กระทา | (n) partridge, See also: Chinese francolin, Syn. นกกระทา, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ชื่อนกขนาดเล็กในวงศ์ Phasianidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับไก่ฟ้า ตัวกลม ขนลายเป็นจุดกระๆ ปีกและหางสั้น วิ่งหากินเมล็ดพืชและแมลงอยู่ตามพื้นดิน บินได้ในระยะทางสั้นๆ มีหลายชนิด |
กระทาย | (n) small basket, See also: small cylindrical basket having a wide mouth, Example: แม่หิ้วกระทายไปตลาด, Thai Definition: กระบุงเล็ก ปากผาย |
ประทาน | (v) grant, See also: give, offer, confer, bestow, Syn. ให้, แจก, มอบให้, ยื่นให้, Example: เจ้าชายทรงประทานถ้วยรางวัลให้แก่ผู้ชนะการแข่งขันหมากรุกในครั้งนี้, Notes: (ราชา) |
ขอประทาน | (v) request, See also: beg, ask for, Syn. ขออนุญาต, Example: ผมขอประทานอนุญาตตั้งข้อสังเกตเบื้องต้น 3 ประการนะครับ |
ขอประทาน | (v) beg for one's grant, Syn. ขอสิ่งของ, Example: คุณหญิงของรัฐมนตรีได้เข้าเฝ้าขอประทานของบริจาคจากท่านหญิง |
ชลประทาน | (n) irrigation, Thai Definition: การจัดสรรการใช้แหล่งน้ำให้เกิดประโยชน์มากที่สุด |
ประทานโทษ | (v) apologize, See also: excuse me, beg your pardon, pardon me, Syn. ขอโทษ, Example: ขอประทานโทษที่กล่าวออกนอกเรื่อง, Thai Definition: ขอให้ยกเว้นโทษ |
รับประทาน | (v) eat, Syn. กิน, ฉัน, แดก, เสวย, ฟาด, เขมือบ, ทาน, บริโภค, ยัด, เจี๊ยะ, สวาปาม, Example: คาร์โบไฮเดรตที่ร่างกายรับประทานเข้าไปได้มาจากแป้ง, Thai Definition: ทำให้อาหารเข้าปากผ่านลำคอลงไปสู่กระเพาะอาหาร |
ประทานบัตร | (n) patent permit, See also: concession, Syn. สัมปทาน, ใบอนุญาต, Example: บริษัทได้ยื่นเรื่องของประทานบัตรเพื่อทำเหมืองแร่, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หนังสือสำคัญที่ออกให้ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ เพื่อทำเหมืองแร่ภายในเขตที่กำหนดในหนังสือสำคัญนั้น |
กรมชลประทาน | (n) Royal Irrigation Department, See also: Department of Irrigation, Count Unit: กรม |
การชลประทาน | (n) irrigation, Example: รัฐบาลกำลังวางแผนเรื่องการชลประทานเพื่อจะช่วยเหลือราษฎรที่ประสบภัยแล้งในอีสาน, Thai Definition: การทดน้ำและระบายน้ำเพื่อการเพาะปลูกเป็นต้น |
ขอประทานโทษ | (v) apologize, See also: excuse, pardon, make an apology, Syn. ขอโทษ, ขออภัย, Example: กระผมต้องขอประทานโทษที่กล่าวออกนอกเรื่องมาไกล, Thai Definition: ขอให้ยกเว้นโทษ, ใช้เป็นคำสุภาพเมื่อรู้สึกว่าจะเป็นการล่วงเกินหรือต่ำสูงต่อผู้อื่น |
น่ารับประทาน | (v) be appetizing, See also: look delicious, look tasty, Syn. น่ากิน, น่าอร่อย, Example: การแกะสลักผักและผลไม้ทำให้อาหารน่ารับประทานยิ่งขึ้น |
ทักษิณานุประทาน | (n) the making of merits for the dead people, See also: offering alms as a spiritual act of merit for the benefit or the dead, Example: เขาไปทำพิธีทักษิณานุประทานให้ญาติผู้ล่วงลับ, Thai Definition: การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่มให้แก่ผู้ตาย, Notes: (สันสกฤต) |
พื้นที่ชลประทาน | (n) irrigable area, Example: พื้นที่ทางตอนเหนือของจังหวัดส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ชลประทาน |
กระทา | น. ชื่อนกขนาดเล็กหลายชนิด ในวงศ์ Phasianidae ซึ่งเป็นวงศ์เดียวกับไก่และไก่ฟ้า ลำตัวกลม ขนลายเป็นกระ ปีกและหางสั้น บินได้ในระยะทางสั้น ๆ คุ้ยเขี่ยหาอาหารบนพื้นดิน กินเมล็ดพืชและแมลง เช่น กระทาทุ่ง [ Francolinus pintadeanus (Scopoli) ] กระทาดงคอสีแสด [ Arborophila rufoyularis (Blyth) ] กระทาป่าไผ่ ( Bambusicola fytchii Anderson) กระทาดงปักษ์ใต้ [ A. chaltionii (Eyton) ]. |
กระทาชาย | น. คนผู้ชาย, กระไทชาย ก็ว่า. |
กระทาย | น. กระบุงเล็ก ปากผาย |
กระทาย | เครื่องตวง ใช้ตวงข้าวสมัยโบราณ ๒ กระทาย เป็น ๑ กระบุง มีอัตราเท่ากับครึ่งถัง หรือ ๑๐ ลิตร. ก. กระทกของเอากากออก. |
กระทายเหิน | ดู มหาหงส์. |
กระทาสี | น. ทาส เช่น เหมือนไพร่ชาติชั่วช้ากระทาสี (นิ. สุรสีห). |
กระทาหอง | ดู จงโคร่ง, โจงโคร่ง. |
ขอโทษ, ขอประทานโทษ | ก. ขอให้ยกเว้นโทษ, ใช้เป็นคำสุภาพเมื่อรู้สึกว่าจะเป็นการล่วงเกินผู้อื่น. |
ขอประทาน | ก. ขอสิ่งของ, ขออนุญาต, (มักใช้นำหน้าคำที่พูดกับผู้ใหญ่). |
ขี้กระทาเกลือ, ขี้ทา | น. ขี้เกลืออันตกกระฉาบทาไปตามพื้นดิน หรือพื้นที่มีเกลือแห้งเกรอะอยู่เป็นกระ. |
ชลประทาน | (ชนละ-, ชน-) น. การทดนํ้าและระบายนํ้าเพื่อการเพาะปลูกเป็นต้น. |
ทองประทากล้อง | น. ทองคำที่ตีแผ่เป็นแผ่น สำหรับบุพระพุทธรูปเป็นต้น. |
ทองประทาศี | น. ทองคำเปลว. |
ทักษิณานุปทาน, ทักษิณานุประทาน | น. การที่พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงพระราชอุทิศถวายเจ้านายที่มีศักดิ์สูงซึ่งเสด็จล่วงลับไปแล้ว. |
ทักษิณานุปทาน, ทักษิณานุประทาน | ดู ทักษิณ. |
ประทากล้อง | (ปฺระทากฺล้อง) น. ทองคำที่ตีแผ่เป็นแผ่น สำหรับบุพระพุทธรูปเป็นต้น, เรียกเต็มว่า ทองประทากล้อง. |
ประทาน | ก. ให้ (ใช้แก่เจ้านาย). |
ประทานบัตร | (ปฺระทานนะบัด, ปฺระทานบัด) น. หนังสือสำคัญที่ออกให้ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ เพื่อให้มีสิทธิทำเหมืองแร่ภายในเขตที่กำหนดในหนังสือสำคัญนั้น |
ประทานบัตร | ใบอนุญาตซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดออกให้แก่บุคคลผู้ประมูลได้ ให้มีสิทธิทำการประมงในที่ว่าประมูล. |
ประทาย | น. ค่าย, ป้อม. |
ประทาศี | น. ทองคำเปลว, เรียกเต็มว่า ทองประทาศี. |
ระทา | น. หอสูงรูปสี่เหลี่ยมหลังคาทรงยอดเกี้ยว ประดับดอกไม้ไฟนานาชนิด เช่น พลุ ตะไล จรวด ใช้จุดในงานพระราชพิธี. |
รับประทาน | ก. กิน เช่น รับประทานอาหาร. |
กระดิ่งทอง | น. ชื่อแมลงพวกด้วงชนิด Martianus dermestoides Chevrolat ในวงศ์ Tenebrionidae ลำตัวยาว ๖-๗ มิลลิเมตร กว้าง ๒-๓ มิลลิเมตร สีน้ำตาลเกือบดำตลอดทั้งลำตัว ขา และปีก กินของแห้งทั้งพืชและสัตว์โดยเฉพาะเมล็ดบัว นิยมนำมาเลี้ยงด้วยเมล็ดบัวแห้ง หัวข้าวเย็นเหนือ หัวข้าวเย็นใต้ โดยเชื่อว่าเมื่อนำมารับประทานจะช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ, ม่าเหมี่ยว ก็เรียก. |
กระไทชาย | น. กระทาชาย, คนผู้ชาย, เช่น อันว่ากระไทชายผู้หนึ่ง (ม. คำหลวง กุมาร; มหาราช). |
กังหันน้ำชัยพัฒนา | น. ชื่อเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่นลอยแบบหนึ่ง เป็นอุปกรณ์บำบัดน้ำเสียชนิดหนึ่ง มีลักษณะการทำงานคล้ายกังหันวิดน้ำขึ้นเหนือผิวน้ำเพื่อเติมอากาศหรือออกซิเจนในแหล่งน้ำ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาและประดิษฐ์อุปกรณ์เติมอากาศขึ้นแล้วทรงมอบหมายมูลนิธิชัยพัฒนา ศึกษาวิจัยเพื่อทำต้นแบบพร้อมสนับสนุนงบประมาณให้กรมชลประทานสร้าง นำไปใช้งานตามแหล่งน้ำเสียทั่วประเทศ กรมทรัพย์สินทางปัญญาได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายการจดสิทธิบัตรการประดิษฐ์เลขที่ ๓๑๒๗ และองค์กรนักประดิษฐ์โลกจากประเทศเบลเยียมได้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายรางวัลในฐานะที่ทรงสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อการรักษาสิ่งแวดล้อม. |
กินูน | น. ชื่อแมลงพวกด้วงหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Scarabaeidae ลำตัวมีขนาดและสีแตกต่างกันแล้วแต่ชนิด ตัวอ่อนอาศัยอยู่ในดินกินรากพืช ตัวเต็มวัยอาศัยอยู่บนต้นไม้กินใบไม้ มักบินเข้าหาแสงไฟ ชาวบ้านในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือนิยมนำมารับประทาน ที่พบบ่อย เช่น ชนิด Anomala antiqueGyllenhal ลำตัวสีดำเหลือบน้ำเงิน ยาว ๑๘-๒๐ มิลลิเมตร ชนิด Sophrops foveatus Moser ลำตัวสีน้ำตาลแดง ยาวประมาณ ๑๕ มิลลิเมตร, แมลงนูน ก็เรียก. |
เกษตรและสหกรณ์ | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเกษตร การเศรษฐกิจการเกษตร การปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร การชลประทาน การประมง การปศุสัตว์ การป่าไม้ การพัฒนาที่ดิน และการสหกรณ์. |
แกล้งดิน | ก. กระบวนการแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้กรรมวิธีเร่งปฏิกิริยาเคมีในดิน ทำให้ดินเปรี้ยวอย่างรุนแรงแล้วใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวทำสลับไปมา จนเปลี่ยนสภาพดินให้สามารถเพาะปลูกได้. |
เขี้ยว | น. ฟันแหลมคมสำหรับฉีกเนื้อและอาหาร อยู่ระหว่างฟันหน้ากับกราม, ราชาศัพท์ว่า พระทาฐะ หรือ พระทาฒะ, (ถิ่น–พายัพ) ฟัน. |
เขื่อน | น. เครื่องป้องกันไม่ให้ดินริมนํ้าพัง, สิ่งที่สร้างขึ้นขวางกั้นลำนํ้า เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ประโยชน์ในทางชลประทานเป็นต้น เช่น เขื่อนเจ้าพระยา, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น กำแพงดินหรืออิฐที่ล้อมรอบต้นโพ |
คลองส่งน้ำ | น. ลำนํ้าที่ขุดขึ้นเพื่อใช้ในการชลประทาน. |
เครา | (เคฺรา) น. ขนที่ขึ้นตามแก้มหรือขากรรไกร, ราชาศัพท์ว่า พระทาฐิกะ. |
จงโคร่ง, โจงโคร่ง | (-โคฺร่ง) น. ชื่อสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกชนิด Bufo asper Gravenhorst ในวงศ์ Bufonidae เป็นคางคกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ผิวหนังเป็นตุ่มขรุขระทั่วตัว ตุ่มที่หลังมีขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่ลำตัวสีน้ำตาลดำและน้ำตาลเหลือง ท้องสีขาวหม่นบางตัวมีจุดสีแดงเล็ก ๆ ยางขาวมีฤทธิ์ทำให้มึนเมา อาศัยในป่าบริเวณริมลำธารหรือน้ำตก, กระทาหอง กระหอง หรือ กง ก็เรียก. |
ช้อนคาว | น. ช้อนที่มีขนาดเล็กกว่าช้อนโต๊ะ มีด้ามยาว ใช้คู่กับส้อม สำหรับรับประทานอาหารคาว. |
ช้อนชา | น. ช้อนด้ามยาวขนาดเล็กใช้สำหรับคนชากาแฟ, มาตราตวงมีขนาดจุ ๕ มิลลิลิตร เช่น ยานี้เด็กรับประทานครั้งละครึ่งช้อนชา. |
ช้อนส้อม | น. ช้อนและส้อมคู่กันทำด้วยโลหะ เช่น เงิน เงินชุบทอง สัมฤทธิ์หรืออะลูมิเนียม ช้อนมีรูปรี ส้อมมีลักษณะเป็นซี่ ๆ มีด้ามยาวสำหรับจับได้ถนัด ใช้มือขวาจับช้อนมือซ้ายจับส้อมตักอาหารรับประทาน. |
ช้อนหวาน | น. ช้อนด้ามยาวขนาดกลาง ใหญ่กว่าช้อนชาแต่เล็กกว่าช้อนโต๊ะ เป็นช้อนสำหรับรับประทานของหวานในการรับประทานอาหารแบบยุโรป ไทยใช้คู่กับส้อมขนาดเดียวกันสำหรับรับประทานอาหารคาว. |
ชักพระ | น. ชื่อประเพณีอย่างหนึ่งทางภาคใต้ ถือว่าเป็นประเพณีสำคัญ นิยมมีในวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ซึ่งถือว่าเป็นวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์กลับจากโปรดพระพุทธมารดา คล้ายวันตักบาตรเทโวของภาคกลาง, การชักพระมี ๒ อย่าง คือ ชักพระทางบกกับทางน้ำ, ถ้าชักพระทางบก ก็อัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานไว้บนบุษบกซึ่งตั้งอยู่บนยานพาหนะแล้วช่วยกันชักลากไป, ถ้าชักพระทางน้ำ ก็อัญเชิญพระพุทธรูปประดิษฐานบนบุษบกในเรือ แล้วใช้เชือกผูกเรือพระช่วยกันลากไปยังสถานที่ที่กำหนด แล้วจึงถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์ มักจะมีการโยนข้าวต้มรูปสามเหลี่ยมห่อด้วยใบกะพ้อเป็นต้นใส่กัน บางทีก็มีแข่งเรือและอื่น ๆ ด้วย. |
ดรธาน | (ดอระทาน) ก. หายไป, ลับไป, เช่น ความขำเขาซับซี่ในวัดที่ดรธานปล่ยวน้นน (ม. คำหลวง ชูชก). |
ตรีเพชรทัณฑี | (ตฺรีเพ็ดทันที) น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ปางนั้นสองราชไท้ ดาบศ สาพิมตไปมา กล่าวแก้ว ประทานราชเอารส สองราช เวนแต่ชูชกแล้ว จึ่งไท้ชมทาน (จินดามณี). |
ตะพาย | เรียกลายที่เป็นทางจากจมูกขึ้นไปทั้ง ๒ ข้างของนกกระทา. |
ติตติระ | (ติด-) น. นกกระทา. |
ทะทา | น. นกกระทา. |
ทาฐ-, ทาฐะ, ทาฒะ | น. เขี้ยว เช่น พระทาฐธาตุ คือ พระเขี้ยวแก้ว. |
ทำนบ | น. สิ่งก่อสร้างที่ปิดกั้นลำน้ำไม่ให้น้ำไหลผ่าน, ที่กั้นน้ำเพื่อการชลประทาน. |
บ้าระบุ่น | น. นกปรอด เช่น เค้าโมงขมิ้นบ่าวขุน บ้าระบุ่นโกญจากระทาขัน (รามเกียรติ์ ร. ๑), โบราณเขียนเป็น บารบุน ก็มี เช่น จินโจ้กระจาบเวียน บารบุนและเบญจวรรณ (บุณโณวาท). |
บึ้ง ๑ | น. ชื่อแมงมุมขนาดใหญ่หลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ Theraphosidae ลำตัวยาวมากกว่า ๓ เซนติเมตรขึ้นไป สีดำหรือน้ำตาลแก่ ไม่ชักใยดักสัตว์ มีขนดกหนาสีเดียวกัน ขุดรูอยู่ตามพื้นดิน คอยจับสัตว์เล็ก ๆ กิน ชนิดที่พบบ่อยและนิยมนำมารับประทาน เช่น ชนิด Haplopelma albostriatum (Simon) พบมากที่ภาคกลางและภาคตะวันออก ชนิด H. minax (Thorell) พบมากที่ภาคเหนือ ภาคตะวันตก และภาคใต้, ก่ำบึ้ง หรือ อีบึ้ง ก็เรียก. |
ประธานาธิบดี | (ปฺระทานาทิบอดี, ปฺระทานาทิบบอดี) น. ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ. |
ปลิงทะเล | น. ชื่อสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในชั้น Holothuroidea ลำตัวรูปทรงกระบอกยืดหดได้ หัวท้ายมนกลม อาศัยอยู่ในทะเล บางชนิดรับประทานได้ เช่น ปลิงขาว ( Holothuria scabra Jaeger) ปลิงดำ ( H. atra Jaeger) ในวงศ์ Holothuriidae. |
ทักษิณานุประทาน | การทำบุญอุทิศส่วนกุศลเพิ่มให้แก่ผู้ตาย [ศัพท์พระราชพิธี] |
ระทา | หอสูงรูปสี่เหลี่ยมหลังคาทรงยอดเกี้ยว ประดับดอกไม้ไฟนานาชนิดเช่น พลุ ตะไล จรวดใช้จุดในงานพระราชพิธี [ศัพท์พระราชพิธี] |
Irrigation charge | ค่าธรรมเนียมชลประทาน [เศรษฐศาสตร์] |
Irrigation farming | เกษตรชลประทาน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radiotherapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation therapy | รังสีรักษา, การบำบัดด้วยรังสี, การใช้รังสีชนิดก่อไอออนบำบัดรักษาโรค มี 4 วิธี คือ <br> 1. การฉายรังสีไปยังอวัยวะเป้าหมาย (Teletherapy) เช่น ต่อมน้ำเหลือง กล่องเสียง ปอด โดยใช้รังสีเอกซ์จากเครื่องเร่งอิเล็กตรอนเชิงเส้น หรือใช้รังสีแกมมาจากต้นกำเนิดรังสีโคบอลต์-60</br> <br> 2. การฝังสารกัมมันตรังสี ในเนื้อเยื่อหรือโพรงอวัยวะ (Brachy therapy) เช่น ปากมดลูก และช่องปาก โดยใช้ซีเซียม-137, อิริเดียม-192 หรือ ทอง-198</br> <br> 3. การให้สารกัมมันตรังสีทางปาก เช่น การรับประทานสารประกอบไอโอดีน-131 (Na<sup>131I</sup>) เพื่อรักษามะเร็งต่อมไทรอยด์</br> <br> 4. การฉีดสารกัมมันตรังสีทางเส้นเลือด เช่น สารประกอบไอโอดีน-131 (Lipiodol-<sup>131</sup>I) ใช้รักษามะเร็งตับ</br> [นิวเคลียร์] |
Contraceptives, Oral | ยาคุมกำเนิดแบบรับประทาน [TU Subject Heading] |
Diet | อาหารและการรับประทาน [TU Subject Heading] |
Irrigation | ชลประทาน [TU Subject Heading] |
Irrigation canals and flumes | คลองชลประทานและสะพานน้ำ [TU Subject Heading] |
Irrigation engineering | วิศวกรรมชลประทาน [TU Subject Heading] |
Irrigation farming | เกษตรชลประทาน [TU Subject Heading] |
Irrigation laws | กฎหมายชลประทาน [TU Subject Heading] |
Irrigation projects | โครงการชลประทาน [TU Subject Heading] |
Irrigation water | น้ำชลประทาน [TU Subject Heading] |
Japanese quail | นกกระทาญี่ปุ่น [TU Subject Heading] |
Microirrigation | ชลประทานระบบน้ำน้อย [TU Subject Heading] |
Quail culture | การเลี้ยงนกกระทา [TU Subject Heading] |
Quails | นกกระทา [TU Subject Heading] |
Sweating, Gustatory | ภาวะเหงื่อออกขณะรับประทานอาหาร [TU Subject Heading] |
Table etiquette | มารยาทในการรับประทานอาหาร [TU Subject Heading] |
Tax incidence | ภาระทางภาษีอากร [TU Subject Heading] |
Wastewater Irrigation | ชลประทานน้ำเสีย, Example: การชลประทานเพื่อการเพาะปลูกโดยใช้น้ำเสีย [สิ่งแวดล้อม] |
Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Wives of Diplomats | ภรรยาของนักการทูต ในประเทศที่มีกษัตริย์ และเอกอัครราชทูตจัดถวายพระราชสาส์นตราตั้งต่อกษัตริย์หรือราชินีในฐานะ ประมุขของรัฐนั้น มักจะให้ภรรยาเข้าเฝ้าด้วยต่างหาก แต่การเข้าเฝ้านั้นจะมีพิธีรีตองน้อยกว่าของเอกอัครราชทูตในอดีตกาล ภรรยาของเอกอัครราชทูตมักจะไม่ได้รับการพิจารณารับรองและยกย่องเหมือนกับที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน อาทิเช่น ที่กรุงเวนิส ตามกฎหมายปี ค.ศ. 1268 ไม่อนุญาตให้ภรรยาของเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย ไม่ว่าจะไปประจำแห่งไหน เพราะเกรงว่าภรรยาอาจจะปากโป้งเกี่ยวกับการงานของสามี แต่กฎหมายได้กำหนดให้เอกอัครราชทูตนำพ่อครัวของตนเองติดตามไปด้วย เพื่อกันมิให้เอกอัครราชทูตต้องถูกวางยาพิษในอาหารที่รับประทานกล่าวโดยทั่ว ไปแล้ว ทุกวันนี้ภรรยาของเอกอัครราชทูตได้อุปโภคเอกสิทธิ เกียรติ ลำดับอาวุโส และความคุ้มกันต่าง ๆ เหมือนกับสามี ถึงแม้ในบางกรณีเอกอัครราชทูตกับภรรยาอาจแยกกันอยู่ก็ตาม ภรรยาของเอกอัครราชทูตที่เพิ่งยื่นสารตราตั้ง มักจะหาโอกาสไปเยี่ยมคารวะภรรยาของเอกอัครราชทูตอื่น ๆ ด้วย แม้ว่าในทุกวันนี้ธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าวอาจจะไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัย ก่อน อนึ่ง ในบางประเทศได้มีระเบียบข้อบังคับ ห้ามมิให้ผู้แทนทางการทูตและทางการกงสุลที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ แต่งงานกับคนต่างชาติโดยมิได้รับอนุมัติจากรัฐบาลของตนก่อน [การทูต] |
Allergens, Ingestant | สารก่อภูมิแพ้โดยการรับประทาน [การแพทย์] |
Amenorrhea, Post Pill | ไม่มีประจำเดือนหลังหยุดรับประทานยาคุมกำเนิด [การแพทย์] |
Amenorrhea, Post Pills | ขาดประจำเดือนหลังได้รับยาคุมกำเนิด, ไม่มีประจำเดือนหลังหยุดรับประทานยาคุมกำเนิด, การขาดระดู [การแพทย์] |
Anticoagulants, Oral | ยาต้านการกลายเป็นลิ่มของเลือดชนิดรับประทาน [การแพทย์] |
Antidiabetics, Oral | ยารักษาเบาหวานชนิดรับประทาน [การแพทย์] |
Appetite | ความอยาก, ความอยากอาหาร, อยากรับประทานอาหาร, ความรู้สึกอยากอาหาร [การแพทย์] |
Appetite Control Center | ศูนย์รับความรู้สึกต่อการรับประทานในสมอง [การแพทย์] |
Appetite Stimulants | กระตุ้นให้อยากรับประทานอาหาร [การแพทย์] |
Appetite, Excessive | รับประทานอาหารจุ [การแพทย์] |
Aqueous Non-Oral Preparations | ยาน้ำที่ไม่ใช้รับประทาน [การแพทย์] |
Aqueous Oral Preparations | ยาน้ำสำหรับรับประทาน [การแพทย์] |
Cholera Vaccine, Oral | วัคซีนป้องกันอหิวาตกโรคชนิดรับประทาน [การแพทย์] |
Colostomy | คอลโลสโตมีย์;ลำไส้ใหญ่, การผ่าตัดเปิด;การผ่าตัดสำไส้ใหญ่เพื่อการถ่ายอุจจาระทางหน้าท้อง [การแพทย์] |
Diet Avoidance | การหลีกเลี่ยงไม่รับประทานอาหารที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุ [การแพทย์] |
Diet Diary | บันทึกรายการอาหารแต่ละวัน, การบันทึกรายการอาหารที่รับประทานแต่ละวัน [การแพทย์] |
Diet Elimination | การหลีกเลี่ยงไม่รับประทานอาหารที่สงสัยว่าเป็นสา [การแพทย์] |
Dietary Allowance, Recommended | ปริมาณที่แนะให้รับประทาน, ปริมาณไวตามินที่ควรได้รับประจำวัน, ปริมาณที่แนะนำให้รับประทาน [การแพทย์] |
Dietary History | ประวัติอาหารที่ผู้ป่วยรับประทาน [การแพทย์] |
Dietary Surveys | อาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ, สำรวจปริมาณอาหาร, สำรวจอาหารที่รับประทาน, การสำรวจอาหารที่รับประทานและบริโภคนิสัย, การสำรวจอาหารที่บริโภค [การแพทย์] |
Dietary, Conventional | การสำรวจอาหารที่รับประทานโดยการชั่งอาหาร [การแพทย์] |
Dietetic Albuminuria | รับประทานอาหารโปรตีนมากเกินไป [การแพทย์] |
Dosage Regimen | รับประทานยาให้ถูกวิธี, หลักการให้ยา [การแพทย์] |
Dose, Massive Oral, Single | รับประทานเพียงครั้งเดียว [การแพทย์] |
ชลประทาน | [chonlaprathān = chonprathān] (n) EN: irrigation ; irrigation works ; water conservancy FR: irrigation [ f ] |
ห้องรับประทานอาหาร | [hǿng rapprathān āhān] (n, exp) EN: dining room FR: salle à manger [ m ] |
ไก่ฟ้า นกกระทา และนกคุ่ม | [kaifā nok krathā lae nok khum] (n, exp) EN: Phasianidae FR: phasianidés [ mpl ] |
การชลประทาน | [kān chonlaprathān = kān chonprathān] (n) EN: irrigation FR: irrigation [ f ] |
การรับประทานอาหารเย็น | [kān rapprathān āhān yen] (v, exp) EN: dinner FR: dîner [ m ] |
คลองชลประทาน | [khløng chonlaprathān = khløng chonprathān] (n, exp) EN: irrigation canal FR: canal d'irrigation [ m ] |
กระทา | [krathā] (n) EN: partridge ; francolin ; Chinese francolin FR: perdrix [ f ] ; francolin [ m ] ; perdrix [ f ] |
กระทาชาย | [krathā chāi] (n) FR: homme [ m ] |
กระทาย | [krathāi] (x) EN: small basket ; small cylindrical basket having a wide mouth FR: petite corbeille en bambou tressé [ m ] |
กรมชลประทาน | [Krom Chonprathān = Krom Chonlaprathān] (org) EN: Irrigation Department |
นกกระทา | [nok krathā] (n) EN: partridge FR: perdrix [ f ] |
นกกระทา | [nok krathā] (n, exp) EN: Aluminum plant ; Watermelon pilea |
นกกระทาดงจันทบูรณ์, นกกระทาดงจันทบูร ? | [nok krathā dong janthabun] (n, exp) EN: Chestnut-headed Partridge FR: Torquéole du Cambodge ; Perdrix du Cambodge |
นกกระทาดงแข้งเขียว | [nok krathā dong khaeng khīo] (n, exp) EN: Scaly-breasted Partridge FR: Torquéole des bois ; Perdrix à ventre cannelle [ f ] |
นกกระทาดงคอสีแสด | [nok krathā dong khø sī saēt] (n, exp) EN: Rufous-throated Partridge FR: Torquéole à gorge rousse ; Perdrix à gorge rouge |
นกกระทาดงอกสีน้ำตาล | [nok krathā dong ok sī nāmtān] (n, exp) EN: Bar-backed Partridge FR: Torquéole à poitrine brune ; Perdrix à poitrine brune |
นกกระทาดงอกเทา | [nok krathā dong ok thao] (n, exp) EN: Grey-breasted Partridge FR: Torquéole de Sumatra ; Perdrix à poitrine grise [ f ] |
นกกระทาดงปักษ์ใต้ | [nok krathā dong pak tāi] (n, exp) EN: Chestnut-necklaced Partridge FR: Torquéole à poitrine châtaine ; Perdrix de Charlton [ f ] |
นกกระทาป่าไผ่ | [nok krathā pā phai] (n, exp) EN: Mountain Bamboo Partridge FR: Bambusicole de Fytch ; Bambusicole des Indes ; Perdrix des bambous [ f ] |
นกกระทาสองเดือย | [nok krathā søng deūay] (n, exp) EN: Ferruginous Partridge, Ferruginous Wood-Partridge (?) FR: Rouloul ocellé [ m ] ; Perdrix oculée [ f ] |
นกกระทาทุ่ง | [nok krathā thung] (n, exp) EN: Chinese Francolin FR: Francolin perlé [ m ] ; Francolin chinois [ m ] ; Francolin de Chine [ m ] |
พื้นที่ชลประทาน | [pheūnthī chonprathān] (n, exp) EN: irrigable area |
ผู้รับประทาน | [phūrapprathān] (n) FR: mangeur [ m ] ; mangeuse [ f ] |
ประทาน | [prathān] (v) EN: give ; confer ; bestow FR: donner ; accorder ; octroyer |
ระบบการชลประทาน | [rabop kān chonlaprathān = rabop kān chonprathān] (n, exp) EN: irrigation system FR: système d'irrigation [ m ] |
รับประทาน | [rapprathān] (v) EN: eat ; dine ; sup ; have a meal FR: manger ; prendre un repas |
รับประทานอาหาร | [rapprathān āhān] (v, exp) EN: eat FR: manger ; prendre un repas |
รับประทานอาหารกลางวัน | [rapprathān āhān klāng wan] (v, exp) FR: déjeuner ; dîner (belg.) |
รับประทานอาหารเย็น | [rapprathān āhān yen] (v, exp) EN: have dinner ; eat dinner |
รับประทานข้าว | [rapprathān khāo] (v, exp) EN: eat ; have a meal |
รับประทานน้ำชา | [rapprathān nāmchā] (v, exp) FR: prendre le thé |
ร่วมรับประทานอาหาร | [ruam rapprathān āhān] (n) FR: banquet [ m ] ; repas collectif [ m ] ; repas en commun [ m ] |
ร่วมรับประทานเย็น | [ruam rapprathān yen] (n, exp) FR: repas du soir en commun [ f ] |
โต๊ะรับประทานอาหาร | [to rapprathān āhān] (n, exp) EN: dining table FR: table de salle à manger [ f ] |
anorexia | (n) ภาวะไร้ความอยากอาหารหรือไม่สามารถรับประทานอาหารได้ |
apologise | (vt) ขอโทษ, See also: ขอขมา, ขอรับผิด, ขออภัย, ขอประทานโทษ, แสดงความเสียใจ, Syn. apologize |
apologize | (vt) ขอโทษ, See also: ขอขมา, ขอรับผิด, ขออภัย, ขอประทานโทษ, แสดงความเสียใจ, Syn. apologise |
brunch | (vi) รับประทานอาหารที่รวมมื้อเช้าและกลางวันเข้าด้วยกัน |
be on | (phrv) รับประทานยาเป็นประจำ, See also: รับประทานยาสม่ำเสมอ, Syn. keep on |
be upon | (phrv) รับประทานยาเป็นประจำหรือสม่ำเสมอ, Syn. keep on |
carryout | (adj) ที่พร้อมรับประทานเมื่อซื้อ |
carryout | (n) อาหารที่พร้อมรับประทานเมื่อซื้อ, Syn. takeaway |
cereal | (n) อาหารเช้าที่ทำจากธัญพืช (มักจะรับประทานโดยใส่นม), Syn. breakfast cereal |
cutlery | (n) เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร, See also: มีด, ช้อนและส้อมที่ใช้ในการรับประทานอาหาร, Syn. flatware, silverware |
dig in | (phrv) เริ่มกิน (คำไม่เป็นทางการ), See also: เริ่มรับประทานได้แล้ว, Syn. tuck in |
dig into | (phrv) เริ่มกินอย่างหิวกระหาย (คำไม่เป็นทางการ), See also: เริ่มรับประทานได้แล้ว, Syn. tuck into |
eat off2 | (phrv) กินอาหารจาก (ภาชนะเช่น จาน), See also: รับประทานอาหารจาก, Syn. dine off, eat out of, feed off |
eat out | (phrv) กินอาหารนอกบ้าน, See also: รับประทานอาหารนอกบ้าน |
eat out of | (phrv) กินอาหารจาก (ภาชนะเช่น จาน), See also: รับประทานอาหารจาก, Syn. dine off, eat out of, feed off |
eat through | (phrv) กินหมด (อาหาร), See also: รับประทานหมด |
eat up | (phrv) กินให้หมด, See also: รับประทานให้หมด |
delectable | (n) อาหารน่ารับประทาน, See also: อาหารน่าอร่อย, Ant. bad-tasting |
delicious | (adj) อร่อย, See also: โอชะ, โอชา, น่ารับประทาน, ถูกปาก, น่าทาน, มีรสกลมกล่อม, Syn. tasty, appetizing, yummy, Ant. disqusting, tasteless |
dine | (vi) รับประทาน, See also: ทาน, กิน, Syn. have, eat, ingest, Ant. tast |
dine | (vi) รับประทานอาหารเย็น, Syn. have, eat, ingest, Ant. tast |
diner | (n) คนที่มารับประทานอาหารในร้านอาหาร |
dining room | (n) ห้องอาหาร, See also: ห้องทานข้าว, ห้องรับประทานอาหาร, Syn. breakfast nook, dinette |
eat | (vt) กิน, See also: ทาน, รับประทาน, Syn. feed, devour, consume |
eat | (vi) กิน, See also: ทาน, รับประทาน, Syn. feed, devour, consume |
eating | (n) อาหาร, See also: การรับประทานอาหาร, การกิน, Syn. food |
edible | (n) อาหาร, See also: ของกิน, ของรับประทานได้, Syn. eatable, foodstuff, victual |
fare | (vi) รับประทาน, See also: กิน, ทาน |
francolin | (n) นกกระทา |
get down | (phrv) ลุกจากโต๊ะ (หลังรับประทานอาหาร) (เป็นคำพูดของเด็กๆ) |
godsend | (n) สิ่งประเสริฐซึ่งพระเจ้าประทานให้, See also: สมบัติล้ำค่าซึ่งสวรรค์ให้มา, Syn. delight, treasure |
grant | (vt) ยินยอม, See also: ยอมให้, ประทาน, ให้รางวัล, Syn. allow, bestow, award, Ant. disallow |
grub | (vi) กิน, See also: รับประทาน |
has | (vt) กิน, See also: รับประทาน |
have | (vt) รับประทาน, See also: กิน, ทาน |
High Mass | (n) พิธีฉลองการรับประทานอาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซู มีการเผาเครื่องหอม บรรเลงดนตรี และขับร้อง |
have a sweet tooth | (idm) อยากรับประทานขนมหวาน |
tuck into something | (idm) รับประทานด้วยความหิว, See also: รับประทานด้วยความอยากรับประทานมาก |
ingest | (vt) นำเข้าสู่ร่างกายทางปาก, See also: รับประทาน, กิน, Syn. take in, absorb, dine, eat, Ant. fast |
irrigation | (n) การชลประทาน, See also: การทดน้ำ |
irrigative | (adj) เกี่ยวกับการชลประทาน |
keep down | (phrv) เก็บอาหารไว้ในกระเพาะ, See also: รับประทานอาหารได้, Syn. hold down |
live off | (phrv) รับประทานอาหาร, See also: กิน, ทาน, Syn. dine off, eat off, feed off, feed on, live on |
lunch off | (phrv) รับประทาน (บางอย่าง) เป็นอาหารกลางวัน |
lunch | (vi) รับประทานอาหารกลางวัน, See also: ทานอาหารกลางวัน, ทานข้าวเที่ยง |
macrobiotic | (n) เกี่ยวกับการรับประทานอาหารธรรมชาติ |
macrobiotics | (n) การรับประทานอาหารธรรมชาติ |
marrowbone | (n) กระดูกที่มีไขกระดูก (รับประทานได้) |
mealtime | (n) เวลารับประทานอาหาร |
meat | (n) เนื้อผลไม้, See also: ส่วนที่รับประทานได้, อาหาร, Syn. foodstuff, eatables |
anorexia | (แอนนะเรค' เซีย) n. ภาวะไร้ความอยากอาหารหรือไม่สามารถรับประทานอาหารได้ -anorectic adj. (lack of appetite) |
artichoke | (อาร์'ทิโชค) n. พืชมีใบเป็นหนามจำพวกหนึ่งชึ่งหัวและดอกใช้รับประทานได้ |
banquet | (แบง'เควท) n. การรับประทานอาหารอย่างฟุ่มเฟือย, งานเลี้ยง vt. จัดงานเลี้ยงต้อนรับ, ไปรับประทานอาหารในงานเลี้ยง, See also: banqueter n. ดูbanquet, Syn. lavish meal -Conf. banquet |
cafe | (คะเฟ', แคฟ'เฟ) n. ภัตตาคารเล็ก ๆ , ร้านกาแฟ, โรงอาหาร, ไนท์คลับ, โรงอาหารที่ผู้รับประทานช่วยตัวเอง, กาแฟ, Syn. restaurant |
cafeteria | (แคฟ'ฟิเทียเรีย) n. ภัตตาคารหรือโรงอาหารที่ผู้รับประทานอาหารต้องช่วยตัวเอง |
dine | (ไดนฺ) vi. รับประทานอาหาร vt. เชิญรับประทานอาหาร -Phr. (dine out กินข้าวข้างนอก), Syn. eat |
diner | (ได'เนอะ) n. ผู้ที่รับประทานอาหาร, ตู้เสบียงของขบวนรถโดยสาร (รถไฟ) , ร้านอาหารข้างทาง |
dinner pail | n. กล่องใส่อาหารรับประทานนอกบ้าน |
dinning room | n. ห้องรับประทานอาหาร |
eat | (อีท) vt. กิน, รับประทาน, กัดกร่อน, กัดกิน, ทำลาย vi. กิน, รับประทาน, กัดกร่อน n. อาหาร -Phr. (eat one's words ถอนคำพูด, ยอมรับว่าผิด), Syn. consume |
gastrology | n. รับประทานวิทยา |
godsend | n. สิ่งหรือเหตุการณ์ที่ได้มาอย่างเหมาะเจาะ (ยังกับพระเจ้าประทานให้), Syn. blessing, boon |
grace | (เกรส) n. ความงดงาม, ความนิ่มนวล, ความกลมกล่อม, ความสุภาพ, ความสง่า, ความเมตตา, ความกรุณา, คุณธรรม, การสวดมนต์สั้น ๆ ก่อนรับประทานอาหาร, Syn. elegance, beauty |
hall | (ฮอล) n. ห้องโถง, ห้องประชุม, ห้องรับประทานอาหาร, ศาล, หอ, ห้องนันทนาการ, คฤหาสน์, ทางเดินจากประตูหน้าไปยังห้องโถง, |
high mass | พิธีฉลองการรับประทานอาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซู มีการเผาเครื่องหอม บรรเลงดนตรีและขับร้อง |
ingestant | (อินเจส'เทินทฺ) n. สิ่งที่ถูกนำเข้าไปในร่างกาย, สารที่รับประทาน |
irrigation | (เออระเก'เชิน) n. การชลประทาน, การทดน้ำ, การปล่อยให้น้ำ หรือของเหลวไหลผ่าน, การชำระล้าง., See also: irrigatioanl adj. |
lunch | (ลันชฺ) { lunched, lunching, lunches } n. อาหารเที่ยง, อาหารกลางวัน, มื้ออาหารเบา ๆ , ห้องอาหารมื้อเที่ยง, ห้องอาหารกลางวัน. vi. รับประทานอาหารมื้อเที่ยง. vt. จัดอาหารมื้อเที่ยงให้., See also: luncher n. ดูlunch, Syn. luncheon, bite |
macaroni | (แมคคะโร'นี) n. มะกะโรนีเป็นหลอดกลวงสั้น ๆ ของอิตาลีมักรับประทานกับน้ำซอสมะเขือ, Syn. maccaroni |
meal | (มีล) n. มื้ออาหาร, อาหารที่กินในมื้อหนึ่ง ๆ , เวลารับประทานอาหาร, ผงหยาบของข้าวบด, ข้าวป่น, สารป่น |
mess | (เมส) n. ภาวะที่ยุ่งเหยิง, ความสับสน, สถานการณ์ที่ลำบากใจ, บุคคลที่กำลังมีเรื่องยุ่ง. vt. ทำยุ่ง, ทำให้สกปรกหรือไม่เป็นระเบียบ. vi. ร่วมรับประทานอาหาร, ทำสกปรกหรือทำยุ่ง. -Phr. (mess around (about) เที่ยวยุ่ง ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์) |
missal | (มิส'เซิล) n. หนังสือสวดมนต์และการปฏิบัติต่าง ๆ ของพิธีฉลองการรับประทานอาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซูคริสต์ |
partridge | (พาร์'ทริดจ) n. นกกระทา |
picnic | (พิค'นิค) n. vi., n. (การ) ไปเที่ยวนอกบ้านและนำอาหารไปรับประทานกลางแจ้ง., See also: picnicker n. |
pretzel | (เพรท'เซิล) n. ขนมปังกรอบรสเค็ม (มักใช้รับประทานกับเบียร์) |
quail | (เควล) n. นกกระทา vi. หมดกำลังใจ, กลัว, หัวหด, หดตัว |
refectory | (รีเฟค'ทะรี) n. โรงรับประทานอาหารในสถานที่ศาสนา |
repast | (รีพาสทฺ') n. ปริมาณอาหารต่อมื้อ, มื้ออาหาร, เวลารับประทานอาหาร, การรับประทานอาหาร vi. รับประทานอาหาร, เลี้ยงอาหาร |
service | (เซอ'วิส) n. การรับใช้, การบริการ, การปรนนิบัติ, การบริการอาหาร, การต้อนรับแขก, การช่วยเหลือ, การอำนวยประโยชน์, ทหารบก, การบำรุงรักษา, ชุดเครื่องมือรับประทานอาหาร, การเสิร์ฟลูก, การออกลูก, การส่งหมายศาล, การยื่นหมายศาล, พิธีศาสนา adj. ใช้เป็นประโยชน์, เป็นการบริการ, ลักษ |
show | (โช) vt., vi. แสดง, นำออกแสดง, เผยให้เห็น, นำออกฉาย, แสดงตัว, พิสูจน์ให้เห็น, บอก, อธิบาย, นำไปดู, บอกให้รู้, ชี้, อวด, อวดฝีมือ, ให้, ประทานให้, ให้ดู -Phr. (show off อวดโอ้อวด) n. การแสดง, เรื่องราว, ร่องรอย, แร่ที่ปรากฎให้เห็น. -Phr. (run the show ควบคุมกิจการหรือสถานการณ์) |
sideboard | (ไซดฺ'บอร์ด) n. ตู้ถ้วยชามในห้องรับประทานอาหาร |
snack | (สแนค) n., vi. (รับประทาน) อาหารเบา ๆ , อาหารว่าง, อาหารที่รับประทานได้อย่างรวดเร็วโดยไม่มีพิ-ธีรีตอง, หุ้น, หุ้นส่วน, Syn. refreshment |
snackbar | n. ห้องรับประทานอาหารเบา ๆ หรืออาหารว่าง |
surfeit | (เซอ'ฟีท) n. ส่วนเกิน, จำนวนเกิน, ความมากมายเกินไป, ความล้น, การรับประทานหรือดื่มมากเกินไป, ความรู้สึกไม่สบาย ที่เกิดจากการรับประทานหรือดื่มมากเกินไป. vt. ทำให้เกิน, ทำให้อิ่มไป. vi. ทำมากไป, มั่วสุมมากไป, รับประทานหรือดื่มมากเกินไป |
table set | n. ชุดรับประทานอาหาร |
tableware | n. ภาชนะต่าง ๆ ที่ใช้ในการรับประทานอาหารบนโต๊ะ |
tuck | (ทิค) vt., vi. จับผ้า, พับผ้า, พับ, พับแขนเสื้อ, รด, ดื่ม, หดสั้น n. สิ่งที่พับสั้น, ผ้าที่พับ, รอยจีบ, ขนม, ของรับประทาน., Syn. cover, wrap, swathe |
wardroom | (วอร์ด'รูม) n. ห้องพวกนายทหารในเรือรบ , ห้องรับประทานอาหารและห้องนั่งเล่นของนายทหารดังกล่าว, นายทหารดังกล่าว |
watercontrol | (วอ'เทอะคอนโทรล) n. การชลประทาน |
*dress code* | [ดฺ แร็ดสฺ โขดฺ - เน้นเสียงที่คำแรก] dress code คือ กฎระเบียบการแต่งกายตามจารึตประเพณีนิมยมของสังคมหนึ่งๆ เช่น การใส่ชุดฟอร์มนักเรียนนักศึกษาไทย ชุดข้าราชการไทย การแต่งกายเวลาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ไทย การแต่งกายไปร่วมพระราชพิธีต่างๆ การแต่งกายแบบสากลนิยมตามงานราตรีสโมสร หรือตามที่เจ้าภาพได้กำหนดไว้ เป็นต้น ตัวอย่าง 1. To attend a gala dinner at the Oriental Hotel, the dress code is strict - black tie only. การไปรับประทานอาหารเย็นที่โรงแรมโอแรนเต็ลนั้น กฎระเบียบการแต่งตัวนั้นเข้มงวดมาก คือ ต้องชุดราตรีสโมสรเท่านั้น 2. Thai students have a very strict dress code when they go to school. นักเรียนไทยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการแต่งกายตอนไปเรียนอย่างเคร่งครัด |
buffet | [บุเฟต์ (อังกฤษ) , เบอเฟต์ (อเมริกัน)] (n) บุฟเฟต์ (อาหารในงานเลี้ยงที่หรือโอกาสอื่นที่ผู้รับประทานบริการตนเอง), ร้านอาหารอย่างง่าย (ที่สถานที่รถไฟ, ชุมทางรถประจำทาง, หรือสนามบินที่สามารถซื้ออาหารและทานได้โดยใช้เวลสั้น ๆ) |
Halloweenorexia | (n, slang) ภาวะการรับประทานอาหารที่ผิดปกติ โดยมักจะเกิดขึ้นกับผู้หญิงที่ยอมอดอาหารเพื่อที่จะใส่ชุดสวย ๆ สำหรับเทศกาลฮัลโลวีน, See also: halloween |
leaseback | [ลิซแบ็ค] (n) นิติกรรมซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งขายทรัพย์สินแก่ผู้ซื้อ และผู้ซื้อได้นำทรัพย์สินออกให้ผู้ขายเช่าทันที นิติกรรมเช่นนี้ทำให้ผู้ซื้อมีกรรมสิทธิ์เต็มที่ในทรัพย์สิน แต่ไม่ต้องมีภาระทางการเงิน ส่วนใหญ่มักทำนิติกรรมนี้กันเพื่อผลประโยชน์ทางภาษี บางทีก็เรียกว่า sale and leaseback |
mineral mine concession certificate | ประทานบัตรทำเหมืองแร่ |
palatability | (n) ความน่ากิน, ความน่ารับประทาน, ความอร่อย, ความหวาน, ความไพเราะ, ความถูกรสนิยม, See also: palatable, acceptable, delectable, pleasant, Syn. deliciousness |
Patmose | [พัท มอส] (n) Patmos เป็นชื่อเกาะขนาดเล็กใน(เป็นภาษากริก) Aegean ทะเลและสามารถพบได้ระหว่างเกาะ Leros และ Ikaria. ... ประมงประวัติของพิพิธภัณฑ์เป็นนักท่องเที่ยว Philoproodos กล่าวกันว่านักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสเป็นคนคนเดียวกับ “นักบุญอัครสาวก” ... (ดูเพิ่ม นักบุญจอห์นเพรสไบเตอร์ (John the Presbyter) และ นักบุญจอห์นแห่งพัทโมส (John of Patmos) ...ได้เห็นนิมิตที่พระเจ้าททรงประทานให้พ่านทูตสวรรค์ และยอห์นเขียนขึ้นมาเป็นเล่มเรียกชื่อว่า "พระธรรมวิวรณ์" |
pepperoni | [pĕp'ə-rō'nē] (n) อาหารประเภทไส้กรอกมีรสจัดของอิตาลี มักทำจากเนื้อหมูหรือเนื้อวัว ปนกับเครื่องเทศ เวลารับประทานอาจหั่นเป็นชิ้นบางๆ หรือใช้เป็นหน้าของพิซซ่าได้ |
pescadarian | (n) คนไม่รับประทานเนื้อสัตว์ แต่รับประทานปลา |