ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
|
|
นักวิทยาศาสตร์ | (n) scientist, Example: ประเทศของเรายังต้องการนักวิทยาศาสตร์อีกมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชำนาญในวิทยาศาสตร์ |
|
คูเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๖ สัญลักษณ์ Cm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | แคลิฟอร์เนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๘ สัญลักษณ์ Cf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | เทคนีเชียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๓ สัญลักษณ์ Tc เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | เนปทูเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๓ สัญลักษณ์ Np เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน. | โนเบเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๒ สัญลักษณ์ No เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | เบอร์คีเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๗ สัญลักษณ์ Bk เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | พลูโทเนียม | (พฺลู-) น. ธาตุลำดับที่ ๙๔ สัญลักษณ์ Pu เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | โพรมีเทียม | (โพฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๖๑ สัญลักษณ์ Pm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๒๗ °ซ. | เฟอร์เมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๐ สัญลักษณ์ Fm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | เมนเดลีเวียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๑ สัญลักษณ์ Md เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | รัทเทอร์ฟอร์เดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๔ สัญลักษณ์ Rf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ในสหพันธรัฐรัสเซียเรียกชื่อธาตุนี้ว่า เคอร์ชาโทเวียม (kurchatovium) และใช้สัญลักษณ์ Ku. | ลอว์เรนเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๓ สัญลักษณ์ Lr (ใช้ Lw ก็มี) เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | อะเมริเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๕ สัญลักษณ์ Am เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | ไอน์สไตเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๙ สัญลักษณ์ Es เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | ฮาห์เนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๕ สัญลักษณ์ Ha เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
|
X-rays | รังสีเอกซ์, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] | Roentgen rays | รังสีเรินต์เก็น, รังสีในรูปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มีอำนาจทะลุทะลวงสูงไม่ได้มีต้นกำเนิดจากนิวเคลียสของอะตอม แต่เกิดขึ้นเมื่ออะตอมถูกกระตุ้น ทำให้อิเล็กตรอนวงในหลุดออกไป และอิเล็กตรอนวงถัดไปเข้ามาแทนที่ แล้วให้พลังงานส่วนเกินออกมาในรูปของรังสีเอกซ์ หรือเกิดจากการระดมยิงเป้าโลหะหนักบางชนิด เช่น ทังสเตน ด้วยอิเล็กตรอนความเร็วสูง ซึ่งอิเล็กตรอนจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างทันทีทันใดและปล่อยรังสีเอกซ์ออกมา บางคน เรียกรังสีเอกซ์ว่า รังสีเรินต์เก็น ตามชื่อของ วิลเฮล์ม คอนราด เรินต์เก็น นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันผู้ค้นพบรังสีนี้เมื่อ ปี พ.ศ. 2438 [นิวเคลียร์] | Scientist | นักวิทยาศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Food scientist | นักวิทยาศาสตร์การอาหาร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Marine scientist | นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Food scientists | นักวิทยาศาสตร์การอาหาร [TU Subject Heading] | Scientists | นักวิทยาศาสตร์ [TU Subject Heading] | Bronsted-Lowry theory | ทฤษฎีกรด-เบสเบรินสเตด- ลาวรี, ทฤษฎีกรด-เบสที่นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษชื่อ T.M. Lowry (1874 - 1936) และนักวิทยาศาสตร์ชาวเดนมาร์ก ชื่อ J. N. Bronsted (1879 -1944) ต่างคนต่างได้เสนอเมื่อปี ค.ศ. 1923 โดยอธิบายความหมายของกรด-เบส ในเรื่องของการให้หรือรับโปรตอนดังนี้ กรดคือสารที่ให้โปรตอนแล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | pure science | วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์, วิชาหรือความรู้ที่ได้จากผลการศึกษาค้นคว้าของนักวิทยาศาสตร์ โดยความสนใจหรือความต้องการของนักวิทยาศาสตร์เอง ซึ่งอาจจะเป็นพื้นฐานนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทางประยุกต์หรือเทคโนโลยี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | scientific attitude | เจตคติทางวิทยาศาสตร์, ลักษณะของการคิดและปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจที่จะคิดและค้นคว้าทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อยู่เสมอ ความละเอียดถี่ถ้วน มานะบากบั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ในการคิดและปฏิบัติ ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างง่าย ๆ โดยไม่มีเหตุผล ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | scientist | นักวิทยาศาสตร์, บุคคลที่ได้รับการศึกษาและฝึกอบรมให้มีความสามารถที่จะทำวิจัยค้นคว้า เสาะแสวงหาความรู้ และหลักการทางวิทยาศาสตร์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Mammologists | นักวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม [การแพทย์] |
|
นักวิทยาศาสตร์ | [nakwitthayāsāt] (n) EN: scientist FR: scientifique [ m, f ] ; homme de science [ m ] | นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ | [nakwitthayāsāt chāo Angkrit] (n, exp) EN: English scientist FR: scientifique anglais [ m ] | นักวิทยาศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ | [nakwitthayāsāt phū yingyai] (n, exp) FR: scientifique illustre [ m ] ; célèbre homme de science [ m ] | ทีมนักวิทยาศาสตร์ | [thīm nakwitthayāsāt] (n, exp) FR: équipe de scientifiques [ f ] |
|
bayer pattern | (n) รูปแบบตารางแผ่นกรองหลากสี สำหรับปะหน้าตัวรับภาพที่แยกแยะได้เฉพาะค่าความสว่าง (เช่น CCD หรือ CMOS Sensor) เพื่อให้สามารถแยกแยะสีของภาพได้ โดยแผ่นกรองนี้จะยอมให้แสงสีที่กำหนดผ่านไปตกบนตัวรับภาพ ณ บริเวณที่กำหนดเท่านั้น bayer pattern ที่นิยมใช้กันมากในกล้องถ่ายภาพมี สองชนิด คือ RGB bayer pattern และ CMY bayer pattern ซึ่งยอมให้แสงสี Red-Green-Blue และ Cyan-Magenta-Yellow ไปตกบนตัวรับภาพได้ ตามลำดับ ชื่อของแบบตาราง มาจากชื่อของ Dr. Bayer นักวิทยาศาสตร์ของบริษัท Kodak ผู้คิดค้น, See also: CCD |
|
|
babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ | bernouilli box | กล่องเบอร์นิวลีหมายถึง ระบบการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ๆ ไว้ในแถบบันทึกคาร์ทริดจ์ (cartridge) แถบบันทึกชนิดนี้ทำไว้ให้ถอดเก็บได้สะดวก นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิสที่ ชื่อเบอร์นิวลี (Bernouilli) เป็นผู้คิดทำและ เป็นผู้คิดทฤษฎีเกี่ยวกับพลังการหมุนของแถบบันทึกชนิดนี้ | scientist | (ไซ'เอินทิสทฺ) n. นักวิทยาศาสตร์ |
|
|
embryologist | (n) นักวิทยาศาสตร์เพาะเลี้ยงตัวอ่อน, See also: embryo | mega tsunami | (n) คลื่นซึนามิขนาดใหญ่ ที่นักวิทยาศาสตร์คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งคลื่น mega tsunami อาจมีความสูงหลายร้อยเมตร มีอำนาจการทำลายล้างมากกว่า Tsunami หลายสิบเท่า | Oceanographer | [โอ๊เชียนโนกราฟเฟอ] (n) นักประดาน้ำ, นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับทะเล | Oceanographer | [โอ๊เชี่ยนโนกราฟเฟอ] (n) นักวิทยาศาสตร์ทางทะเล, นักประดาน้ำ, Syn. Frogman | polymath | [โพลีแม็ธ] (n) คือผู้ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่างๆ ในการใช้อย่างเป็นทางการเท่าใดนักจะหมายถึงผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูง นักวิทยาศาสตร์สมัยโบราณมักจะเป็น “ผู้รู้รอบด้าน” โดยมาตรฐานที่ใช้กันในปัจจุบัน ผู้รู้รอบด้านมีความหมายต่างจากคำว่าอัจฉริยบุคคล (ข้อมูลแปลจาก wikipedia.org) |
|
Kittel | (n) |der, pl. Kittel| เสื้อคลุมยาว, เสื้อกาวน์(สำหรับแพทย์หรือนักวิทยาศาสตร์), See also: Related: Mantel | erforschen | (vt) |erforschte, hat erforscht| (+ A) วิจัยหรือศึกษาทางด้านวิชาการอย่างละเอียด เช่น Die Wissenschaftler erforschen die Verbreitung der Bakterien. นักวิทยาศาสตร์วิจัยการขยายตัวของแบคทีเรียนี้, See also: Related: forschen | forschen | (vi) |forschte, hat geforscht| (nach etw./jmdm.) พยายามเพื่อหาที่มาหรือสาเหตุของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น Wissenschaftler forschen seit langem nach der Ursache des Aussterbens von Dinosaurier. นักวิทยาศาสตร์พยายามศึกษาหาสาเหตุของการสูญพันธ์ของไดโนเสาร์มานานแล้ว, See also: Related: erforschen |
|