ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: แนวทาง, -แนวทาง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ แนวทาง | (n) way, See also: path, course, method, trail, mean, channel, model, Syn. ครรลอง, หนทาง, วิถีทาง, ทาง, Example: การเลือกตั้งครั้งนี้ควรเป็นไปตามแนวทางของระบอบประชาธิปไตย |
|
| แนวทาง | น. ทางปฏิบัติที่วางไว้เป็นแนว. | กฎข้อบังคับ | น. ข้อกำหนดที่กำหนดไว้เป็นแนวทางหรือระเบียบในการปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย. | กรีฑา ๑ | (กฺรีทา) น. กีฬาอย่างหนึ่งแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ประเภทลู่ เช่น การวิ่งระยะทางต่าง ๆ วิ่งผลัด วิ่งข้างรั้ว ซึ่งในการแข่งขันต้องมีทางหรือแนวทางวิ่ง อีกประเภทหนึ่ง คือ ประเภทลาน เช่น กระโดดสูง พุ่งแหลน ทุ่มน้ำหนัก ซึ่งต้องมีสถานที่กว้างเพื่อการแข่งขัน | เขว | (เขฺว) ก. แปรไปจากแนวทางเดิม เช่น พูดมากทำให้ความคิดฉันเขว. | คติ ๒ | (คะติ) น. แบบอย่าง, วิธี, แนวทาง. | ครรลอง | (คันลอง) น. ทาง, แนวทาง, แบบฉบับ. | โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานข้อเสนอและแนวทางให้หน่วยงานเอกชนรับไปดำเนินงานและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. | โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. | โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ. | จริยศึกษา | น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม. | แฉลบ ๑ | (ฉะแหฺลบ) ก. อาการของสิ่งแบน ๆ เคลื่อนเฉไปเฉมาไม่ตรงแนวทาง เช่น ว่าวแฉลบ ร่อนกระเบื้องให้แฉลบไปตามผิวน้ำ. | แฉลบ ๑ | (ฉะแหฺลบ) ว. อาการที่เคลื่อนเฉไปเฉมาไม่ตรงแนวทาง เช่น นกบินแฉลบ รถวิ่งแฉลบ. | ชี้แนะ | ก. แนะแนวทางให้. | ไตรสรณคมน์, ไตรสรณาคมน์ | (-สะระนะคม, -สะระนาคม) น. การยึดถือพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกโดยการน้อมนำเอาพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ มาเป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติ. | ทางการ | น. ระเบียบปฏิบัติที่วางไว้เป็นแนวทาง, ฝ่ายที่เป็นกิจการ. | ทิฏฐานุคติ | น. แนวทางตามที่เห็นที่ยึดถือเป็นแบบอย่างได้. | นอกลู่นอกทาง | ว. ไม่ประพฤติตามแนวทางที่พ่อแม่ครูอาจารย์ได้เคยดำเนินมา. | แนวโน้ม | น. แนวทางที่น่าจะเป็นไปในทางใดทางหนึ่ง. | แนะ | ก. ชี้แนวทางหรือวิธีการให้รู้โดยตรงหรือโดยอ้อม เช่น แนะให้ไปหาหมอ แนะให้รู้เป็นนัย ๆ. | แนะนำ | ก. ชี้แนวทางให้ทำหรือปฏิบัติ เช่น แนะนำให้ดูหนังสือ แนะนำวิธีการใช้ยา | แนะแนว | ก. แนะนำแนวทางว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร. | บรรทัดฐาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ, ปทัสถาน หรือ ปทัฏฐาน ก็ว่า. | เบน | ก. ออกจากหรือทำให้ออกจากแนวทางเดิม เช่น หัวเรือเบนออก เบนหัวเรือ เบนความคิด เบนความสนใจ เบนสายตา. | ปทัฏฐาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ | ปทัสถาน | น. แบบแผนสำหรับยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ | ประกาศ | ข้อความที่ทางราชการแจ้งให้ประชาชนทราบหรือวางแนวทางให้ปฏิบัติ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ ประกาศกระทรวง ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี. | ปริซึม | แท่งตันทำด้วยวัตถุโปร่งใส เช่นแก้ว หินควอตซ์ ปลายทั้ง ๒ เป็นรูปสามเหลี่ยมซึ่งมีพื้นที่เท่ากัน เป็นรูปแบบเดียวกันและขนานกันด้วย ส่วนด้านข้างทุกด้านของแท่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ใช้ประโยชน์สำหรับหักเหแนวทางเคลื่อนที่ของแสง. | ผังเมือง | น. แผนผัง นโยบาย และโครงการที่ใช้เป็นแนวทางในการสร้างหรือพัฒนาเมืองหรือส่วนของเมืองในด้านต่าง ๆ เช่น สุขลักษณะ ความสะดวกสบาย ความสวยงาม ความปลอดภัยของประชาชน. | วางผังเมือง | ก. ควบคุมและกำหนดแนวทางในการพัฒนาเมืองและสภาพแวดล้อม โดยคำนึงถึงความสุข ความสะดวกสบาย ความปลอดภัย ความประหยัด และความสวยงามของชุมชนเป็นส่วนรวม. | วิปริต | (วิปะหฺริด, วิบปะหฺริด) ก. แปรปรวน, ผิดปรกติ, ผิดแนวทาง, แปรปรวนไปข้างร้าย, กลับกลายไปข้างร้าย. | เศรษฐกิจพอเพียง | น. ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานเป็นแนวทางการดำรงชีวิตและปฏิบัติตนของประชาชนตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ให้ดำเนินไปในทางสายกลาง ไม่ประมาท ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรม เป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตให้รอดพ้นจากวิกฤติ มีความมั่นคงและยั่งยืนท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ. | เส้นทาง | น. ทาง, แนวทาง, เช่น ไปสำรวจเส้นทางก่อนเดินทาง. | หักเห | ลักษณะการที่แสงเปลี่ยนแนวทางเคลื่อนที่เมื่อผ่านตัวกลางต่างชนิดกัน. |
| | Potential exposure | การรับรังสีไม่คาดหมาย, การรับรังสีเชิงศักย์, การรับรังสีที่ไม่ได้คาดไว้ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากการดำเนินงานตามปกติ เช่น เกิดจากอุบัติเหตุของต้นกำเนิดรังสี เครื่องมือชำรุดเสียหาย หรือเกิดความผิดพลาดในการดำเนินงาน การรับรังสีนี้ สามารถวิเคราะห์ ประเมิน และกำหนดแนวทางป้องกัน เพื่อลดโอกาสการรับรังสี [นิวเคลียร์] | Individualized Education plan | แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล, แผนซึ่งกำหนดแนวทางการจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษ (special needs) ของคนพิการแต่ละคน (ซึ่งไม่เหมือนกัน) ตลอดจนกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา [Assistive Technology] | Cyclone tracks | แนวทางเคลื่อนที่ของไซโคลน [TU Subject Heading] | Guidelines on the treatment of foreign direct investment | แนวทางการคุ้มครองการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ [TU Subject Heading] | Track | แนวทาง [TU Subject Heading] | Best Practicable Means, BPM | วิธีปฏิบัติได้ดีที่สุด, แนวทางที่ดีที่สุด, บีพีเอ็ม, Example: วิธีปฏิบัติได้ดีที่สุด, แนวทางที่ดีที่สุด [สิ่งแวดล้อม] | ASEAN Minus X | แนวทางในการขับเคลื่อนความร่วมมืออาเซียน, เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนความร่วมมืออาเซียนที่มีความ ยืดหยุ่นซึ่งเปิดโอกาสให้สามารถริเริ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจได้โดยไม่ต้อง รอให้ทุกประเทศสมาชิกอาเซียนเข้าร่วมพร้อมกัน [การทูต] | ASEAN-Canada Business Council | การประชุมสภาธุรกิจอาเซียน-แคนาดา มีการประชุมทุกปีในระหว่างการประชุมสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน เพื่อพิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการติดต่อค้าขาย และการร่วมลงทุนระหว่างกัน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางของความร่วมมือ [การทูต] | Asia-Europe Cooperation Framework | กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน [การทูต] | ASEAN Economic Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีพาณิชย์หรือรัฐมนตรีด้านการ ค้าต่างประ- เทศ ปกติจัดขึ้นปีละครั้งประมาณเดือนกันยายน/ตุลาคมของทุกปี เพื่อหารือ ทบทวนและพิจารณากำหนดแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน [การทูต] | ASEAN Transport Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีขนส่งอาเซียน " จัดขึ้นปีละครั้ง เพื่อหารือและกำหนดแนวทางความร่วมมือด้านการ ขนส่งในอาเซียน อาทิ เส้นทาง ประเภท/ขนาดรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ ใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ การตรวจทางศุลกากร การขนส่งสินค้าผ่านแดน การขนส่งสินค้าข้ามแดน และการพัฒนาโครงข่ายทางหลวงอาเซียน" [การทูต] | ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] | Bangkok Process | เป็นการประชุมอย่างไม่เป็นทางการในระดับรัฐมนตรี เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อคิดเห็นระหว่างกันอย่างตรงไปตรงมาและสร้างสรรค์เกี่ยวกับแนวทางในการสนับ สนุนกระบวนการสร้างความปรองดองภายในชาติและการพัฒนาประชาธิปไตยในพม่าตาม ?Roadmap towards Democracy in Myanmar? เดิมเรียกว่า Forum on International Support for National Reconciliation in Myanmar ประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการประชุม Bangkok Process ครั้งแรกเมื่อ 15 ธันวาคม 2546 ที่กระทรวงการต่างประเทศ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศหรือผู้แทนพิเศษของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศจาก 12 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย ออสเตรีย จีน ฝรั่งเศส เยอรมนี อินเดีย อินโดนีเซีย อิตาลี ญี่ปุ่น พม่า สิงคโปร์ และไทย รวมทั้งนาย Razali Ismail เป็นผู้แทนพิเศษของเลขาธิการสหประชาชาติว่าด้วยพม่าเข้าร่วม [การทูต] | Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] | Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] | East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] | General Border Committee | คณะกรรมการชายแดนทั่วไป เป็นกลไกความร่วมมือด้านความมั่นคง ชายแดน ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเป็นประธานร่วม กัน ทำหน้าที่กกำหนดแนวทางและมาตรการที่เหมาะสมเกี่ยวกับการส่งเสริมความร่วมมือ รักษาความสงบเรียบร้อยและเสถียรภาพในพื้นที่บริเวณชายแดน ซึ่งกลไกนี้ไทยมีกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดนติดต่อกันทั้ง 4 ประเทศ [การทูต] | International Maritime Organization | องค์การกิจการทางทะเลระหว่างประเทศ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเป็นเวทีระหว่างประเทศสมาชิก ในการกำหนดมาตรฐาน และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการเดินเรือ และการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งเป็นกลไกในการสร้างความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศสมาชิก ปัจจุบัน มีสมาชิก 155 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร " [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | Public Diplomacy | การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้ [การทูต] | Regional Code of Conduct in The South China Sea | แนวทางปฏิบัติระดับภูมิภาคในทะเลจีนใต้ เพื่อเป็นการแสดงเจตนารมณ์ร่วมกันของประเทศในบริเวณทะเลจีนใต้ที่จะรักษา สันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค [การทูต] | Senior Economic Officials Meeting | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการประชุมระดับปลัดกระทรวงพาณิชย์ จัดขึ้นปีละ 5-6 ครั้ง เพื่อหารือทบทวน และพิจารณากำหนดแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน [การทูต] | strategic partnership | หุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เป็นลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างสองประเทศที่มีความใกล้ชิดสนิทสนมอย่างยิ่ง อยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาค มีนโยบายและแนวคิดทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหารไปในแนวทางเดียวกัน [การทูต] | Strategic Plan of Action on Environment | แผนปฏิบัติการกลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อม เป็นแนวทางในการดำเนินการด้านสิ่งแวดล้อมของอาเซียน [การทูต] | Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] | Tokyo International Conference on African Development | การประชุมระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว " เป็นการริเริ่มของรัฐบาลญี่ปุ่น ร่วมกับองค์การสหประชาชาติและ องค์การ Global Coalition for Africa เพื่อสนับสนุนการพัฒนาใน ภูมิภาคแอฟริกา ในรูปของความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเอเชียกับ แอฟริกาอย่างเป็นรูปธรรมและมีเอกภาพ โดยเป็นการประชุมในระดับรัฐมนตรี และมีการประชุมแล้ว 2 ครั้ง โดยครั้งแรก (TICAD I) มีขึ้นระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม 2536 โดยมีการรับรองเอกสารปฏิญญา กรุงโตเกียว (Tokyo Declaration) ซึ่งเป็นสัญญาประชาคมที่ประเทศต่าง ๆ จะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาแก่แอฟริกา และครั้งที่ 2 (TICAD II) มีขึ้นระหว่างวันที่ 19-21 ตุลาคม 2541 โดยมีการรับรองแผนปฏิบัติการกรุงโตเกียว (Tokyo Agenda for Action) ซึ่งเป็น แนวทางในการพัฒนาแอฟริกาในด้านต่าง ๆ ทั้งสังคมและเศรษฐกิจ " [การทูต] | Audit guide | แนวทางการตรวจสอบบัญชี [การบัญชี] | Audit trail | แนวทางการตรวจสอบ [การบัญชี] | Coursing | แนวทางเดิน [การแพทย์] | ฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต | ฟื้นฟูสมรรถภาพสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานที่เน้นการอาศัยผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพเข้ามามีบทบาทใน การเยียวยาจิตใจหรือเสริมศักยภาพที่เสียไปให้มีเพิ่มเท่าเดิมหรือดีกว่าเดิม ด้วยหลักวิชาการและแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมตามวิชาชีพ เพื่อให้ผู้มีเคยเจ็บป่วยหรือมีปัญหาสุขภาพจิตอย่างหนัก ได้เห [สุขภาพจิต] | บำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช | บำบัดรักษาปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช, มุมมองการดำเนินงานที่เน้นการให้ผู้เชี่ยวชาญทางวิชาชีพเข้ามามีบทบาทในการ ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชด้วยหลักวิชาการและแนวทางปฏิบัติที่ เหมาะสมตามวิชาชีพ เพื่อให้ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตอย่างหนัก หรือผู้ป่วยจิตเวชมีอาการทุเลา หรือหายจากปัญหาหรือโรคที่ท [สุขภาพจิต] | ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต | ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานที่เน้นการเสริมทักษะและแนวทางปกป้องมิให้ผู้ที่มีความ เสี่ยงต่อสุขภาพจิตเสียได้ง่าย สามารถรับมือปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นอยู่ ณ ปัจจุบัน ให้ผ่านพ้นไปได้ หรือให้แนวทางแก้ไขสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตด้วย โดยการดำเนินงานนั้นต้อ [สุขภาพจิต] | preliminary study | preliminary study, การศึกษาแนวทางพัฒนาลุ่มน้ำ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] | dichotomous key | ไดโคโตมัสคีย์, คู่มือที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นหมวดหมู่ โดยใช้ลักษณะที่ต่างกันของสิ่งมีชีวิตมาพิจารณา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | orbit | วงโคจร, แนวทางการเคลื่อนที่ของวัตถุหรืออนุภาคเป็นวงรอบ เช่น แนวทางการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์รอบโลก แนวทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | scientific method | วิธีการทางวิทยาศาสตร์, วิธีการที่ใช้ศึกษาค้นคว้าโดยการสังเกตรวบรวมข้อมูลและตั้งสมมติฐานเพื่อเป็นแนวทางที่จะทำการทดลองหรือทดสอบสมมติฐานนั้น เพื่อหาคำอธิบายที่เชื่อถือได้ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ถ้าสมมติฐานนั้นถูกต้องก็จะสร้างทฤษฎีหรือกฎขึ้น วิธีการทางวิทยาศาสตร์นี้ใช้ในการศึกษาค้นคว้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | creativity | ความคิดสร้างสรรค์, ความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้กว้างไกล หลายแง่มุม หลายทิศทาง นำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งของ และแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอีย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Guidance, Anticipatory | แนะแนวทางแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ในการปรับตัวของ [การแพทย์] | Guidelines | แนวทาง, [การแพทย์] |
| แนวทาง | [naēothāng] (n) EN: way ; path ; course ; method ; trail ; mean ; channel ; model FR: directive [ f ] ; orientation [ f ] ; direction [ f ] ; moyen [ m ] | แนวทางปฏิบัติ | [naēothāng patibat] (n, exp) EN: guideline | แนวทางเศรษฐกิจ | [naēothāng sētthakit] (n, exp) EN: economic policy |
| course | (n) แนวทางปฏิบัติ, See also: แนวความคิด, แนวคิด | course | (n) เส้นทาง, See also: แนวทาง, วิถีทาง, Syn. route, direction, passage | fetch round | (phrv) เปลี่ยนทิศทางของ, See also: เปลี่ยนแนวทางของ, Syn. bring round | drift | (n) แนวทาง, See also: แนว, แนวโน้ม | go towards | (phrv) สนับสนุน, See also: นำทางให้, เป็นแนวทางสำหรับ, Syn. go to | take a new turn | (idm) เริ่มชีวิตใหม่, See also: เริ่มเส้นทางใหม่, เริ่มแนวทางใหม่ | influence | (vt) กำหนด, See also: วางกฎเกณฑ์, วางแนวทาง, Syn. direct, control, guide | line | (n) แนวทาง, See also: นโยบาย, วิถีทาง, Syn. procedure, thought, policy | method | (n) วิธี, See also: วิธีการ, แนวทาง, ระเบียบ, แบบแผน, Syn. mode, manner, way, standard | path | (n) ทางเดิน, See also: เส้นทาง, ทางเดิน, ทางผ่าน, ทาง, วิถีทาง, แนวทาง, Syn. footpath, lane, path, pathway, trail | process | (n) แนวทางปฏิบัติ, See also: กระบวน, วิธีการ, ขั้นตอน, Syn. means, rule, method | proposal | (n) ข้อเสนอ, See also: แนวทาง, Syn. scheme, program, project, outline | trend | (n) แนวทาง, See also: ครรลอง, ทิศทาง | way | (n) วิธีหรือแนวทาง, See also: แนว, รูปแบบ, ช่องทาง, ลู่ทาง, Syn. means, method, mode |
| channel | (แชน'เนิล) n. ช่องแคบ, ช่อง, ทางน้ำไหล, ทางเดินเรือ, ราง, วิถีทาง, แนวทาง, ทางผ่าน, ท่อ -vi. นำผ่านทาง, บุกเบิกทาง, ขุดทาง, ขุดทางน้ำ, นำทาง, See also: channeler, channeller n. ร่องข้อมูลช่องหมายถึงร่องข้อมูลหรือแถวสำหรับบันทึกข้อมูลตามยาวลงบนกระดาษหรือแถบบันทึกแม่เหล็ก magnetic tape หรืออาจหมายถึงช่องทางเข้าออกของหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล input/output channel ซึ่งติดต่อกับตัวประมวลผล processor | course | (คอร์ส) { coursed, coursing, courses } n. เส้นทาง, วิถีทาง, แนวทางเดิน, แนวทางปฏิบัติ, แนวความคิด, ลำน้ำ, สาย, หลักสูตร, กระบวนวิชา, ช่วงระยะเวลาการรักษา, จานหนึ่ง (อาหาร) , ชุดหนึ่ง (ยา, การบรรยาย) , ระดู, การไล่ล่า (โดยสุนัขล่าเนื้อ) vt. วิ่งผ่าน, วิ่งข้าม, ไล่, ไล่ตาม, ไล่ล่า, ก่ | heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense | privileged instruction | คำสั่งเอกสิทธิ์หมายถึง คำสั่งภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจำกัดโปรแกรมต่าง ๆ ไม่ให้ทำงานผิดแนวทาง โดยปกติ คำสั่งเอกสิทธิ์จะประกอบด้วย คำสั่งข้อจำกัดการใช้ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานของหน่วยรับข้อมูลเข้า หน่วยแสดงผล การป้องกันหน่วยความจำ การหยุดชะงักการทำงานของเครื่อง และปฏิบัติการเกี่ยวกับการควบคุม และการกำหนดเวลา คำสั่งนี้ผู้ใช้เครื่องธรรมดาไม่มีสิทธิใช้ และจะทำงานได้เฉพาะเมื่ออยู่ในภาวะการใช้ระบบปฏิบัติการ (operating system mode) | procedure | (โพรซี'เจอะ) n. ขบวนการ, วิธีการ, ระเบียบการ, วิธีการปฏิบัติ, แนวทาง, ขั้นตอน, กำหนดการ., See also: procedural adj., Syn. course | proceeding | (พระซี'ดิง) n. การดำเนินการ, ขั้นตอน, วิธีการ, ขบวนการ, แนวทาง, , See also: proceedings กิจกรรมที่ดำเนินต่อเนื่องในระยะหนึ่ง, การปฏิบัติตามกฎหมาย, วิธีการทางกฎหมาย | process | (โพร'เซส, พรอส'เซส) n. ขบวนการ, ขบวนแห่กระบวนการ, ระบบ, การดำเนินการ, แนวทาง, กรรมวิธี, วิธีปฏิบัติ, ขั้นตอนการปฏิบัติ, หมายศาล, ปุ่ม, ส่วนยื่น, สิ่งงอก, เนื้องอก, การทำแม่พิมพ์, การเปลี่ยนแปลง, การล้างรูป vt. ทำให้ผ่านกระบวนการ, ปฏิบัติการ, จัดการ, ทำแม่พิมพ์สอดสี, ล้างรูป, | runner | (รัน'เนอะ) n. ผู้วิ่ง, นักวิ่งแข่ง, สัตว์ที่วิ่งเร็ว, ผู้ส่งข่าว, นักค้าของหนีภาษี, ทางวิ่ง, เส้นทาง, แนวทาง, ผู้คุมเครื่อง, ผู้ขับรถไฟ, ลูกกลิ้ง, พืชไม้เลื้อย | saa | เอสเอเอ <คำอ่าน>ย่อมาจาก system application architecture เป็นมาตรฐานในการสร้างคอมพิวเตอร์ ที่บริษัท ไอบีเอ็มเป็นผู้กำหนดไว้ หลายบริษัทเริ่มต้นด้วยการยึดแนวทางนี้ และก็ได้พัฒนาตนเองจนก้าวออกไปได้ไกลกว่ามาตรฐานเดิมมาก | sense | (เซนซฺ) n. ความรู้สึก, ไหวพริบ, ประสาททั้งห้า, ประสาทสัมผัส, อินทรีย์สัมผัส, เหตุผล, ความสามารถในการพินิจพิเคราะห์, สติสัมปชัญญะ, ความฉลาด, ความสังหรณ์, ความหมาย, นัย, แนวทาง, ทิศทาง vt. รู้สึก, ตระหนัก, เข้าใจความหมาย, เข้าใจ, ฟื้นขึ้น (จากการสลบ) , สำนึก, สังหรณ์, ตื่นตัว. - | tack | (แทค) n. ตะปูแหลมสั้นและหัวแบน, การผูก, เชือกดึงใบเรือ, วิถีทาง, แนวทาง, ขั้นตอน, เงื่อนไขแถมท้าย, การเคลื่อนเป็นรูปตัว 'Z' vt. กลัด, ตอกติด, ใช้ตะเข็บเย็ยติด, ดึงใบเรือ, เปลี่ยนใบเรือ, เพิ่ม, ผนวก, แถมท้าย, เคลื่อนเป็นรูปตัว 'Z' vi. กินลม เปลี่ยนทิศทางลม, เคลื่อนเป็นรูปตัว 'Z' | track | (แทรคฺ) n. ร่องรอยทางเดิน, ทางเดินเท้า, รางรถ, รอยทางรถ, ทางเกวียน, ทางในป่า, รอยเท้า, ลู่วิ่ง, ทางรถไฟ, ช่วงล้อรถ, ร่องรอย, หลักฐาน, วิถีทาง, เส้นทาง, แนวทาง vt., vi. ตามรอย, ตามทาง, คอยตาม, ติดตาม -Phr. (keep track of ติดตามข่าว บันทึก สืบเสาะ) -Phr. (on the track ตรงเป้า | vector | (เวค'เทอะ) n. เส้นสมมุติหรือลูกศรสมมุติแสดงปริมาณและทิศทาง, ทิศทางหรือแนวทางของเครื่องบิน ขีปนาวุธหรือจรวด, แมลงหรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ที่เป็นพาหะนำเชื้อโรคที่เป็นไวรัส เชื้อรา แบคทีเรีย., See also: vectorial adj. |
| policy | (n) นโยบาย, แนวทาง, หลักการ, อุบาย, ยุทธวิธี | procedure | (n) ระเบียบการ, วิธีดำเนินการ, การปฏิบัติ, พฤติการณ์, ขบวนการ, แนวทาง | proceeding | (n) การดำเนินการ, พฤติกjรณ์, การปฏิบัติ, แนวทาง, ขั้นตอน | process | (n) การดำเนินการ, การปฏิบัติ, แนวทาง, กระบวนการ, กรรมวิธี | territory | (n) ดินแดน, ขอบข่าย, อาณาเขต, แนวความคิด, แนวทางปฎิบัติ |
| | 図面 | [ずめん, zumen] (n) แบบร่างที่เขียนขึ้นโดยมากใช้เพื่อเป็นแนวทางในการผลิตหรือก่อสร้าง | 指針 | [ししん, shishin] แนวทาง |
| 日本的 | [にほんてき, nihonteki] TH: แบบญี่ปุ่น, แนวทางแบบญี่ปุ่น EN: typically Japanese | 基準 | [きじゅん, kijun] TH: แนวทางปฏิบัติ EN: norm |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |