | paragraph | (แพ'ระกราฟ) n. วรรค, ตอน, ข้อความสั้น ๆ , ข่าวสั้น, บทสั้น. vt. แบ่งออกเป็นวรรคหรือตอน, ย่อหน้า vi. เขียนบทความสั้น | parted | (พาร์ท'ทิด) adj. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ , ตาย, See also: partedness n. | partite | (พาร์'ไทท) adj. ซึ่งแบ่งออกเป็นส่วน ๆ , แบ่งแยก | periodic law | n. กฎทางเคมีที่ว่าธาตุต่าง ๆ สามารถแบ่งออกโดยคุณสมบัติเป็นกลุ่ม ๆ (ตารางแบ่งกลุ่มนี้เรียกว่า periodic table), Syn. period system, Mendeleev's law | portion | (พอร์'เชิน) n. ส่วน, ส่วนหนึ่ง, ส่วนแบ่ง, กอง, ส่วนของมรดก, สินเดิมของหญิง, ชะตา, เคราะห์ vt. แบ่งออกเป็นส่วน, Syn. section | quarter | (ควอร์'เทอะ) n. เศษหนึ่งส่วนสี่, เสี้ยว, 25เซนต์, หนึ่งในสี่ของชั่วโมง (15นาที) , ชั่วระยะครู่หนึ่ง, ภาคเรียน vt. แบ่งออกเป็น 4 ส่วนเท่า ๆ กัน, จัดที่พักอาศัยให้ vi. เข้าที่พัก, พักแรม, ตั้งทัพ adj. หนึ่งในสี่ส่วน, See also: quarters n., pl. ที่อยู่ที่พัก, แหล่งประจำการ | quartered | (ควอร์'เทิร์ด) adj. แบ่งออกเป็น4ส่วน | sector | (เซค'เทอะ) n. รูปตัด, รูปตัดที่อยู่ระหว่างเส้นรัศมี2เส้นกับส่วนของเส้นรอบวง, อุปกรณ์คณิตศาสตร์ที่ประกอบด้วยไม้บรรทัด2อันที่ติดกันที่ปลายหนึ่งและมีขีดแบ่งมาตราส่วน vt. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เซ็กเตอร์วิธีการจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึกนั้น จะต้องมีการกำหนดให้เป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับลู่วิ่งวนเป็นวงกลม แล้วแบ่งแต่ละแทร็กนี้ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า "ส่วนวง" หรือที่ยังนิยมเรียกทับศัพท์กันว่า "เซ็กเตอร์" ก็มีมาก แต่ละส่วนวงนี้จะเก็บข้อมูลได้ 1 ระเบียน (record) ไม่ว่าส่วนวงจะกว้างหรือแคบ (ด้านในที่ติดกับจุดศูนย์กลางจะแคบกว่าด้านนอก), See also: sectoral adj., Syn. class, ca | segment | (เซก'เมินทฺ) n. ส่วน, ตอน, ท่อน, ข้อ, ปล้อง, ซีก, เสี้ยว, ชั้น, กลีบ, ส่วนตัดของรูป vt., vi. แยกหรือแบ่งออกเป็นส่วน (ตอน, ท่อน, ข้อ...) เซ็กเมนต์หน่วยความจำในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่มีขนาด 1 เมกะไบต์ จะถูกแบ่งออก เป็น 16 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่า "เซ็กเมนต์ " แต่ละเซ็กเมนต์จะมีความจุ 64 เคไบต์ (เฉพาะชิป (chip) 8088 หรือ 8086), See also: segmentary adj., Syn. part | segmentation | (เซเมินเท'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นส่วน (ตอน, ท่อน, ข้อ, ปล้อง, ซีก, เสี้ยว, ชั้น, กลีบ) , ส่วน, ตอน, การแบ่งเซลล์ | segregate | (เซก'ระเกท) vt. แยกออกจากกัน, แบ่งแยก (เชื้อชาติ, ผิว, กลุ่ม) vi. แยกออก, แบ่งออก, ถอนตัวออก, หันไปเกาะ, (พันธุศาสตร์) แยกออกระหว่างการแบ่งเซลล์แบบmeiosis (ดู) , หันไปรวม., See also: segregable adj. segregative adv. segregator n. คำที่มีความหมายเหมื | severance | (เซฟ'เวอเรินซฺ) n. การแยกออก, การตัดขาด, การตัดสัมพันธไมตรี, การถูกแยกออกจากกัน, การแตกแยก, การแบ่งออกเป็นส่วน ๆ , ความไม่เหมือนกัน, Syn. separation |
| tripartite | (vt) แบ่งออกเป็นสามส่วน, มีสามพวกหรือสามภาค | trisect | (vt) แบ่งออกเป็นสามส่วนเท่าๆกัน |
| - | (n, vi, vt, modal, ver) แนวภาพยนตร์มักถูกแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ, See also: A. ฟหก, 3, Syn. ดหก | break down into | (vt) แบ่งออกเป็น | Stoneflies | (n) สโตนฟลาย เป็นแมลงใน อันดับ พลีคอปเทอร่า (Order Plecoptera: Class Insecta) ลักษณะตัวเต็มวัย (adult) แบ่งออกเป็น ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ชัดเจน; ส่วนหัว (head) มีหนวด (antennae) ยาว 1 คู่ มีตารวม (compound eyes) 1 คู่ มีตาเดี่ยว (ocelli) 0-3 ตา มีปากแบบกัดกิน (Chewing mouthpart), ส่วนอก (thorax) มีขา 3 คู่ มีปีก 2 คู่เป็นแผ่นบางใส (membranous wings) ปีกคู่หลัง (hind wings) จะซ้อนพับอยู่ใต้ปีกคู่หน้า (fore wings), ส่วนท้อง (abdomen) ยาวแบ่งเป็นปล้อง; มีการเจริญเติบโตแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete metamorphosis) คือเจริญเติบโตจากไข่ ฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ลอกคราบหลายครั้งจนเป็นตัวเต็มวัย โดยไม่มีระยะดักแด้; ในระยะตัวอ่อน (nymph) มีลักษณะคล้ายตัวเต็มวัยแต่ไม่มีปีก อาจพบเหงือก (gills) รูปร่างต่าง ๆ ตามลำตัวเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำไหล (Lotic habitat, running water) บางชนิดมีนิสัยการกินแบบผู้ล่า (predator) กินสัตว์อื่นที่มีขนาดเล็กกว่าเป็นอาหาร แต่บางชนิดกินเศษซากตะกอนในแหล่งน้ำเป็นอาหาร (detritivore) และเมื่อลอกคราบครั้งสุดท้ายเป็นตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่บนบกใกล้แหล่งน้ำ สโตนฟลายบางชนิดที่มีวงจรชีวิตระยะตัวอ่อนเป็นเวลายาวนาน เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะจับคู่ผสมพันธุ์ทันทีโดยไม่กินอาหาร แต่ในบางชนิดที่มีวงจรชีวิตใช้เวลาในระยะตัวอ่อนน้อย เมื่อลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยแล้วจะกินน้ำหรือเศษซากพืชหรือซากตะกอนเพียงเล็กน้อย เพื่อพัฒนาระบบสืบพันธุ์ให้เจริญเต็มที่ ก่อนจับคู่ผสมพันธุ์ เมื่อผสมพันธุ์แล้วตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ลงในแหล่งน้ำไหลเพื่อให้ไข่ฟักออกมาเป็นตัวอ่อนอาศัยเจริญเติบโตในแหล่งน้ำไหลนั้นต่อไป; จากลักษณะการดำรงชีวิตโดยอาศัยพึ่งพาแหล่งน้ำอยู่เกือบตลอดทั้งวงจรของชีวิต แมลงชนิดนี้จึงจัดอยู่ในกลุ่มของแมลงน้ำ (Aquatic insect), See also: Stonefly, Plecoptera, Stonefly, Syn. Plecoptera |
| 分解 | [ぶんかい, bunkai] การแบ่งออกเป็นส่วนๆ การแตกตัว |
| teilen | แบ่งออกเป็นส่วน |teilte, geteilt| |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |