ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: เกษตรกร, -เกษตรกร- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ เกษตรกร | (n) agriculturist, See also: farmer, Example: การแก้ปัญหาเรื่องความแห้งแล้งของชนบทเป็นเรื่องสำคัญ เพราะเกษตรกรต้องใช้น้ำในการประกอบอาชีพ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ประกอบอาชีพด้านการเพาะปลูกพืชต่างๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การประมง และการทำป่าไม้, Notes: (สันสกฤต) | เกษตรกรรม | (n) agriculture, See also: husbandry, farming, Example: การเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรม จะกระทบกระเทือนโครงสร้างเดิมของสังคมที่มีโครงสร้างเกษตรกรรม, Thai Definition: การใช้ที่ดินเพาะปลูกพืชต่างๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การประมง และการทำป่าไม้, Notes: (สันสกฤต) | ประเทศเกษตรกรรม | (n) agrarian country, See also: agricultural country, Ant. ประเทศอุตสาหกรรม, Example: ไทยกำลังเปลี่ยนแปลงจากประเทศเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรม และขยายความเจริญทางเศรษฐกิจออกสู่ชนบท, Thai Definition: ประเทศที่ประชาชนทำการเกษตรกรรมเป็นหลัก | องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร | (n) Marketing Organization for Farmers | สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | (n) Agricultural Land Reform Office, See also: ALRO, Syn. ส.ป.ก., Example: สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมมีความประสงค์จะชื้อเครื่องมือใหม่ เพื่อใช้ในโครงการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมในเขตปฏิรูปที่ดิน |
|
| การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | น. การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐนำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนมาจัดให้แก่เกษตรกรผู้ยากจน โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม. | เกษตรกร | (กะเสดตฺระกอน) น. ผู้ทำเกษตรกรรม. | เกษตรกรรม | (กะเสดตฺระกำ) น. การใช้ที่ดินเพาะปลูกพืชต่าง ๆ รวมทั้งการเลี้ยงสัตว์ การประมง และการป่าไม้. | เช่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | ก. เช่าที่ดินของผู้อื่นเพื่อการทำนา ทำสวน ทำไร่ ทำนาเกลือ เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์น้ำ และกิจการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด. | กร ๑ | (กอน) น. ผู้ทำ, ใช้ประกอบเป็นส่วนหลังของสมาส เช่น กรรมกร เกษตรกร. | กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น | การจัดรูปที่ดิน | น. การดำเนินงานพัฒนาที่ดินที่ใช้เพื่อเกษตรกรรมให้สมบูรณ์ทั่วถึงที่ดินทุกแปลงเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนการผลิต โดยทำการรวบรวมที่ดินหลายแปลงในบริเวณเดียวกัน เพื่อวางผังจัดรูปที่ดินเสียใหม่และสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกและพัฒนาที่ดินนั้น. | เกษตรศาสตร์ | (กะเสดตฺระสาด) น. วิชาว่าด้วยเกษตรกรรม. | ค่าธรรมเนียม | น. เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่เรียกเก็บตามกฎหมาย เนื่องจากการให้บริการของหน่วยงานของรัฐ เช่น ค่าธรรมเนียมศาล ค่าธรรมเนียมการส่งออกตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมตามประมวลกฎหมายที่ดิน. | ทฤษฎีใหม่ | น. หลักวิชาการจัดการเกษตรที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงคิดค้นขึ้นเพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกรพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็ง มี ๓ ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นต้น คือ ครอบครัวเกษตรกรรายย่อยบริหารจัดการพื้นที่ทำกินให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๔ ส่วน คือ พื้นที่ขุดสระ พื้นที่ปลูกข้าว พื้นที่ปลูกพืชไร่พืชสวน และพื้นที่อยู่อาศัย เพื่อให้เกิดการผลิตที่พออยู่พอกิน ขั้นกลาง คือ รวมเป็นกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมเพิ่มผลผลิตและจำหน่ายอย่างมีพลังต่อรอง และขั้นก้าวหน้า คือ สร้างเครือข่ายนอกชุมชนเพื่อหาแหล่งทุนมาร่วมลงทุนและพัฒนา ทุกขั้นตอนเน้นความมัธยัสถ์ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง. | ที่ดินส.ป.ก. | น. คำเรียกที่ดินที่คณะกรรมการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมอนุญาตให้เกษตรกรเข้าทำประโยชน์ในที่ดินของรัฐในเขตปฏิรูปที่ดิน โดยไม่ให้กรรมสิทธิ์ แต่ให้ตกทอดทางมรดกแก่ทายาทโดยธรรมได้. | แทรกเตอร์ | (แทฺรก-) น. รถทุ่นแรงที่ใช้ในงานเกษตรกรรมหรืองานก่อสร้าง มีทั้งแบบตีนตะขาบและแบบล้อ ใช้ลากหรือขับเคลื่อนอุปกรณ์อย่างอื่นที่ติดเข้ากับตัวรถตามลักษณะงานที่ใช้. | นิคมสร้างตนเอง | น. บริเวณที่ดินของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นนิคมสร้างตนเอง เพื่อให้ราษฎรที่ขาดแคลนที่ดินทำกินได้มีที่ตั้งเคหสถานและประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักแหล่งในที่ดินนั้น. | นิคมสหกรณ์ | น. บริเวณที่ดินของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นนิคมสหกรณ์ เพื่อให้ราษฎรที่ขาดแคลนที่ดินทำกินได้มีที่ตั้งเคหสถานและประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักแห่งในที่ดินนั้น โดยให้มีการก่อตั้งสหกรณ์ขึ้น. | พืชมงคล | (พืดชะ-, พืด-) น. ชื่อพระราชพิธีเพื่อเป็นสวัสดิมงคลแก่เกษตรกรและความเจริญงอกงามของพืชพรรณธัญญาหาร เรียกว่า พระราชพิธีพืชมงคล เป็นพิธีสงฆ์ที่ทำก่อนพระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญซึ่งเป็นพิธีพราหมณ์ เริ่มมีในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. | ฟาร์ม | น. อาณาบริเวณที่ใช้ทำการเกษตรกรรม มีเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ เช่น ทำฟาร์มปลูกข้าวโพดข้าวฟ่าง เลี้ยงไก่เลี้ยงปลาเป็นต้น. | เร่งเร้า | ก. รบเร้าให้รีบทำ, รบเร้าให้ทำโดยเร็ว, เช่น เขายังไม่พร้อมที่จะแต่งงาน ก็อย่าเพิ่งไปเร่งเร้าเขาเลย เกษตรกรเร่งเร้าให้ทางการช่วยเหลือก่อนที่พืชผลจะเสียหาย. | หอการค้า | น. สถาบันที่บุคคลหลายคนจัดตั้งขึ้นเพื่อส่งเสริมการค้า อุตสาหกรรม เกษตรกรรม การเงินหรือเศรษฐกิจ อันมิใช่เป็นการหาผลกำไรหรือรายได้แบ่งปันกัน. |
| population dependent on agriculture | ประชากรที่พึ่งเกษตรกรรม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | crofter | เกษตรกรรายย่อย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | farm | สถานเกษตรกรรม, ไร่นา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | farm worker | คนทำงานสถานเกษตรกรรม, คนงานภาคเกษตร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | farmer | ชาวไร่ชาวนา, เกษตรกร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | tenant farmer | เกษตรกรผู้เช่าไร่นา, ลูกนา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
| Agricultural colony | นิคมเกษตรกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Agricultural society | สังคมเกษตรกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Agricultural taxation | การเก็บภาษีเกษตรกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Agriculture | เกษตรกรรม, เกษตรกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Agroforestry | วนเกษตรกรรม [เศรษฐศาสตร์] | Agricultural conservation | การอนุรักษ์เกษตรกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Agricultural chemistry | เกษตรกรรมเคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Sustainable agriculture | เกษตรกรรมแบบยั่งยืน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Agricultural administration | การบริหารเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Agricultural chemistry | เกษตรกรรมเคมี [TU Subject Heading] | Agricultural colonies | นิคมเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Agricultural conservation | เกษตรกรรมอนุรักษ์ [TU Subject Heading] | Agricultural processing | กระบวนการผลิตทางเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Agricultural systems | ระบบเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Agriculture | เกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Agriculture and state | เกษตรกรรมกับรัฐ [TU Subject Heading] | Alternative agriculture | เกษตรกรรมทางเลือก [TU Subject Heading] | Artificial satellites in agriculture | ดาวเทียมในงานเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Communism and agriculture | ลัทธิคอมมิวนิสต์กับเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Farmers | เกษตรกร [TU Subject Heading] | Farmers' institutes | สถาบันเกษตรกร [TU Subject Heading] | Farmers' markets | ตลาดเกษตรกร [TU Subject Heading] | Farmers' spouses | คู่สมรสเกษตรกร [TU Subject Heading] | Integrated agricultural systems | ระบบเกษตรกรรมแบบผสมผสาน [TU Subject Heading] | Land capability for agriculture | ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Organic farming | เกษตรกรรมเชิงชีวภาพ [TU Subject Heading] | Permaculture | เกษตรกรรมถาวร [TU Subject Heading] | Plastics in agriculture | พลาสติกในงานเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Spraying and dusting in agriculture | การพ่นและการโรยฝุ่นในเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Sustainable agriculture | เกษตรกรรมยั่งยืน [TU Subject Heading] | Volunteer workers in agriculture | อาสาสมัครในงานเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Women farmers | เกษตรกรสตรี [TU Subject Heading] | Women in agriculture | สตรีในเกษตรกรรม [TU Subject Heading] | Farmer | เกษตรกร, Example: เกษตรกรซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับที่ดินจากการปฎิ รูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม [สิ่งแวดล้อม] | Crofter | เกษตรกรขนาดเล็ก, Example: ในสก๊อตแลนด์มักจะเรียกเกษตรกร หรือชาวไร่ชาวนาที่มีไร่นาไม่มากนักว่า เกษตรกรขนาดเล็ก [สิ่งแวดล้อม] | Land Farming | เกษตรกรรมจากของเสีย, Example: การนำของเสียทิ้งบนพื้นที่เกษตร เพื่อให้ย่อยสลายบนผิวดิน และอาจมีการเติมปุ๋ยลงไปเพื่อช่วยในการย่อยสลายของเสียให้รวดเร็วขึ้น [สิ่งแวดล้อม] | Wastewater Farming | เกษตรกรรมน้ำเสีย, Example: การเพาะปลูกโดยใช้น้ำเสียที่ระบายทิ้งเป็นปุ๋ย ประกอบ [สิ่งแวดล้อม] | Cultivation | การเกษตรกรรม, Example: การเกษตรกรรม [สิ่งแวดล้อม] | Common Agricultural Policy (CAP) | นโยบายเกษตรกรรมร่วม, Example: นโยบายและมาตรการทางการค้าต่างๆ ทางด้านเกษตรกรรมของประชาคมยุโรป (ดู EC) เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเกษตรกรรมของประเทศในกลุ่ม ยกระดับมาตรฐานการครองชีพสำหรับเกษตรกรรมของประเทศในกลุ่ม ยกระดับมาตรฐานการครองชีพสำหรับเกษตรกร สร้างเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในภาคเกษตร และเพื่อสร้างหลักประกันว่าจะมีสินค้าเกษตรกรรมอย่างพอเพียงแก่การบริโภคใน ราคาเป็นธรรมแก่ประชาชนในกลุ่ม หลักการสำคัญในการดำเนินงานของนโยบายเกษตรกรรมร่วมมี 2 ประการ คือ 1) ค่าธรรมเนียมผันแปร (variable levy) เป็นภาษีนำเข้าที่ประชาคมยุโรปกำหนด (EC target farm prices) กับราคาสินค้าเกษตรที่นำเข้า 2) การให้การอุดหนุนการส่งออก (export subsidies) โดยการส่งเสริมการส่งออกสินค้าเกษตรกรรมที่ไม่สามารถขายในประชาคมยุโรปได้ ตามราคาเป้าหมายที่ประชาคมยุโรปกำหนด นโยบายเกษตรกรรมร่วมของประชาคมยุโรปนี้ ได้รับการลงนามรับรองเมื่อ พ.ศ.2501 [สิ่งแวดล้อม] | Agriculture Institute | สถาบันเกษตรกร, Example: สถาบันเกษตรกรซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับที่ดินจาก การปฎิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม [สิ่งแวดล้อม] | Food and Agriculture Organization | องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2488 มีหน้าที่บรรเทาความอดอยากและหิวโหยของ ประชากรโลกด้วยการส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงโภชนาการ และแสวงหาความมั่นคงทางด้านอาหาร ปัจจุบันมีสมาชิก 171 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี " [การทูต] | International Fund for Agricultural Development | กองทุนระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาเกษตรกรรม [การทูต] | International Organization for Standardization | องค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ เป็นองค์กรระหว่างประเทศทำหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และเกษตรกรรม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค [การทูต] | Accidents, Agricultural | อุบัติเหตุที่เกิดจากงานเกษตรกรรม [การแพทย์] | Agricultural Productivity | ผลผลิตทางเกษตรกรรม [การแพทย์] | Agricultural Workers' Diseases | โรคเกิดจากอาชีพเกษตรกรรม; เกษตรกร, โรค [การแพทย์] | agricultural development | agricultural development, การพัฒนาเกษตรกรรม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] | agriculture | agriculture, เกษตรกรรม [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
| การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | [kān patirūp thīdin pheūa kasēttrakam = kān patirūp thīdin pheūa kasēttakam] (n, exp) EN: agricultural land reform | เกษตรกรรม | [kasēttrakam = kasēttakam] (n) EN: agriculture FR: agriculture [ f ] | เกษตรกร | [kasēttrakøn = kasettakon] (n) EN: farmer ; agriculturist FR: agriculteur [ m ] ; fermier [ m ] | เกี่ยวกับเกษตรกรรม | [kīokap kasēttrakam = kīokap kasēttakam] (adj) EN: agricultural FR: agricole | ประเทศเกษตรกรรม | [prathēt kasēttrakam] (n, exp) EN: agrarian country ; agricultural country FR: pays agricole [ m ] | รถเกษตรกรรม | [rot kasēttrakam = rot kasēttakam] (n, exp) EN: E-taen ; E-taen farm tractor ; farmer's truck ; motorized cart | รถเกษตรกร | [rot kasēttrakøn = rot kasettakon] (n, exp) EN: E-taen ; E-taen farm tractor ; farmer's truck ; motorized cart |
| agrarian | (n) ผู้นิยมกรทำเกษตรกรรม | agricultural | (adj) ที่เกี่ยวกับเกษตรกรรม, Syn. farming, rustic | agriculturalist | (n) กสิกร, See also: ชาวไร่, เกษตรกร, Syn. agriculturist | agriculture | (n) เกษตรกรรม, See also: การเกษตร, กสิกรรม, Syn. farming | agriculturist | (n) กสิกร, See also: ชาวไร่ชาวนา, เกษตรกร, Syn. agriculturalist | furrow | (n) ร่องดิน (ทางเกษตรกรรม), Syn. groove, rut | highbred | (adj) ซึ่งมีพันธุ์ดี (ทางเกษตรกรรม), See also: ซึ่งเป็นพันธุ์แท้, Syn. purebred, thoroughbred, pedigreed, Ant. mixed | husbandman | (n) เกษตรกร, See also: ชาวไร่ชาวนา | land reform | (n) การปฏิรูปที่ดินของรัฐบาลเพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินของตนเอง, See also: การปฏิรูปที่ดิน | peasant | (n) ชาวนา, See also: กสิกร, เกษตรกร, ชาวไร่, ชาวชนบท, Syn. provincial | planter | (n) เจ้าของฟาร์มเพาะปลูก, See also: เจ้าของไร่, คนเพาะปลูก, เกษตรกร, Syn. farmer, agriculturist, cultivator | water | (vt) ให้น้ำ (ทางเกษตรกรรม), See also: รดน้ำ, Syn. irrigate |
| agriculture | (แอก' กริคัลเชอะ) n. การเกษตร, เกษตรกรรม, กสิกรรม, เกษตรศาสตร์, -agri- cultural adj., Syn. tillage, agronomy | agriculturist | (แอกกริคัล' เชอะริสทฺ) n. ชาวนา, เกษตรกร., Syn. agriculturalist | agro- | (คำเสริมหน้า) เกี่ยกวับเกษตรกรรมหรือยา | agrobiology | (แอก' โกรไบออล' โลจี) ชีวเกษตรกรรม, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับชีวิต และโภชนาการของพืช. -agrobiologic, agribiological adj. -agrobiologist n. วิทยาที่เกี่ยวกับเ (agro+biology) | agrology | (อะกรอล' โลจี) n. วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับดินเพาะปลูกเกษตรกรรม, ปฐพีเกษตรกรรม. -agroligic, agrological adj. | agronomics | (แอกโรนอม' มิคซฺ) ปฐพีศาสตร์, วิทยาศาสตร์เกี่ยวกับพื้นดินเพาะปลูกสำหรับเกษตรกรรม (science of managing crops) | aquaculture | (แอด'ควะคัลเชอะ) n. การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ใต้น้ำ, เกษตรกรรมใต้น้ำ., Syn. aquiculture | aquiculture | (แอค'วิคัลเซอะ) n. เกษตรกรรมใต้น้ำ, การเลี้ยงสัตว์หรือพืชใต้น้ำ, การหล่อเลี้ยงด้วยน้ำ. -aquiculturist n. (hydroponics) | cereus | (เซอ'เรซ) n. พระแม่เกษตรกรรม | soil | (ซอลย์) n. ดิน, พื้นดิน, ดินชนิดใดชนิดหนึ่ง, ที่ดิน, ดินแดน, ที่ทีเหมาะสำหรับเจริญเติบโต, ประเทศ, ภูมิลำเนา, ปิตุภูมิ, เกษตรกรรม, ชีวิตเกษตรกร vt., vi., n. (การ) สกปรก, ้เปื้อน, ด่างพร้อย, มีมลทิน, มัวหมอง., รอยเปื้อน, รอยสกปรก, ด่างพร้อย, มลทิน, ความสกปรก, ความโสโครก, ปุ๋ย. | world's fair | n. การแสดงสินค้านานาชาติ, นิทรรศการขนาดใหญ่ที่จัดขึ้น โดยมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมแสดงผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และศิลปกรรม |
| | 不作 | [ふさく, fusaku] (n) การเกษตรกรรมที่ล้มเหลว เก็บเกี่ยวพืชผลไม่ได้ หรือได้ไม่ดี |
| 農村 | [ふさく, nouson] ชุมชนเกษตรกรรม |
| Hagelschlag | (n) |der| การตกอย่างหนักของลูกเห็บ ซึ่งมักก่อความเสียหายแก่เกษตรกร | Bauer | (n) |der, pl. Bauern| ชาวนา, เกษตรกร เช่น Bauern freuen sich auf Regen. เกษตรกรยินดีกับการมาของฝน |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |