ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การอ้าง, -การอ้าง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ทฤษฎีบท | น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้ เช่น ทฤษฎีบททางเรขาคณิต. | สัตยาบัน | การอ้างความสัตย์. |
|
| reference | ๑. เอกสารอ้างอิง๒. การอ้างอิง, ข้ออ้างอิง๓. อ้างอิง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | allusion | การอ้างถึง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | argument | ๑. การอ้างเหตุผล๒. อาร์กิวเมนต์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] | adduction | ๑. การนำสืบ๒. การอ้าง (พยานหลักฐาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | alibi | การอ้างฐานที่อยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arrogation | ๑. การอ้างสิทธิโดยมิชอบ๒. การรับบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วเป็นบุตรบุญธรรม (ก.โรมัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | jactitation | การอวดอ้าง, การแอบอ้าง, การอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | jactitation of marriage | การอ้างว่าเป็นคู่สมรส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | claim | ๑. ข้อเรียกร้อง๒. การใช้สิทธิเรียกร้อง๓. การอ้างสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | capacity defense | การอ้างเรื่องความสามารถเป็นข้อต่อสู้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | citation of authorities | การอ้างหลักหรือผู้รู้เพื่อสนับสนุน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | exculpation | การอ้างเพื่อให้พ้นผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | exaction | การอ้างอำนาจหน้าที่เรียกเอาทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | valid argument | การอ้างเหตุผลอย่างสมเหตุสมผล [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
| Bibliographic citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] | Bibliographic citation | การอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Bibliographical citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Citations | ข้อมูลการอ้างอิงในเอกสารสิทธิบัตร, ข้อมูลการอ้างอิงในเอกสารสิทธิบัตร, Example: มี 2 แบบ คือ จากผู้ประดิษฐ์และผู้ตรวจสอบ ประกอบด้วยข้อมูลบรรณานุกรมที่เชื่อว่ามีความสำคัญในภูมิหลังของการประดิษฐ์ มาจากสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ คือ วารสาร หนังสือ คู่มือทางวิชาการ [ทรัพย์สินทางปัญญา] | Allusions | การอ้างถึง [TU Subject Heading] | Allusions in literature | การอ้างถึงในวรรณกรรม [TU Subject Heading] | Bibliographical citations | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading] | Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] | Impact factor | ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี, Example: Impact factor คือ ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี โดยเปรียบเทียบกับจำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารดังกล่าวในรอบ 2 ปี ที่ผ่านมา หรือหมายถึง ความถี่ที่บทความในวารสารนั้นจะได้รับการอ้างถึง หรือถูกนำไปใช้ <p> วิธีคำนวณหาค่า Impact Factor ในรอบ 2 ปี มีดังนี้ <p> A= จำนวนรายการอ้างอิงในปี 2003 ที่อ้างอิงถึงบทความปี 2001-2002 <p> B= จำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในปี 2001-2002 โดยวารสารนั้น <p> C= A/B = Impact factor ปี 2003 ของวาสารชื่อนั้น หรือจำนวนครั้งโดยเฉลี่ย ที่บทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสารนั้นในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา (2001-2002) และได้รับการอ้างอิงในปี 2003 <p> ตัวอย่างเช่น ค่า Impact factor ปี 2003 ของวารสาร Science หมายความว่า มีการตีพิมพ์บทความในวารสาร Science ในปี 2001-2002 และถูกนำมาอ้างอิงในปี 2003 มีจำนวนครั้งโดยเฉลี่ยเกิดขึ้นเท่าไร พบว่าวารสารที่ดีจะมีค่า Impact factor สูง ดังนั้น Impact factor เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ เปรียบเทียบ และ จัดอันดับวารสาร (Journal Ranking) ช่วยประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการจัดหาและบอกรับวารสารของห้องสมุด และยังสามารถใช้ประเมินคุณภาพของสถาบันการศึกษาได้ด้วย เนื่องจากค่า Impact Factor สามารถบอกถึงคุณภาพของผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารของนักวิจัยจากแต่ละสถาบันได้เป็นอย่างดี Impact factor นี้คิดขึ้นโดย ยูจีน การ์ฟิลด์ (Eugene Garfield) ผู้ก่อตั้ง Institute for Scientific Information (ISI) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา <p> การจัดอันดับวารสารของวารสารจากทั่วโลก มีการใช้ค่า Impact Factor รวมทั้งค่าอื่นๆ เช่น Cited Half-Life และ Immediacy Index มาพิจารณาประกอบกัน โดยได้รวบรวมและสรุป ไว้ใน Journal Citation Report (JCR) เป็นประจำทุกปี ซึ่งจัดทำโดย Institute Scientific Information (ISI) ตั้งแต่ปี 1975 จนถึงปัจจุบัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Cross reference | การอ้างอิงระหว่างกัน [การบัญชี] | Reference interview | การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิง, Example: การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิง (Reference interview) หมายถึง การหารายละเอียดจากผู้ที่มาใช้บริการช่วยการค้นคว้า เพื่อให้บรรณารักษ์ทราบแน่ชัดถึงความต้องการในการค้นคว้าของผู้ที่มาใช้บริการ เพื่อทราบพื้นความรู้ของลูกค้า และเพื่อให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงความสามารถในการใช้หนังสืออ้างอิงของผู้ที่มาใช้บริการ เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคลที่เกิดขึ้นระหว่างบรรณารักษ์อ้างอิงและผู้ที่มาใช้บริการช่วยการค้นคว้า เพื่อตรวจสอบความต้องการข้อมูลของบุคคล ซึ่งอาจจะแตกต่างจากคำถามอ้างอิงที่ตั้งคำถามเป็นครั้งแรก เพราะผู้ใช้บริการอาจจะไม่พูดโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพบกันแบบตัวต่อตัว ความอดทนและความสามารถในการติดต่อของบรรณารักษ์ เพื่อให้ผู้ใช้ให้รายละเอียดมากที่สุด การสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิงอาจเกิดขึ้นโดยทางโทรศัพท์หรือทางอิเล็กทรอนิกส์ (ผ่านทางอีเมล์) ตามคำร้องขอของผู้ใช้ <br> แต่บรรณารักษ์อ้างอิงที่ได้รับการฝึกอบรมดีแล้ว บางครั้งจะเป็นฝ่ายเริ่มต้นการสื่อสารถ้าผู้ใช้ลังเลที่จะขอความช่วยเหลือ การหารายละเอียดจากการสัมภาษณ์เพื่อการอ้างอิงนี้ เพื่อให้ฝ่ายบรรณารักษ์ได้รับความกระจ่างมากพอที่จะสามารถหาคำตอบมาให้ผู้ใช้ได้ดีที่สุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| | analogism | (n) อนุมานหรือการอ้างอิงจากการเปรียบเทียบ | idem | (pron) เหมือนเดิม (ใช้ในการอ้างถึงเรื่อง บท ตอนที่กล่าวมาแล้ว) | justification | (n) การให้เหตุผลแก้ตัว, See also: การให้เหตุผล, การอ้างเหตุผล | misquotation | (n) การอ้างผิด, See also: การยกมาอ้างผิดๆ | misquotion | (n) การอ้างผิด, Syn. distortion, exaggeration | name-dropping | (n) การอ้างชื่อผู้มีชื่อเสียงที่รู้จักกันเพื่อทำให้คนอื่นประทับใจ | quotability | (n) การอ้างอิงได้ | quotation | (n) สิ่งที่อ้างอิงถึง, See also: การอ้าง, คำอ้างอิง, ราคาปัจจุบัน, ราคาตลาด, Syn. excerpt, quote, citation, citing | quote | (n) การอ้างอิง | reasoning | (n) การใช้เหตุผล, See also: การอ้างเหตุผล, Syn. rationalizing, argumentation | ref. | (abbr) การอ้างอิง (คำย่อของ reference)(มักใช้ทางธุรกิจ) | reference | (n) การอ้างอิง, See also: การอ้างถึง | referential | (adj) ซึ่งมีข้ออ้างอิง, See also: เกี่ยวกับการอ้างอิง | referral | (n) การอ้างอิง, See also: กระบวนการอ้างอิง | syllogism | (n) การอ้างเหตุผล | unquote | (adv) ใช้ในการพูดหมายถึง จบการอ้างอิง |
| * | เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ | allegation | (แอลลิเก' เชิน) n. การกล่าวหา, การยืนยัน, การอ้าง, ข้อกล่าวหา, ข้ออ้าง, ข้อยืนยัน, กล่าวหา, Syn. accusation, assertion | analogic | (al) (แอนนะลอจ' จิค, -เคิล) adj. คล้ายกัน, เหมือนกัน, อุปมา, เปรียบเหมือน analogism (อะแนล' โลจิสซึม) n. อนุมานหรือการอ้างอิงจากการเปรียบเทียบ -analogist n., -analogistic adj. (reasoning, analogy) | argument | (อาร์'กิวเมินทฺ) n. การโต้เถียง, การโต้คารม, การอ้างเหตุผล, ขบวนการให้เหตุผล, ข้อโต้เถียง, เรื่อง, ข้อสรุป, หลักฐาน, ข้อพิสูจน์ | assertion | (อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement | asterisk | (แอส'เทอริสคฺ) n. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) , สิ่งที่มีลักษณะคล้ายดาว. -vt. ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์หรือดาว ดอกจัน <คำแปล>* <เครื่องหมาย>เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ | bearing | (แบ'ริง) n. ความอดทน, ที่รองรับ, ตำแหน่ง, ทิศทาง, การออกผล, การอ้างอิง, ความสัมพันธ์, ความสามารถ, การให้ผล, ผล, ผลผลิต, Syn. endurance, yield | camp | (แคมพฺ) { camped, camping, camps } n.ค่ายที่พัก, เต้นท์, ท่าทางทีหลอกลวง, มายา, การอ้างสิทธิ v. ตั้งค่าย, พัก, หลับนอน, ปักหลักอยู่อย่างดื้อรั้น | chapter and verse | n. (การอ้าง) ถ้อยคำในบท, หลักฐาน | citation | (ไซเท'เชิน) n. การอ้างอิง, ประโยคหรือสิ่งที่อ้างถึง, หมายเรียก, หมายศาล, รางวัลหรือคำชมเชย, จดหมายชมเชย, คำสดุดี, See also: citatory adj. ดูcitation, Syn. summons | datum | (เด'ทัม, ดา'ทัม) n. ข้อมูลตัวเลข, ข้อเท็จจริงในการอ้างอิง, ฐาน, Syn. fact -pl. data | droit | (ดรอยทฺ) n. สิทธิ, การอ้างสิทธิ | fallacy | (แฟล'ละซี) n. การหลอกลวง, การทำให้เข้าใจผิด, ความผิดพลาด, การอ้างเหตุผลหรือความเชื่อที่ผิด, Syn. delusion | misquotation | (มิสโควเท'เชิน) n. การอ้างผิด | obelisk | (ออบ'บะลิสคฺ) n. อนุสาวรีย์เป็นแท่งหินสูงรูปสี่เหลี่ยมและยอดเป็นพีระมิด, เครื่องหมายที่ใช้ในการอ้างอิง., See also: obeliscal adj. obeliskoid adj. | pretence | (พรีเทนซ', พรี'เทนซฺ) n. การแสร้งทำ, การอวดอ้าง, มารยา, ความหลอกลวง, การอ้างสิทธิ. | pretension | (พรีเทน'เชิน) n. การเรียกร้อง, การอ้างสิทธิ, ข้ออ้าง, การอวดอ้าง, มารยา | quotation | (โควเท'เชิน) n. สิ่งที่อ้างอิงถึง, การอ้าง, คำอ้างอิง, ราคาปัจจุบัน, ราคาตลาด, See also: quotative adj., Syn. quote | reference | (เรฟ'เฟอเรินซฺ) n. การอ้างอิง, การอ้างถึง, หนังสืออ้างอิง, เครื่องหมายอ้างอิง, บุคคลที่อ้างถึง, ความสัมพันธ์, หลักฐาน, หลักฐานที่ผู้สมัครงานอ้างถึง, Syn. mention, source | regard | (รีการ์ด') vt. พิจารณา, ถือว่า, เห็นว่า, จ้องมอง, เอาใจใส่, นับถือ, เคารพ vi. สนใจ, จ้องมอง n. การอ้างอิง, ความสัมพันธ์, ความคิด, ความสนใจ, การมอง, การจ้องมอง, ความนับถือ, ความเคารพ, ไมตรีจิต, See also: regards n. ความเคารพนับถือ regardable adj. | self-defence | (เซลฟฺ'ดิเฟนซฺ) n. การป้องกันตัวเอง, การอ้างการใชกำลังเพื่อป้องกันตัวเอง., See also: self-defensive, self-defencive adj. | self-defense | (เซลฟฺ'ดิเฟนซฺ) n. การป้องกันตัวเอง, การอ้างการใชกำลังเพื่อป้องกันตัวเอง., See also: self-defensive, self-defencive adj. | sophism | (ซอฟ'ฟิสซึม) n. การโต้แย้งโดยอ้างเหตุผลผิด ๆ , การอ้างเหตุผลผิด ๆ , การหลอกลวง, การตบตา, Syn. fallacy, false argument | sophistication | (ซะฟิสทิเค'เชิน) n. ลักษณะที่ช่ำชองโลก, ลักษณะชาวกรุง, การขาดความไร้-เดียงสา, การขาดลักษณะธรรมชาติ, การเปลี่ยนจากลักษณะธรรมชาติ, การอ้างเหตุผลผิด ๆ | syllogism | (ซิล'ละจิสซึม) n. การอ้างเหตุผลหรืออนุมานตามลำดับขั้นตอนที่ตบตา, ประกอบด้วย2หลักคือหลักใหญ่ (major premise) กับหลักเล็ก |
| ascription | (n) การอ้าง, การให้เหตุผล, การสันนิษฐาน, การลงความเห็น | assertion | (n) การยืนยัน, การอ้างสิทธิ์, การถือสิทธิ์, การแสดงสิทธิ์ | citation | (n) การอ้าง, การอ้างอิง, การกล่าวถึง, การส่งหมาย, หมายศาล | claim | (n) สิทธิ, คำร้อง, การเรียกร้องสิทธิ์, การอ้างสิทธิ | justification | (n) การให้เหตุผล, การแสดงความบริสุทธิ์, การอ้างเหตุผล | mention | (n) การกล่าวถึง, การพาดพิงถึง, การอ้างถึง, คำอ้าง, คำชมเชย | pretension | (n) การเรียกร้องสิทธิ์, การอ้างสิทธิ์, การอวดอ้าง, มารยา | quotation | (n) คำอ้างอิง, การอ้าง, สิ่งที่อ้างถึง | reference | (n) ข้ออ้างอิง, การอ้างอิง, หนังสืออ้างอิง, หนังสืออุเทศ |
| namedrop | (vi) การอ้างถึงชื่อผู้อื่นในทำนองว่ารู้จักกับผู้นั้น เพื่อสร้างมูลค่าให้ตนเอง, โดยทั่วไปมีความหมายในเชิงลบ. ตัวอย่าง เช่น I know Lisa of Blackpink and she often comes to my house for dinner. ฉันรู้จักลิซ่าแห่งวง Blackpink นะ เขามาทานอาหารเย็นที่บ้านฉันบ่อยๆ | overlapping territorial claims area | (n) พื้นที่ทับซ้อน, พื้นที่ทางบกหรือทางทะเลซึ่งมีประเทศมากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ สงคราม ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ เช่น พื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารที่มีปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา. หมู่เกาะสแปรตลีที่เป็นพื้นที่ทับซ้อน มีหลายประเทศต่างอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะทั้งหมดหรือบางส่วนของหมู่เกาะ ได้แก่ จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน บูรไน และ มาเลเซีย | RFCs | (n) เอกสาร ที่ใช้เป็นมาตราฐาน เพื่อการอ้างอิง ของ Internet |
| 参照 | [さんしょう, sanshou] การอ้างอิง การดูประกอบ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |