มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ กุศล | (n, adj, adv) การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
|
| กระโจมกระจาม | ก. พรวดพราดอย่างลุกลน (เป็นคำใช้ในทางที่ติ). | แก่นแก้ว | ว. ยิ่งในทางที่เลว, เก่งในทางซุกซนหรือในทางไม่สู้ดี. | แกม | ว. ปน เช่น ด้ายแกมไหม คือ ด้ายปนไหม, แต่มีความหมายไปในทางที่ว่า สิ่งที่ปนมีอยู่เป็นส่วนน้อย. | ขี้ | ว. ใช้ประกอบหน้าคำที่แสดงความหมายในทางที่ไม่ดี เช่น ขี้เกียจ ขี้เหนียว, หรือมักเป็นเช่นนั้น เช่น ขี้หัวเราะ ขี้ขอ ขี้ลืม ขี้หึง. | คนเสมือนไร้ความสามารถ | น. บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานโดยตนเองได้ หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว เพราะกายพิการ จิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ ประพฤติสุรุ่ยสุร่ายเสเพลเป็นอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทำนองเดียวกันนั้น และศาลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ. | ใจแตก | ว. ประพฤติไปตามที่ตนนิยมในทางที่ผิดหรือนอกโอวาทจนเคยตัว. | เฉิบ, เฉิบ ๆ | ว. คำร้องบอกจังหวะในการเต้นหรือรำ, มีท่าทางเนิบ ๆ เป็นจังหวะ เช่น รำเฉิบ ๆ เดินเฉิบ ๆ พายเรือเฉิบ ๆ, ใช้ประกอบคำอื่นมีความหมายไปในทางที่มีอาการประหนึ่งว่าเป็นเช่นนั้น เช่น นั่งสบายใจเฉิบ. | ชี้นำ | ก. แนะหรือชักจูงไปในทางที่ตนต้องการ. | ดี ๒ | ว. มีลักษณะที่เป็นไปในทางที่ต้องการ น่าปรารถนา น่าพอใจ ใช้ในความหมายที่ตรงข้ามกับลักษณะบางอย่างแล้วแต่กรณี คือ ตรงข้ามกับชั่ว เช่น คนดี ความดี, ตรงข้ามกับร้าย เช่น โชคดี เคราะห์ดี | ดี ๒ | ก. กระทำในทางที่ต้องการ น่าปรารถนา น่าพอใจ เช่น เขาดีกับฉันมาก. | ตั้งหัวเรือ | ก. ทำให้เรืออยู่ในทางที่จะไป. | ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ | ลงทุนไปโดยได้ผลประโยชน์ไม่คุ้มทุน, ใช้จ่ายทรัพย์ในทางที่ไม่เกิดประโยชน์, เสียทรัพย์จำนวนมากไปโดยไม่ได้ประโยชน์อะไร. | ถือบังเหียน | ก. บังคับม้าให้ไปในทางที่ต้องการ โดยใช้มือกระตุกบังเหียนที่สวมปากม้า, โดยปริยายหมายความว่า มีอำนาจบังคับบัญชาให้เป็นไปในทางที่ต้องการ. | ทำคุณแก่ใคร เหมือนไฟตกน้ำ | ก. ทำความดีต่อผู้อื่น แต่ผู้นั้นไม่ตอบสนองในทางที่ดี. | ทึ่ง | รู้สึกว่าน่าสนใจ, น่าอัศจรรย์ใจ, (ใช้ในทางที่ดี). | บ่มนิสัย | ก. อบรมให้มีการประพฤติปฏิบัติในทางที่ดีจนเป็นนิสัย. | บังเหียน | น. เครื่องบังคับม้าให้ไปในทางที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ปลายทั้ง ๒ ข้าง มีห่วงสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, โดยปริยายหมายความว่า อำนาจบังคับบัญชาให้เป็นไปในทางที่ต้องการ เช่น ถือบังเหียนการปกครองบ้านเมือง กุมบังเหียน. | ปมเขื่อง, ปมเด่น | น. ลักษณะอารมณ์และความต้องการที่แสดงออกในทางที่เหนือกว่าบุคคลอื่น. | ปากหวาน | ว. พูดจาไพเราะ (มักใช้ในทางที่ล่อใจหรือไม่จริงใจ) | มอมเมา | ก. ทำให้หลงผิด, ทำให้หมกมุ่นในทางที่ผิด. | มิจฉาสังกัปปะ | น. ความดำริในทางที่ผิด. | ยุ | ก. กล่าวชักชวน ส่งเสริม หนุน หรือเป็นใจให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง (มักใช้ในทางที่ไม่สมควร) เช่น ยุให้เขาทะเลาะกัน ยุให้โกรธ ยุให้กำเริบ. | ล้ม | สมยอมหรือทำให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต เช่น ล้มคดี ล้มมวย. | ล้มมวย | ก. สมยอมหรือทำให้สมยอมกันในทางที่ไม่สุจริต. | สมรู้ | ก. ร่วมคิดกัน, เป็นใจกัน, (มักใช้ในทางที่ไม่ดี) เช่น เขาสมรู้กันในทางทุจริต, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ ร่วมคิด เป็น สมรู้ร่วมคิด เช่น เขาสมรู้ร่วมคิดกันในการฉ้อราษฎร์บังหลวง. | ส่อ | ก. แสดงให้รู้เป็นนัย ๆ (ส่วนมากใช้ไปในทางที่ไม่ดี) เช่น สำเนียงส่อภาษา กิริยาส่อสกุล ส่อเจตนาทุจริต ส่อพิรุธ | สัมมาสังกัปปะ | น. ความดำริในทางที่ชอบ. | สัมมาอาชีวะ | น. การเลี้ยงชีวิตในทางที่ชอบ. | เสียรูปคดี | ก. เป็นผลให้คดีเปลี่ยนไปในทางที่เสียเปรียบ. | หลงผิด | หลงประพฤติไปในทางที่ผิด. | หวังใจ, หวังใจว่า | ก. คาดว่า (มักใช้ในทางที่ดี) เช่น ข้าพเจ้าหวังใจว่าท่านคงจะประสบความสำเร็จ. | หูหาเรื่อง | น. หูที่รับฟังแล้วตีความไปอีกอย่างหนึ่งซึ่งมีลักษณะไปในทางที่ไม่ดี. | อาภัพเหมือนปูน | ทำดีแต่มักถูกมองข้ามไปหรือไม่มีใครมองเห็น คล้ายในการกินหมาก จะต้องมีหมาก พลู ปูน ๓ อย่างประกอบกัน แต่คนมักพูดว่า กินหมากกินพลู โดยมิได้พูดถึงปูนเลย จะพูดถึงบ้างก็เป็นไปในทางที่ไม่ดีว่า ปูนกัดปาก. |
| abuse | ๑. ดูหมิ่น๒. หยาบหยาม๓. กระทำในทางที่ไม่ถูกต้อง๔. ใช้อำนาจโดยมิชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | abuse of discretion | การใช้ดุลยพินิจในทางที่ไม่ถูกต้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Nuclear safeguards | การพิทักษ์ทางนิวเคลียร์, มาตรการป้องกัน ยับยั้ง และตรวจสอบ มิให้วัสดุนิวเคลียร์สูญหาย แปรสภาพ หรือนำไปใช้ในทางที่ไม่เป็นไปตามข้อตกลงกับทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ, Example: [นิวเคลียร์] | Amphetamine abuse | พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด [TU Subject Heading] | Amphetamine-related disorders | ความผิดปกติเกิดจากการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด [TU Subject Heading] | Communication in drug abuse prevention | การสื่อสารในการป้องกันการใช้ยาในทางที่ผิด [TU Subject Heading] | Drug abuse | พฤติกรรมการใช้ยาในทางที่ผิด [TU Subject Heading] | Drug abuse and crime | พฤติกรรมการใช้ยาในทางที่ผิดกับอาชญากรรม [TU Subject Heading] | Methamphetamine abuse | พฤติกรรมการใช้เมทแอมฟิตะมีนในทางที่ผิด [TU Subject Heading] | Solvent abuse | พฤติกรรมการใช้สารระเหยในทางที่ผิด [TU Subject Heading] | Substance abuse | พฤติกรรมการใช้สารในทางที่ผิด [TU Subject Heading] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Abuse | การใช้ในทางที่ผิด, ในทางที่ผิด [การแพทย์] | Abuse | การใช้ยาในทางที่ผิด [การแพทย์] | Drug Abuse | การใช้ยาในทางที่ผิด [การแพทย์] | Drugs, Nondependent Abuse of | การใช้ยาในทางที่ผิดที่เกิดจากการไม่ได้เสพติด [การแพทย์] | Le Chatelier's principle | หลักของเลอชาเตอลิเอ, หลักการซึ่งกล่าวว่า เมื่อรบกวนระบบที่อยู่ในภาวะสมดุล ระบบจะเปลี่ยนแปลงไปในทางที่จะลดผลของการรบกวนนั้นโดยการเข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่ การรบกวนภาวะสมดุลได้แก่ การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสาร อุณหภูมิหรือความดัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | abuse | (n) การใช้ในทางที่ผิด, Syn. misuse, ill-usage | abuse | (vt) ใช้ในทางที่ผิด, Syn. misuse | derogatory | (adj) วิจารณ์ไปในทางที่ไม่ดี, See also: ดูถูก, ตำหนิ, ติเตียน, Syn. depreciatory | make free with | (idm) ใช้บางคนหรือบางสิ่งในทางที่ผิด | show promise | (idm) ค่อนข้างจะประสบความสำเร็จ, See also: มีแนวโน้มในทางที่ดี | take liberties with | (idm) ใช้บางคนหรือบางสิ่งในทางที่ผิด | lead astray | (phrv) ถูกชักนำไปใช้ในทางที่ผิด, Syn. go astray | misappropriate | (vt) ใช้ในทางที่ผิด, See also: abuse | mishandle | (vt) ทำผิด, See also: ใช้ในทางที่ผิด, Syn. mistreat, misemploy | mislead | (vt) ชักนำไปในทางที่ผิด, See also: นำทางผิด, Syn. deceive, beguile | misleading | (adj) ซึ่งแนะนำไปในทางที่ผิด, See also: ซึ่งทำให้เข้าใจผิด, Syn. misteaching | misspend | (vt) ใช้ฟุ่มเฟือย (เวลา, เงิน), See also: ใช้ในทางที่ผิด เวลา, เงิน, Syn. squander, exhaust, waste | misusage | (n) การใช้ในทางที่ผิด, Syn. malapropism | misuse | (n) การใช้ในทางที่ผิด, See also: การใช้ผิด, Syn. misemployment, misappropriation, ill-usage, misapplication, abuse | misuse | (vt) ใช้ในทางที่ผิด, See also: ใช้ผิด, Syn. misapply, abuse | moribund | (adj) ซึ่งอยู่ในภาวะย่ำแย่, See also: ซึ่งไม่มีการเติบโต, ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี | notoriety | (n) ความชื่อเสียงในทางที่ไม่ดี, Syn. repute, renown | notorious | (adj) ซึ่งมีชื่อเสียงในทางที่ไม่ดี, Syn. infamous, Ant. honorable | perversion | (n) พฤติกรรมนอกลู่นอกทาง, See also: การเปลี่ยนแปลงในทางที่ผิดปกติ, Syn. aberration, abnormality, corruption | pervert | (vt) ใช้ในทางที่ผิด, See also: ใช้อย่างไม่เหมาะสม, Syn. abuse, misapply, misuse | self-abuse | (n) การตำหนิตัวเอง, See also: การใช้ความสามารถในทางที่ผิด, Syn. self-destruction, self-murder | take off | (phrv) ชักจูงไปในทางที่ไม่ค่อยดี | upgrade | (adv) ในทางสูงขึ้น, See also: ในทางที่ดีขึ้น, Syn. improved | wander | (vi) ไปในทางที่คดเคี้ยว |
| astray | (แอสเทร') adv., adj. หลงทาง, หลงผิด, ในทางที่ผิด, Syn. wandering, lost, amiss | counter | (เคา'เทอะ) { countered, countering, counters } n. โต๊ะกั้น (แสดงสินค้า/ ติดต่อกับธุรกิจกับผู้ที่มาหา) , เคาน์เตอร์, เครื่องนับจำนวน, ผู้นับ adv. ในทางที่ผิด, ในทางกลับ, ตรงกันข้าม adj. ตรงกันข้าม, ต่อต้าน. n. สิ่งที่อยู่ตรงกันข้าม, สิ่งต่อต้าน, ผู้ต่อต้าน, การชกสวน, หมั | gray eminence | ผู้ใช้อำนวจในทางที่ผิดหรือเพื่อผลประโยชน์ของตัวเอง | hacker | (แฮค' เคอร์) n. ผู้ที่ทำงานอย่างหามรุ่งหามค่ำ, ผู้ที่สนใจเรียนรู้คอมพิวเตอร์อย่างจริงจังจนเกินไป, คำนี้เป็นชื่อที่ใช้เรียกพวกที่มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ไปในทางที่ผิดกฎหมาย เช่น แอบขโมยข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย หรือแอบแก้ตัวเลขในธนาคารเพื่อถอนเงินออกมาใช้เอง คำว่า hack อาจหมายถึงการแอบปรับแก้หรือดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือไม่ก็แก้แล้วยิ่งกลับทำให้แย่ลง | infamy | (อิน'ฟะมี) n. การมีชื่อเสียงในทางที่เลว, นิสัยหรือความประพฤติที่เลว, Syn. dishonour | knock | (น็อค) { knocked, knocking, knocks } vi. เคาะ, ตี, ทุบ, กระแทก, ชก, ต่อย, ชน n. การเคาะ, เสียงเคาะ, การวิจารณ์ในทางที่ไม่ดี, เสียงเครื่องยนต์ที่ไม่ปกติ -Phr. (knock around (about) เถลไถล ปล่อยเวลาให้ผ่านไปโดยเปล่า, ประโยชน์) . -Id. (knock it off หยุด) . -Phr. (knock out | lost sheep | n. คนที่หลงไปในทางที่ผิด | misappropriate | (มิสอะโพร'พริเอท) vt. ใช้ในทางที่ผิด ยักยอก., See also: misappropriation n. | misguided | (มิส'ไกดิด) adj. ถูกนำไปในทางที่ผิด, ได้รับการแนะนำที่ผิด, ซึ่งเข้าใจผิด, See also: misguidedly adv., Syn. ill-advised | misspend | (มิสสเพนดฺ) vt. ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย, ใช้จ่ายในทางที่ผิด | misusage | (มิสยู`ซิจ) n. การใช้ในทางที่ผิด | misuse | (n. มิสยูซฺ'v. มิสยูซ) n., v. (การ) ใช้ในทางที่ผิดหรือไม่สมควร. | prostitution | (พรอสทิทิว'เชิน) n. การเป็นโสเภณี, การขายตัวเพื่อเงิน, การใช้สติปัญญาหรือความสามารถไปในทางที่เสื่อมเสีย | strain | (สเทรน) vt., vi., n. (การ) ทำให้ตึง, ขึงให้แน่น, ทำให้เครียด, ทำให้เคล็ด, ทำให้ตึงเครียด, ขยายเกินไป, ต้องการมากเกินไป, เทของเหลวผ่านที่กรอง, กรองออก, ใช้อำนาจหน้าที่ไปในทางที่ผิด, กอดรัด, ยับยั้ง, รูปงอคดเนื่องจากถูกดึง, ความตึงเครียด, พันธุ์, ชนิด, เชื้อชาติ, วงศ์, สกุล, บรรพบุรุษ |
| entice | (vt) ล่อใจ, ล่อลวง, หลอกลวง, ชักนำไปในทางที่ผิด | misapplied | (adj) ใช้ผิดที่, ยักยอก, ที่ใช้ในทางที่ผิด | misguide | (vt) ชักนำไปในทางที่ผิด, แนะนำผิดๆ | mislead | (vt) ชักนำไปในทางที่ผิด, นำผิดทาง | misspend | (vt) ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย, ใช้ในทางที่ผิด, ใช้สุรุ่ยสุร่าย | mistreat | (vt) ทารุณ, ทำไม่ดีต่อ, ใช้ในทางที่ผิด |
| completely | (adv) ในทางที่เป็นไปได้, อย่างสมบรูณ์ | กุศล | (n, adj) กุศล ควรจะหมายถึง การกระทำที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับจิตใจให้ดีขึ้น ปรับปรุงจิตใจให้ดีขึ้น มากกว่าทำความดีเฉย ๆ การกระทำใด ๆ หากทำแล้วมีผลต่อสภาวะจิตใจของตนเปลี่ยนไปในทางที่สูงขึ้น จึงเรียกว่ากุศล หากการกระทำดีนั้น ๆ ไม่ได้มีผลเปลี่ยนแปลงจิตใจตนเองเลย ไม่เรียกว่ากุศล แต่เรียกว่า กรรมดี โดยทั่วไป มักจะใช้คู่กันกับคำว่า บุญกุศล แต่คำว่า บุญ กับ กุศล ความหมายต่างกัน (เขียนก็ไม่เหมือนกันแล้วจะให้ความหมายเหมือนกันได้อย่างไร) ตัวอย่าง 1. นาย กอ เป็นคนรวย ชอบที่จะให้ทาน เพราะเขาหวังว่า การให้ทานของเขาจะส่งผลทำให้เขารวย ยิ่ง ๆ ขึ้นไป และอาจจะได้ไปสวรรค์ หลังจากที่เขาตายไป - อันนี้นาย กอ ทำกรรมดี หรือทำบุญ แต่ไม่ได้เกิดกุศลในจิต หรือเกิดขึ้นน้อยมาก เพราะเขาทำทานก็จริง แต่ไม่มีผลทำให้จิตใจของเขาวางลงจากความโลภ หรืออยากเลย 2. นาย ขอ เป็นคนชั้นกลาง เขาเห็นเด็กกำพร้ามากมายเกิดขึ้น เขาจึงรู้สึกอยากที่จะช่วยเหลือเด็กเหล่านั้น จึงประหยัดค่าใช้จ่ายของตัวเองมากขึ้น เพื่อที่จะให้ตัวเองมีเงินเหลือมากขึ้น เพื่อที่จะแบ่งไปบริจาคเด็กเหล่านั้น เพื่อที่เด็กเหล่านั้นจะได้โตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป - อันนี้ นาย ขอ ทำทั้งกุศล และบุญ เพราะมีผลที่ทำให้เขาต้องประหยัด อดออมมากขึ้น และการประหยัดอดออมนี้เอง จะทำได้ก็คือต้องปล่อยวางความอยากของตนเอง และทำเพราะในใจเกิดจิตเมตตากรุณา |
| 改善 | [かいぜん, kaizen] (vt) เปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น |
| Versuchung | (n) |die, pl. Versuchungen| การล่อลวงให้ทำในสิ่งที่คนเราไม่อยากทำ, การชักจูงในทางที่ไม่ดี เช่น Einmal war er in Versuchung, die Armbanduhr zu stehlen. ครั้งหนึ่งเขาเคยถูกล่อลวงให้ขโมยนาฬิกาข้อมือ |
| changer | (vt) |je change, tu changes, il change, nous changons, vous changez, ils changent| เปลี่ยน , เปลี่ยนแปลง, แลกเปลี่ยน เช่น (1) Le temps va changer. = อากาศเปลี่ยนแปลง (2) Il a beaucoup changé. = เขาเปลี่ยนไปมาก (3) Il a changé en bien. = เขาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น, เขาดีขึ้น (4) changer des bahts en euros แลกเงินบาทเป็นเงินยูโร, See also: regarder |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |