การศึกษาค้นคว้าภาษาอังกฤษโดยอิสระ | (n, phrase) Independent Study in English |
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ | (n, phrase) English for Business Communication |
ภาษาอังกฤษเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ | (n, phrase) English for Advertising and Public Relations |
ภาษาอังกฤษเพื่อการโรงแรม | (n, phrase) English for Hotel |
มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) |
วิชาการอ่านภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Reading |
วิชาการเขียนภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Writing |
วิชาภาษาอังกฤษงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม | (n, phrase) English for Food and Beverage Services |
วิชาภาษาอังกฤษธุรกิจขนส่ง | (n, phrase) English for Transport Business |
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว | (n, phrase) English for Tourism |
วิชาภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอทางธุรกิจ | (n, phrase) English for Business Presentation |
วิชาภาอังกฤษงานส่วนหน้าโรงแรม | (n, phrase) English for Hotel Front Office |
วิชาสนทนาภาษาอังกฤษธุรกิจ | (n, phrase) Business English Conversation |
ทองอังกฤษ | น. เรียกโลหะชนิดหนึ่งเป็นแผ่นบาง ๆ สีคล้ายทองคำหรือสีอื่น ๆ ก็มี ใช้สลักหรือปรุเป็นลายประดับเครื่องศพเป็นต้น. |
อังกฤษ | (-กฺริด) น. ชื่อประเทศ ชนชาติ และภาษาของชนผิวขาวพวกหนึ่งที่อยู่ในเกาะทางทิศตะวันตกของทวีปยุโรปซึ่งเรียกว่า เกรตบริเตน |
อังกฤษ | เรียกโลหะชนิดหนึ่งเป็นแผ่นบาง ๆ สีคล้ายทองคำหรือสีอื่น ๆ ก็มี ใช้สลักหรือปรุเป็นลายประดับเครื่องศพเป็นต้น ว่า ทองอังกฤษ. |
กรมท่ากลาง | น. ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ที่ตั้งขึ้นภายหลังกรมท่าซ้าย กรมท่าขวา ทำหน้าที่รวมงานการติดต่อกับชาติตะวันตกเรื่องการค้าขายและการต่างประเทศ เช่น โปรตุเกส ฮอลันดา อังกฤษ สเปน ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา. |
กระดิกหู | เข้าใจดี, รู้เรื่องดี, ใช้กับการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ภาษาอังกฤษฉันกระดิกหูเสียที่ไหนถึงจะให้ไปทำงานบ้านฝรั่ง. |
เกรน | (เกฺรน) น. มาตราชั่งอย่างหนึ่งของอังกฤษ ๑ เกรน เท่ากับ ๖๔.๗๙๙ มิลลิกรัม. |
แกลลอน | (แกน-) น. หน่วยวัดปริมาตรของอังกฤษ ๑ แกลลอน = ๔.๕๔๖๐๙ ลิตร (British Imperial gallon), หน่วยวัดปริมาตรของสหรัฐอเมริกา ๑ แกลลอน = ๓.๗๘๕๔๔ ลิตร (U.S. gallon). |
เครือจักรภพ, เครือรัฐ | (-จักกฺระพบ, -รัด) น. กลุ่มประเทศหรือรัฐที่มีการปกครองตนเอง แต่ยอมรับนับถือประมุขร่วมกัน เช่น ประเทศในเครือจักรภพอังกฤษ รัฐต่าง ๆ ในเครือรัฐออสเตรเลีย. |
เงินสเตอร์ลิง | น. โลหะเจือซึ่งประเทศอังกฤษเคยใช้ทำเงินตรา มีองค์ประกอบเป็นโลหะเงินร้อยละ ๙๒.๕ ทองแดงร้อยละ ๗.๒ ตะกั่วร้อยละ ๐.๒ และทองคำร้อยละ ๐.๑. |
จักรวรรดิ | (-หฺวัด) น. รัฐหรือสหภาพของรัฐต่าง ๆ ที่มีจักรพรรดิเป็นประมุข เช่น จักรวรรดิโรมัน, อาณาเขตหรืออาณาจักรที่อยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยการปกครองอันเดียวกัน เช่น จักรวรรดิอังกฤษ. |
จุลวงศ์ | (จุนละ-) น. ชื่อหนังสือพงศาวดารลังกา แต่งเป็นภาษาบาลีต่อจากมหาวงศ์ ตั้งแต่รัชสมัยพระเจ้าสิริเมฆวรรณจนถึงลังกาถูกอังกฤษยึดครอง. |
ฉุด | ก. ออกแรงดึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างแรงให้เข้ามาหาตัว เช่น ฉุดคนที่หกล้มให้ลุกขึ้นมา ฉุดไว้ไม่ให้ไป, โดยปริยายหมายความว่า ถ่วงให้ต่ำลง เช่น คะแนนภาษาอังกฤษฉุดให้คะแนนรวมต่ำลง, หรือดึงให้สูงขึ้น เช่น ได้เกาะชายผ้าเหลืองฉุดขึ้นสวรรค์. |
ซีป่าย | น. ชื่อกองทหารแบบอังกฤษกองหนึ่งในรัชกาลที่ ๔ เอาแบบมาจากทหารซีปอยของกองทัพอังกฤษในอินเดีย. |
ตัวพิมพ์ | เรียกตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ. |
นิ้ว | มาตราวัดของอังกฤษ ๑ นิ้ว เท่ากับ ๒.๕๔ เซนติเมตร, และ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ ฟุต. |
บังคับ | น. การว่ากล่าวปกครอง, อำนาจศาลสมัยมีสภาพนอกอาณาเขต, เช่น คนในบังคับอังกฤษ |
บาร์เรล | น. หน่วยวัดความจุของของเหลว ซึ่งเมื่อใช้กับการวัดปริมาตรนํ้ามันปิโตรเลียม ๑ บาร์เรล = ๓๖ แกลลอนในประเทศอังกฤษ ส่วนในสหรัฐอเมริกา ๑ บาร์เรล = ๔๒ แกลลอน. |
ปร๋อ | (ปฺร๋อ) ว. แคล่วคล่อง, ว่องไว, ไม่ติดขัด, เช่น พอกรงเปิด นกก็บินปร๋อออกไป วิ่งปร๋อ พูดภาษาอังกฤษได้ปร๋อ. |
ปอนด์ | น. ชื่อหน่วยเงินตราของอังกฤษเท่ากับ ๑๐๐ เพนซ์, ปอนด์สเตอร์ลิง ก็เรียก |
ปอนด์ | ชื่อหน่วยมาตราชั่งของอังกฤษ เท่ากับ ๔๕๔ กรัม หรือ ๑๖ ออนซ์ |
ผัน ๒ | เปลี่ยนบางส่วนไปตามลักษณะทางไวยากรณ์ เช่น ผันวิภัตติในภาษาบาลีสันสกฤต ผันกริยาในภาษาอังกฤษ. |
พื้นฐาน | น. รากฐาน เช่น เขามีพื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษดี, หลักความรู้เบื้องต้น เช่น วิชาพื้นฐาน. |
ฟุต | น. มาตราวัดของอังกฤษ ๑ ฟุต เท่ากับ ๑๒ นิ้ว. |
ภาษาราชการ | ภาษาที่รัฐบาลประกาศให้ใช้เป็นทางราชการ เช่น ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ประเทศสิงคโปร์ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฮินดี และภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ. |
ไมล์ | น. ชื่อมาตราวัดของอังกฤษ มีกำหนด ๑ ไมล์ เท่ากับ ๔๐ เส้น หรือ ๑.๖๐๙ กิโลเมตร. |
รักบี้ | น. ชื่อกีฬาชนิดหนึ่ง เล่นครั้งแรกที่โรงเรียนรักบี้ ประเทศอังกฤษ แบ่งผู้เล่นเป็น ๒ ฝ่าย โดยปรกติเล่นฝ่ายละ ๑๕ คน แต่ที่เล่นฝ่ายละ ๗ คนก็มี ผู้เล่นแต่ละฝ่ายพยายามแย่งลูกรักบี้ไปวางพ้นแนวประตูฝ่ายตรงข้าม แล้วนำมาเตะ ณ แนวจุดเตะเพื่อให้เข้าประตูฝ่ายตรงข้าม ฝ่ายที่ได้คะแนนมากกว่าจะเป็นฝ่ายชนะ, เรียกเต็มว่า รักบี้ฟุตบอล, เรียกลูกหนังที่มีลักษณะกลมรีใช้ในการเล่นรักบี้ ว่า ลูกรักบี้. |
ราชนาวี | (ราดชะนาวี) น. กองทัพเรือของประเทศที่มีพระราชาหรือพระราชินีเป็นประมุข เช่น ราชนาวีไทย ราชนาวีอังกฤษ. |
วิลาด, วิลาศ | ว. ที่เป็นของยุโรป (เป็นคำที่ชาวอินเดียในสมัยก่อนเรียกชาวตะวันตกโดยเฉพาะชาวอังกฤษ) เช่น สาคูวิลาด เหล็กวิลาด ผ้าวิลาศ. |
แว่น ๑ | โดยปริยายหมายถึงหนังสือคู่มือ เช่น แว่นไวยากรณ์ แว่นอังกฤษ. |
ษ | (สอ) พยัญชนะตัวที่ ๓๙ เรียกว่า ษอ ฤๅษี เป็นอักษรสูง ใช้เป็นพยัญชนะต้น และเป็นตัวสะกดในมาตรากดหรือแม่กด เช่น เศรษฐี พิษ อังกฤษ. |
สนทนา | (สนทะ-) ว. ที่คุยกัน, ที่ปรึกษาหารือกัน, ที่พูดจาโต้ตอบกัน, เช่น บทสนทนาในนวนิยาย บทสนทนาภาษาอังกฤษ. |
สัมพันธมิตร | น. เรียกกลุ่มประเทศอันประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต อังกฤษ ฝรั่งเศส และจีน ที่รวมเป็นแกนร่วมรบกับกลุ่มประเทศฝ่ายอักษะในสงครามโลกครั้งที่ ๒ ว่า ฝ่ายสัมพันธมิตร. |
สารัตถศึกษา | น. การศึกษาวิชาที่เป็นพื้นฐาน เช่น วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ประวัติศาสตร์. |
เสรีไทย | น. ขบวนการของชาวไทยที่ตั้งขึ้นในประเทศไทย สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ มีความมุ่งหมายที่จะช่วยให้ประเทศชาติรอดพ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ ๒ (พ.ศ. ๒๔๘๔-๒๔๘๘). |
Pan-Europe | ขบวนการรวมกลุ่มประเทศภาคพื้นยุโรป (ไม่รวมประเทศอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Pan-European | ขบวนการรวมกลุ่มยุโรป (รวมประเทศอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Parliamentary Secretary | รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Parliaments, Clerk of the | เลขาธิการสภาขุนนาง (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Parliament; House of Parliament | ๑. รัฐสภา (อังกฤษ)๒. อาคารรัฐสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
public school | ๑. โรงเรียนรัฐบาล๒. โรงเรียนราษฎร์ (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parish | เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (อังกฤษ, อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parish | เขตการปกครองส่วนท้องถิ่น (อังกฤษ, สหรัฐอเมริกา), เขตแพริช [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
personal chattel | สังหาริมทรัพย์ (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peer | ขุนนาง (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
public account, committee of | คณะกรรมาธิการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Law Lords | ๑. สมาชิกสภาขุนนางที่เป็นผู้พิพากษาศาลสูง (อังกฤษ)๒. ผู้พิพากษาศาลสูง (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
leapfrog procedure | วิธีการอุทธรณ์ตรงต่อสภาขุนนาง (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
loanland; laenland | ที่ดินที่ให้ครอบครองโดยไม่มีหนังสือสัญญาเช่า (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Lands Tribunal | ศาลที่ดิน (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
laenland; loanland | ที่ดินที่ให้ครอบครองโดยไม่มีหนังสือสัญญาเช่า (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Lord Chancellor; Lord High Chancellor | ประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษ (เป็นประธานสภาขุนนางด้วย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lord High Chancellor | ประธานศาลสูงของอังกฤษ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Lord Mayor | นายกเทศมนตรี (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
relegation | การขับออกจากประเทศชั่วคราว (ก. เก่าอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
removal of child from care | ความผิดฐานเอาเด็กไปจากสถานพินิจโดยไม่ได้รับอนุญาต (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
royal commission | คณะกรรมการที่โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
representation, virtual | การเป็นผู้แทนโดยปริยาย (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
shire | เทศมณฑล, เขตท้องถิ่น (อังกฤษโบราณ) [ ดู county ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sittings of the House of Commons | การประชุมสภาสามัญชน (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Supreme Court of Judicature | ศาลยุติธรรมสูงสุด (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
solicitor | ๑. หัวหน้านิติกร (ก. อเมริกัน)๒. ทนายความที่ปรึกษา (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
school, public | ๑. โรงเรียนรัฐบาล๒. โรงเรียนราษฎร์ (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sessional committee | คณะกรรมาธิการเฉพาะสมัยประชุม (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Old English | ภาษาอังกฤษเก่า [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
opposition bench | ที่นั่งฝ่ายค้าน (ในรัฐสภาแบบ อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
opposition bencher | สมาชิกสภาสามัญอังกฤษที่นั่งในที่นั่ง ฝ่ายค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
order-in-council | พระบรมราชโองการ (ที่ประกาศโดยคำแนะนำของคณะองคมนตรีของอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
overriding interests | สิทธิประโยชน์ติดพันที่ดิน (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acknowledgment of right to production of documents | หนังสือรับรองสิทธิในที่ดินแทนโฉนด (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
articles of the peace | คำร้องขอต่อศาลให้มีคำสั่งคุ้มครองความปลอดภัย (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acceptance of service | การรับหมายศาลแทนจำเลย (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Attorney-General | ๑. อธิบดีกรมอัยการ (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน)๓. ที่ปรึกษากฎหมายแห่งมลรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Attorney-General | ๑. อัยการแผ่นดิน (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Address, Debate on the | การอภิปรายเกี่ยวกับพระราชดำรัส (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
address to the Crown | คำกราบบังคมทูล (ของรัฐสภาอังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Act of Parliament | พระราชบัญญัติ (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Queen's Speech | พระราชดำรัสเปิดสมัยประชุมรัฐสภา (อังกฤษ) [ ดู King's Speech ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Queen's (King's) Bench, Court of | ศาลสูงของอังกฤษ (ตามกฎหมายจารีตประเพณี) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Board of Trade | กระทรวงพาณิชย์ (อังกฤษสมัยก่อน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
breach of trust | ๑. การทำผิดหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย๒. การทำผิดหน้าที่ทรัสตี (ก. อังกฤษ และ ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
BTU (British thermal unit) | บีทียู (หน่วยความร้อนอังกฤษ) [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
back bench; bench, back | ที่นั่งแถวหลัง (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Video | วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Advanced Gas-cooled Reactor | เครื่องปฏิกรณ์ขั้นสูงระบายความร้อนด้วยแก๊ส, เอจีอาร์, <em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em>ผลิตไฟฟ้าแบบหนึ่ง ใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระบายความร้อน โดยพัฒนามาจากแบบที่ระบายความร้อนด้วยน้ำ ตัวอย่างของเครื่องปฏิกรณ์ชนิดนี้คือเครื่องปฏิกรณ์ Hinkley Point B อยู่ทางตะวันตกของประเทศอังกฤษ ใช้ยูเรเนียมไดออกไซด์ (มียูเรเนียม-235 ร้อยละ 1.4 ถึง 2.6) เป็นเชื้อเพลิง และใช้แกรไฟต์เป็น<strong>สารลดความเร็วนิวตรอน</strong> เครื่องปฏิกรณ์นี้ สามารถผลิตไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูงถึง 540 องศาเซลเซียส และความดัน 16 เมกะพาสคัล ทำให้มีประสิทธิภาพในการผลิตพลังงานไฟฟ้าได้สูงถึงร้อยละ 40 ซึ่งสูงเท่ากับโรงไฟฟ้าพลังเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในปัจจุบัน [นิวเคลียร์] |
Radiochemical purity | ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี, ความบริสุทธิ์ของสารประกอบกัมมันตรังสี ซึ่งมีสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการ โดยคำนวณจากสัดส่วนกัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการต่อกัมมันตภาพของสารประกอบกัมมันตรังสีทั้งหมด <br>ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ใช้เป็นค่ากำหนดคุณภาพของสารเภสัชรังสีซึ่งมีสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ เจือปนอยู่น้อยที่สุด ตามมาตรฐานเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกา (United States Pharmacopoeia, USP) เภสัชตำรับอังกฤษ (British Pharmacopoeia, BP) และ เภสัชตำรับยุโรป (European Pharmacopoeia, EP) เช่น ในการผลิตสารไอโอดีน-131 (<sup>131I</sup>) ตามเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกาต้องมีอัตราส่วนของสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปโซเดียมไอโอไดด์ (Na<sup>131</sup>I) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 และสารประกอบกัมมันตรังสีที่มีธาตุไอโอดีนอยู่ในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ ไม่เกินร้อยละ 5</br> [นิวเคลียร์] |
Video | วีดิทัศน์, <p>คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) <p>คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” [คำทับศัพท์ที่มักใช้ผิด] |
Picture Vocabulary Program | โปรแกรมภาพคำศัพท์, ซอฟต์แวร์ช่วยในการเรียนรู้ของเด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้ ประกอบด้วยคำศัพท์ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ พร้อมรูปภาพ [Assistive Technology] |
Thai Sign Language Program: computer vocabulary | ภาษามือไทยชุดคำศัพท์คอมพิวเตอร์, ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูลภาษามือไทย ที่บรรจุคำศัพท์คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลประกอบไปด้วย คำศัพท์ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ความหมาย ภาพ วีดิทัศน์ภาษามือไทย [Assistive Technology] |
Abbreviations, English | อักษรย่อภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Art, English | ศิลปะอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Arts, English | ศิลปกรรมอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Authors, English | นักประพันธ์อังกฤษ [TU Subject Heading] |
Ballads, English | บัลลัดอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Children's literature, English | วรรณกรรมอังกฤษสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] |
Children's stories, English | นิทานอังกฤษสำหรับเด็ก [TU Subject Heading] |
Christian fiction, English | นวนิยายคริสตศาสนาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Church of England | ศาสนจักรอังกฤษ [TU Subject Heading] |
England | อังกฤษ [TU Subject Heading] |
English drama | บทละครอังกฤษ [TU Subject Heading] |
English drama (Comedy) | บทละครอังกฤษ (ละครชวนหัว) [TU Subject Heading] |
English language | ภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
English literature | วรรณกรรมอังกฤษ [TU Subject Heading] |
English newspapers | หนังสือพิมพ์อังกฤษ [TU Subject Heading] |
English periodicals | วารสารอังกฤษ [TU Subject Heading] |
English poetry | กวีนิพนธ์อังกฤษ [TU Subject Heading] |
English teachers | ครูภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Fantasy fiction, English | นวนิยายแฟนตาซีอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Great Britain | อังกฤษ [TU Subject Heading] |
Great Britain. Parliament | อังกฤษ. รัฐสภา [TU Subject Heading] |
Great Britain. Parliament. House of Lords | อังกฤษ. รัฐสภา. สภาขุนนาง [TU Subject Heading] |
London (England) | ลอนดอน (อังกฤษ) [TU Subject Heading] |
Philosophy, English | ปรัชญาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Picture dictionaries, English | พจนานุกรมภาพภาษาอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Pidgin English | ภาษาอังกฤษแก้ขัด [TU Subject Heading] |
Proverbs, English | สุภาษิตและคำพังเพยอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Quotations, English | คำคมอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Short stories, African (English) | เรื่องสั้นแอฟริกัน (ภาษาอังกฤษ) [TU Subject Heading] |
Short stories, English | เรื่องสั้นอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Songs, English | เพลงอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Speeches, addresses, etc., English | สุนทรพจน์อังกฤษ [TU Subject Heading] |
Women authors, English | นักประพันธ์สตรีอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] |
Congress of Vienna | เป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต] |
Diplomatic Language | ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] |
Five Power Defence Arrangement | ความตกลงด้านการป้องกันประเทศระหว่างสมาชิก 5 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอังกฤษ จัดให้มีขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2514 [การทูต] |
Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] |
Great Powers | ประเทศมหาอำนาจ รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] |
Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
อังกฤษ | [Angkrit] (adj) EN: English FR: anglais ; britannique |
บทสนทนาภาษาอังกฤษ | [botsonthana phāsā Angkrit] (n, exp) EN: English conversation |
ชายชาวอังกฤษ | [chāichāo Angkrit] (n, prop) EN: Englishman FR: Anglais [ m ] |
ชาวอังกฤษ | [Chāo Angkrit] (n, prop) EN: British ; English FR: Anglais [ m ] ; ressortissant anglais [ m ] ; citoyen anglais [ m ] |
ชื่อภาษาอังกฤษ | [cheū phāsā Angkrit] (n, exp) EN: English name FR: nom anglais [ m ] |
ช่องแคบอังกฤษ | [Chǿngkhaēp Angkrit] (n, prop) EN: English Channel FR: La Manche |
หัดพูดภาษาอังกฤษ | [hat phūt phāsā Angkrit] (xp) EN: practise spoken English FR: s'exercer à la pratique de l'anglais |
คำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ | [kham thapsap phāsā Angkrit] (n, exp) FR: mots empruntés à l'anglais |
ครูสอนภาษาอังกฤษ | [khrū søn phāsā Angkrit] (n, exp) EN: English teacher FR: professeur d'anglais [ m ] |
ในอังกฤษ | [nai Angkrit] (x) EN: in England FR: en Angleterre |
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ | [nakwitthayāsāt chāo Angkrit] (n, exp) EN: English scientist FR: scientifique anglais [ m ] |
ภาษาอังกฤษ | [phāsā Angkrit] (n) EN: English ; English language FR: anglais [ m ] ; langue anglaise [ f ] |
ภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ | [phāsā Angkrit choēng thurakit] (n, exp) EN: business English FR: anglais commercial [ m ] ; anglais des affaires [ m ] |
พูดภาษาอังกฤษ | [phūt phāsā Angkrit] (v, exp) EN: speak English FR: parler anglais |
พูดภาษาอังกฤษใช้ได้ | [phūt phāsā Angkrit chaidāi] (xp) EN: speak English all right FR: parler bien l'anglais |
พูดภาษาอังกฤษคล่อง | [phūt phāsā Angkrit khlǿng] (xp) EN: speak fluent English FR: parler couramment l'anglais |
ประเทศอังกฤษ | [Prathēt Angkrit] (n, prop) EN: England FR: Angleterre [ f ] |
ระบบเสียงภาษาอังกฤษ | [rabop sīeng phāsā Angkrit] (n, exp) EN: English phonology |
สถานทูตอังกฤษประจำกรุงเทพฯ | [Sathānthūt Angkrit Prajam Krungthēp] (n, prop) EN: British Embassy in Bangkok FR: Ambassade de Grande-Bretagne à Bangkpk [ f ] |
สถานทูตอังกฤษประจำประเทศไทย | [Sathānthūt Angkrit Prajam Prathēt Thai] (n, prop) EN: British Embassy in Thailand FR: Ambassade de Grande-Bretagne en Thaïlande [ f ] |
ทีมชาติอังกฤษ | [thīm chāt Angkrit] (n, exp) FR: équipe nationale d'Angleterre [ f ] ; équipe d'Angleterre [ f ] |
ธงอังกฤษ | [thong Angkrit] (n, exp) EN: the Union Jack |
ทองอังกฤษ | [thøng Angkrit] (n, exp) EN: tinsel ; copper-tinsel FR: guirlandes de Noël [ fpl ] |
อุโมงค์ช่องแคบอังกฤษ | [umōng Chǿngkhaēp Angkrit] (n, exp) EN: Channel Tunnel ; Chunnel FR: tunnel sous la Manche [ m ] |
ไวยากรณ์อังกฤษ | [waiyākøn Angkrit] (n) EN: English grammar FR: grammaire anglaise [ f ] |
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ | [waiyākøn phāsā Angkrit] (n) EN: English grammar FR: grammaire anglaise [ f ] |
วรรณคดีอังกฤษ | [wannakhadī Angkrit] (n, exp) EN: English Literature |
หญิงชาวอังกฤษ | [yingchāo Angkrit] (n, exp) FR: Anglaise [ f ] |
SARS | (n) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือ ซาร์ส มาจากภาษาอังกฤษ เต็มๆ คือ Severe Acute Respiratory Syndrome เริ่มระบาดในช่วงต้นปี 2546 ในหลายประเทศ |
Chancellor of the Exchequer | (n) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของอังกฤษ |
quid | (n, colloq) เงิน 1 ปอนด์ (ของอังกฤษ), Syn. pound |
imperial unit | (n) หน่วยวัดของอังกฤษแบบเก่า และยังใช้อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยใช้หน่วยวัดเป็น นิ้ว ฟุด ปอนด์ แกลลอน หลา ไมล์ เป็นต้น, See also: Related: metric unit |
RSVP | กรุณาตอบกลับมา (เป็นคำย่อที่นำมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ว่า repondez s'il vous plait ซึ่งถูกนำมาใช้มากในภาษาอังกฤษ) เช่น Please RSVP in the comments of this entry., You must RSVP after the start of registration and prior to 2:30 PM. |
public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) |
damn it! | (phrase) เป็นคำสบถ แปลว่า ฉิบหาย ให้ตายเถอะ (ดีกรีความหยาบคาย ขึ้นกับอารมณ์ผู้พูดขณะนั้น และแปลตรงจากภาษาอังกฤษ คือ แช่งมันไปเลย) |
burning time | ช่วงเวลาสำหรับเหล่าแม่มดที่โชคร้ายที่ถูกกดขี่ข่มเหงในยุคกลาง ซึ่งเหล่าแม่มดถูกใส่ร้าย ป้ายคำโป้ปดต่างๆ, เหล่าแม่มดถูกจับเผาทั้งเป็นในสก็อตแลนด์และภาคพื้นทวีปยุโรป ส่วนในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา พวกเธอถูกจับแขวนคอ(ทั้งเป็น) |
english | (n,, adj) คนอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ |
curfew | (n) ในยุโรปสมัยกลางบ้านเรือนทำมาจากท่อนซุง ตรงพื้นกลางบ้านมักจะขุดเป็นหลุมเพื่อเอาไว้ใช้เป็นเตา เพราะกลัวไฟไหม้ ตอนดึกๆ จึงต้องมียามเดินไปให้สัญญาว่าได้เวลานอนแล้ว ขอให้กลบไฟซะให้เรียบร้อยด้วย ซึ่งภาษาฝรั่งเศสว่า cuevre-feu แปลเป็นอังกฤษว่า to cover the fire เมื่อพระเจ้าวิลเลี่ยมแห่งฝรั่งเศสตีอังกฤษได้ ก็เอามาใช้ในอังกฤษ ให้ทุกบ้านดับไฟและห้ามออกจากบ้าน Curfew ก็จึงพัฒนามาเป็นคำที่หมายถึง มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากำหนด |
Greyhound racing | (n) การแข่งวิ่งสุนัขพันธ์เกรย์ฮาวนด์ เป็นที่นิยมในอังกฤษ(คล้ายแข่งม้าแต่ไม่มี jockey) |
Highbury | (n) สนามฟุตบอลเดิมของทีมอาร์เซนอล ประเทศอังกฤษ |
trillion | (n) ล้านล้าน (อเมริกัน) หรือ ล้านล้านล้าน (อังกฤษสมัยเก่า), See also: http://en.wikipedia.org/wiki/Long_and_short_scales |
Manchester City | (uniq) สโมสรฟุตบอลจากเมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ |
Manchester United | (uniq) สโมสรฟุตบอลจากเมืองแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ |
spinach | (n) ผักปวยเล้ง, ที่ในการ์ตูนเรื่อง Popeye แปลคำว่า spinach ว่าผักโขม หรือ ผักขม นั้นจริงๆ คือ ไม่ถูกต้อง (ผักโขม จะตรงกับภาษาอังกฤษ amaranth) |
a | (n) อักษรตัวแรกในภาษาอังกฤษ |
admiralty | (n) หน่วยงานด้านกองทัพเรือของรัฐบาลอังกฤษ |
American Revolution | (n) สงครามระหว่างอังกฤษกับอาณานิคมของอังกฤษในอเมริกา (ค.ศ. 1775-1783) |
anapaest | (n) การออกเสียงในภาษาอังกฤษที่สองพยางค์แรกเน้นเสียงเบาตามด้วยหนึ่งพยางค์ที่เน้นเสียงหนัก |
Anglia | (n) ชื่อภาษาละตินของอังกฤษ |
Anglican | (adj) ของชาวอังกฤษ, Syn. English, British |
Anglo | (prf) อังกฤษ |
Anglomania | (n) การคลั่งไคล้วัฒนธรรมของอังกฤษ |
Anglophile | (n) คนที่นิยมชมชอบความเป็นอังกฤษ |
Anglophobe | (n) ผู้ที่เกลียดหรือกลัวความเป็นอังกฤษ |
Anglo-Saxon | (n) คนที่มีภาษาแม่เป็นภาษาอังกฤษ |
article | (n) คำนำหน้านามในภาษาอังกฤษ |
B | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 |
b | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 2 |
baboo | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr.ในภาษาอังกฤษ), Syn. babu |
babu | (n) นาย (คำนำหน้าชื่อชายฮินดูเท่ากับ Mr ในภาษาอังกฤษ), Syn. baboo |
baron | (n) ท่านบารอน, See also: ขุนนางขั้นต่ำของอังกฤษหรือญี่ปุ่น |
baronet | (n) ขุนนางอังกฤษยศขั้นต่ำกว่า Baron, See also: ท่านบารอเน็ต คำย่อคือ Bart หรือ Bt มักใช้คำนำหน้าว่า Sir เช่น Sir Arthur Henderson Fairburn, Bart. |
brigadier | (n) พนักงานตำแหน่งสูงของกองทัพอังกฤษ (คำย่อคือ Brig.) |
Britain | (n) อังกฤษ, Syn. United Kingdom |
British | (adj) ชาวอังกฤษ |
Britisher | (n) คนอังกฤษ |
Briton | (n) คนอังกฤษ |
Britpop | (n) เพลงที่นิยมในอังกฤษเมื่อปีค.ศ 1990 |
burr | (n) การลงเสียงหนักบนเสียง r ในภาษาอังกฤษ |
by-election | (n) การเลือกตั้งสมาชิกสภาที่ตายหรือลาออกของอังกฤษ, See also: การเลือกตั้งซ่อม |
C | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ |
c | (n) อักษรตัวที่ 3 ในภาษาอังกฤษ |
cadet corps | (n) องค์การสำหรับฝึกทางทหารให้แก่นักเรียนในบางโรงเรียนของอังกฤษ |
Canterbury | (n) แคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England |
Canterbury | (n) เมืองแคนเทอเบอรี่ (ประเทศอังกฤษ), See also: เมืองหนึ่งในประเทศอังกฤษ เป็นที่ตั้งของโบสถ์ในศาสนาคริสต์นิกาย Church of England |
capital letter | (n) ตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ในภาษาอังกฤษ |
colonel | (n) พันเอก, See also: พันเอก ทหารบกอังกฤษ, นาวาเอก ทหารนาวิกโยธิน, นายพัน |
count | (n) ตำแหน่งของขุนนางอังกฤษเทียบเท่ากับเอิร์ล, See also: บรรดาศักดิ์ทางยุโรป |
down South | (idm) ไปทางใต้ของอังกฤษ |
D | (n) พยัญชนะตัวภาษาอังกฤษที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
d | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
duke | (n) ท่านดยุค, See also: ขุนนางชั้นสูงของอังกฤษ, Syn. aristocrat, nobleman, peer, Ant. citizen, commoner |
E | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 |
e | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 5 |
earl | (n) ตำแหน่งขุนนางอังกฤษ, See also: ท่านเอิร์ล |
Elizabeth I | (n) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษช่วงปี ค.ศ.1558-1603, See also: พระธิดาของกษัตริย์เฮนรี่ที่ 8 และแอนน์โบลีน, สมเด็จพระราชินีนาถของอังกฤษและไอร์แลนด์ใน |
Elizabeth II | (n) สมเด็จพระราชินีนาถแห่งอังกฤษตั้งแต่ปี ค.ศ.1952ถึงปัจจุบัน, See also: พระธิดาของกษัตริย์จอร์จที่ 6 เป็นสมเด็จพระราชินีนาถของสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี ค.ศ.1926 |
Elizabethan | (n) คนอังกฤษโดยเฉพาะนักเขียนในสมัยสมเด็จพระราชินีนาถอะลิซาเบ็ธที่ 1 |
England | (n) ประเทศอังกฤษ |
England | (n) อังกฤษ |
English | (adj) เกี่ยวกับประเทศอังกฤษ, See also: แห่งประเทศอังกฤษ, ของอังกฤษ, แบบอังกฤษ |
English | (n) ชาวอังกฤษ, See also: คนอังกฤษ |
English | (n) ภาษาอังกฤษ |
Englishman | (n) ผู้ชายที่เกิดในอังกฤษ, See also: ผู้ชายที่เป็นประชากรของสหราชอาณาจักรที่อาศัยอยู่ในอังกฤษ |
a | (เอ) 1. พยัญชนะและสระตัวแรกในภาษาอังกฤษรูปตัว A, ชั้นหนึ่ง, อันดับหนึ่ง, สัญลักษณ์ธาตุ argon (the first letter) - อังสตรอมยูนิต abbr. assesssment, artery 2. อักษร A ในระบบเลขฐานสิบหก มีค่าเท่ากับ 10 ในเลขฐานสิบ |
admiral of the fleet | ผู้บัญชากองเรือรบของอังกฤษ |
admiralty | (แอด' มิแรลที) n. กระทรวงกองทัพเรืออังกฤษ, ศาลทางทะเล, Syn. marine court |
alcuin | (แอล' ควิน) n. ชื่อนักธรมและนักปราชญ์ชาวอังกฤษ |
american english | ภาษาอังกฤษที่ใชเในอเมริกา |
american language | ภาษาอังกฤษที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา (English) |
american revolution | สงครามระหว่างอังกฤษกับอาณานิคมของอังกฤษในอเมริกา (ค.ศ.1775 - 83) |
anglia | (แอง' เกลีย) n. ประเทศอังกฤษ (ภาษาลาติน) (England) |
anglian | (แอง' กลิอัน, แอง' กลิค) adj., n. เกี่ยวกับ Angles, ชนเผ่า Anglies. ชื่อกลุ่มภาษาอังกฤษโบราณ |
anglicise | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. |
anglicize | (แอง' กลิไซซ) vt., vi. ทำให้เป็นอังกฤษ (ขนบธรรมเนียม, ลักษณะ, มารยาท, ฯลฯ) ให้เป็นภาษาอังกฤษ. -Anglicis (z) ation n. -Anglicism n. |
anglist | (แอง' กลิท) n. เจ้าหน้าที่หรือผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับเรื่องราวของอังกฤษ |
anglo- | (คำเสริมหน้า) มีความหมายว่า 'อังกฤษ' |
anglo- french | (แอง' โกลเฟรนซฺ) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและฝรั่งเศส. -n. ภาษาฝรั่งเศสี่ใช้ในอังกฤษโดยชาวนอร์มันในปลายยุคกลาง., Syn. Anglo-Norman |
anglo-american | (แอง' โกล อะเม' ริกัน) adj., n. เกี่ยวกับอังกฤษและอเมริกา (โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา) คนอังกฤษที่ไปตั้งรกรากที่อเมริกา. -Anglo-Americanism n. |
anglo-indian | (แอง' โกลอิน' เดียน) adj. เกี่ยวกับอังกฤษและอินเดีย. -n. คนที่มีเชื้อสายอังกฤษและอินเดียรวมกัน, ภาษาที่คนเหล่านี้พูดกัน |
anglo-norman | (แอง' โกลนอร์' มัน) adj. เกี่ยวกับสมัย ค.ศ.1066-1155 เมื่ออังกฤษถูกปกครองโดยชาวนอร์มัน, เกี่ยวกับภาษาฝรั่งเศสที่ใช้ในอังกฤษในสมัยดังกล่าว. -n. คนหรือภาษาในสมัยดังกล่าว |
anglo-saxon | (แอง' โกล' แซคเซิน) n. คนที่มีภาษาแม่เป็น อังกฤษ, คนอังกฤษสมัยก่อนที่ชาวนอร์มันเข้าครอบครอง, คนชาวอังกฤษ, คนที่มีบรรพบุรุษ เป็นอังกฤษ, ภาษาอังกฤษง่าย -adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ทื่อ |
anglomania | (แอง' โกลเม' เนีย) n. โรคบ้าอังกฤษ. -Anglomaniac n., -Anglomaniacal adj. (Anglo+mania) |
anglophil | (e) (แอง' โกลไฟล์ -ฟิล) n. คนที่นอยมชมชอบอังกฤษ. -Anglophilia n., -Anglophilic adj. (who admires England) |
anglophobe | (แอง' โกลโฟบ) n. คนที่นิยมชมชอบอังกฤษ. -Anglophobia n., -Anglophobiac, Anglophobic adj. |
armada | (อาร์มา'ดะ) n. กองเรือรบใหญ่, Armada กองเรือรบสเปญที่พ่ายแพ้อังกฤษในปี ค.ศ.1588 |
arsis | (อาร์'ซิส) n., (pl. -ses) จังหวะขึ้น, จังหวะเมา, พยางค์เสียงหนัก (ในโคลงกลอนภาษาอังกฤษ |
assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า |
avoirdupois weight | ระบบน้ำหนักในอังกฤษและสหรัฐอเมริกา. av ; avdp. ; avoir. |
b | (บี) พยัญชนะตัวที่ 2 ของภาษาอังกฤษ |
b.t.u. | abbr. British thermal unit หน่วยวัดค่าความร้อนแบบหนึ่งของอังกฤษ มักใช้ในการแสดงถึงความสามารถในการลดความร้อนของเครื่องปรับอากาศ |
bank annuities | n. พันธบัตรเอกภาพของอังกฤษ |
bank annuity) | n. พันธบัตรเอกภาพของอังกฤษ |
billion | (บิล'เยิน) n., adj. หนึ่งพันล้าน (สหรัฐอเมริกา) , หนึ่งล้านล้าน (อังกฤษ), See also: billionth adj., n. |
britain | (บริท'เทิน) n. อังกฤษ, ชื่อรวมของอิงแลนด์เวลล์และสก๊อตแลนด์Britannia (ดู) |
britannia | (บริแทน'เนีย) n. เกาะอังกฤษที่รวมทั้งเวลล์และสก๊อตแลนด์, อาณาจักรอังกฤษ/Great-Britain/และเกาะไอร์แลนด์ |
britannic | adj. เกี่ยวกับอังกฤษ, เกี่ยวกับบริเทน |
briticism | (บริท'ทิซิสซึม) n. ภาษาอังกฤษที่เป็นลักษณะเฉพาะของอังกฤษ -S.Britishism |
british | (บริท'ทิช) adj., n. (เกี่ยวกับ) อังกฤษ, บริเทน, ชาวอังกฤษ, ภาษาอังกฤษ |
british commonwealth of n | n. เครือจักรภพอังกฤษ. |
briton | (บริท'เทิน) n. ชาวอังกฤษ, ชาวเครือจักรภพอังกฤษ, ชนชาติเซลติค -S.Britisher |
broad church | n. ศาสนาประจำชาติของอังกฤษ |
bronco | (บรอง'โค) n. ม้าป่า, ชาวอังกฤษ |
brython | (บริธ'ธัน) n. ชาวอังกฤษ |
buckingham palace | n. พระราชวังบัคกิงแฮมของอังกฤษ |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
caps lock key | แป้นตรึงอักษรตัวใหญ่ <คำแปล>เป็นแป้น ๆ หนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีคำ Caps lock อยู่บนแป้น ปกติจะมีในเครื่องพิมพ์ดีดธรรมดาด้วย หากกดแป้นนี้ไว้ครั้งหนึ่งแล้ว ถ้าเป็นการพิมพ์ภาษาอังกฤษ จะมีผลทำให้การกดแป้นพิมพ์ตัวอักษรทุกตัวออกมาเป็นตัวใหญ่ (capital letter) ไปตลอด เหมือนกดแป้น Shift ไปพร้อมกัน แต่ถ้าพิมพ์ภาษาไทย การกดแป้นนี้ไว้ตั้งแต่แรก แล้วไปกดแป้นอื่น ก็จะเท่ากับเป็นการพิมพ์ตัวที่อยู่ข้างบนของแป้นพิมพ์ เช่น ฤ ฆ ฏ 1 2 หากต้องการยกเลิก ให้กดแป้นนี้ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง |
case sensitivity | การบังคับใช้ตัวเล็ก/ตัวใหญ่หมายถึง ความแตกต่างระหว่างการใช้ตัวใหญ่และตัวเล็กของตัวอักษรในภาษาอังกฤษ โปรแกรมบางโปรแกรมหรือระบบบางระบบจะบังคับว่า ต้องใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด มิฉะนั้นเครื่องจะไม่เข้าใจ เช่น ชื่อโปรแกรมภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) หรือ ระบบยูนิกซ์ (UNIX) จะบังคับให้ใช้ตัวใหญ่เท่านั้น ส่วนระบบดอสและวินโดว์ไม่บังคับ กล่าวคือ ใช้ตัวเล็กก็ได้ตัวใหญ่ก็ได้ |
cat | 1. (แคท) n. แมว, สัตว์ในตระกูลแมว, หญิงที่มีใจอำมหิต, บุคคล 2. (ซีเอที) ย่อมาจาก computer-aided translation แปลว่า การแปลภาษาใช้คอมพิวเตอร์ช่วย หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ รวมทั้งบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ (บางตำราว่า CAT ย่อมาจาก computer aided training แปลว่า การอบรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) |
celt | n. ชาวเซลท์ที่อยู่ในหมู่เกาะอังกฤษ, Syn. kelt -Celtic adj., n. |
chancellor of the exchequ | n. รัฐมนตรีกระทรวงการคลังของอังกฤษ |
church of england | n. ศาสนาคริสเตียนประจำชาติของอังกฤษ ไม่นับถือสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนา |
cobol | (โคบอล) ย่อมาจาก Common Business Oriented Language เป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง แรกเริ่มเดิมที นิยมใช้ในการเขียนโปรแกรมสำหรับงานด้านธุรกิจ ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ (mainframe) แต่ปัจจุบัน ได้รับการดัดแปลงให้ใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้แล้ว ภาษาโคบอลนี้ออกจะละม้ายคล้ายคลึงกับภาษาอังกฤษธรรมดาอยู่ค่อนข้างมาก ภาษานี้เป็นภาษาสากล ที่ยังมีคนนิยมใช้กันแพร่หลายจนถึงปัจจุบัน |
cockney accent | n. สำเนียงอังกฤษของชาวลอนดอนย่านตะวันออก |
ascot | (n) การแข่งม้าในประเทศอังกฤษ |
be grudge | กรุณาเอาคำนี้ออกจากเพจเพราะมันเขียนผิดครับ ในภาษาอังกฤษมี to bear/hold a grudge และ to begrudge ด้วย แต่ไม่มีคำว่า to be grudge หรอกครับ |
bearskin | หมวกทหารอังกฤษสีดำทรงสูง |
Cumberland | [คัม-บา-ลัน] (name) คัมบาลันด์ เป็นชื่ออดีตเขตชนบทในนอร์ทเวสต์อิงแลนด์ของประเทศอังกฤษ |
English | อังกฤษ |
fully fashioned | [Fully fashioned (ฟุ้ล หลิ แฝด เฉิ่น ดฺ) / Full-fashioned (ฟุล แฟ้ด เฉิ่น ดฺ)] (adj) 1. Fully fashioned (ฟุ้ล หลิ แฝด เฉิ่น ดฺ) เป็นคำคุณศัพท์ที่มีใช้ในภาษาอังกฤษ (ฺBrE.) 2. Full-fashioned (ฟุล แฟ้ด เฉิ่น ดฺ) เป็นคำคุณศัพท์ที่มีใช้ในภาษาอเมริกัน (ฺAmE.) ทั้งสองคำมีความหมายว่า "เย็บเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มแบบเข้ารูปหรือรัดรูป" เช่น Fully fashioned clothes (เสื้อผ้ารัดรูป) / fully fashioned stockings (ถุงน่องรัดรูป) / fully fashioned tights (กางเกงถุงน่องรัดรูป) เป็นต้น |
Governor-general | (n) ข้าหลวงต่างพระองค์ในดินแดนของอังกฤษ |
hit the road | (slang) หนีหัวซุกหัวซุน เช่น นายกอภิสิทธิ์ ตอกกลับนายใจล์เรื่องการหนีคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพในการสัมมนา ที่ oxford ประเทศอังกฤษว่า : If you are not hit the road , why do you stand here ? |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
limey | (n) ใช้เรียกคนที่อยู่บนเกาะอังกฤษ |
lv | [เอลวี] ในภาษของเกมส์ online ---- LV จะย่อมาจาก level ซึ่งความหมายของ lavel ในภาษาอังกฤษคือ ระดับ, ขั้น, ชั้น เช่น Character LV.99 เท่ากับ ตัวละครเลเวล 99 นั้นเอง |
much obliged | (phrase) (ภาษาอังกฤษโบราณ แต่ก็ยังมีใช้กันอยู่) ขอบคุณ, เป็นคำแสดงความระลึกถึงบุญคุณของอีกฝ่าย |
nla | (abbrev, name, org) สนช. ย่อมาจากคำว่า สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เกิดขึ้นจากการแต่งตั้งของคณะรัฐประหาร(19 กันยายน 2548)โดยภาษาอังกฤษคำเต็มคือ National Legislative Assembly |
Pharmacopoeia | [ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ |
Plassey | (name) ปลาศี เป็นหมู่บ้านในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย ในปี ค.ศ. 1757 อังกฤษได้รับชัยชนะในยุทธการที่ปลาศี และเริ่มแผ่อิทธิพลครอบงำอินเดีย |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
Potato Potato | [โพเทโท่ โพทาโท่] (slang) เหมือนๆกัน เป็นสำนวนของภาษาอังกฤษที่เล่นกับการออกเสียง Potato ทั้งสองคำจะอ่านต่างกัน (เสียง แอ กับเสียง อา) ซึ่งทั้งสองล้วนแปลว่า มันฝรั่ง เหมือนกัน, Syn. Same |
SAS | (n, name) ชื่อกลุ่มทหารของอังกฤษ เป็นหน่วยตำรวจในเกมส์ คาวเตอสไต๊ย |
specialization | [สเปเชียล ไล้เซชั่น] (n) จุดประสงค์เฉพาะ (ถ้าเขียนแบบอังกฤษจะเขียนเป็น Specialisation) |
tram | (n) รถราง (สำหรับคนอังกฤษ ส่วนคนอเมริกันใช้คำว่า streetcar) |
Trypophobia | (n, name) โรคกลัวรู (ภาษาอังกฤษ : Trypophobia) คือ ภาวะความเกลียดกลัว ขยะแขยง เมื่อเห็นพื้นของวัตถุมีลักษณะเป็นรู เป็นหลุม หรือเป็นช่องกลมๆ ตะปุ่มตะป่ำ กระจุกรวมตัวกันเยอะๆ |
unaccompany | [อันอะคัม\'พะนีด์] (adj) ตามลำพัง, ไม่มีเพื่อน, (ดนตรีบรรเลง)เดี่ยว ที่มา: ฝ่ายวิชาการภาษาอังกฤษ บ.ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด(มหาชน), See also: lonely, alone |
V.C. | (n) เหรียญอิสริยาภรณ์ของกองทัพอังกฤษ, Syn. Victoria Cross |
yogh | ตัวอักษรภาษาอังกฤษสมัยกลาง ใช้แทนเสียง วาย (y) |
กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรคิไอ | (adj, name, uniq) ในกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ (อังกฤษ: Biceps brachii muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่สำคัญมัดหนึ่งที่อยู่ในพื้นที่ด้านหน้าของต้นแขน (Anterior compartment of arm) กล้ามเนื้อมัดนี้มีหน้าที่หลายประการ แต่ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการงอแขนและการหมุนของปลายแขนโดยมีข้อศอกเป็นจุดหมุน กล้ามเนื้อไบเซ็ปส์ เบรกิไอ ยังเป็นกล้ามเนื้อที่ผู้คนส่วนใหญ่รู้จักกันดี เนื่องจากเป็นกล้ามเนื้อที่เห็นได้ชัดจากภายนอก และสามารถบริหารกล้ามเนื้อนี้ให้มีรูปร่างที่ต้องการได้ง่ายโดยการยกน้ำหนัก |
ภาษาพูด | [อังกฤษ] (colloq) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ |
Frau | นาง (คล้าย Mrs. ในภาษาอังกฤษ) |
auch | ด้วย, คล้าย too ในภาษาอังกฤษ |
das | (artikel) คำนำหน้านามเพศกลางที่เฉพาะเจาะจง (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ) |
daß | (konj) ที่ว่า (ใช้เป็นคำเชื่อมระหว่างวลี หรืออนุประโยค คล้าย that ในภาษาอังกฤษ) เช่น Ich rechne damit, daß er mich heute anruft. ฉันคาดว่า เขาจะโทรมาหาฉันวันนี้ |
dem | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามเพศชาย der, และเพศกลาง das |
den | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) 1. ที่อยู่ในรูป Akkusativ สำหรับคำนามเพศชาย der เช่น für den Mann สำหรับผู้ชายคนนั้น 2. ที่อยู่ในรูป Dativ สำหรับคำนามพหูพจน์เพศใดๆ เช่น mit den Männern กับผู้ชายเหล่านั้น |
der | (artikel) คำนำหน้านามเพศชายที่เฉพาะเจาะจง (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) ที่อยู่ในรูปประธาน |
der | (artikel) คำนำหน้านามเพศหญิงที่เฉพาะเจาะจงที่อยู่ในรูป Dativ (คล้าย the ในภาษาอังกฤษ) เช่น an der Tür ตรงประตู (Tür เป็นเพศหญิง) |
die | (artikel) คำนำหน้านามที่เฉพาะเจาะจงสำหรับเพศหญิง หรือพหูพจน์ (เหมือน the ในภาษาอังกฤษ), See also: der, das |
ist | เป็น อยู่ คือ (คล้าย is ในภาษาอังกฤษ), See also: sein |
lassen | ยอมให้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาช่วย) |
lassen | วางไว้ ปล่อยไว้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาแท้) | ließ, gelassen | |
mehr | มากกว่า (คล้าย more ในภาษาอังกฤษ) |
mit | ด้วย (คล้าย with ในภาษาอังกฤษ) |
ob | ว่าจะ-หรือไม่ คล้าย if หรือ whether ในภาษาอังกฤษ |
sich | reflexive pronoun คล้าย himself ในภาษาอังกฤษ |
sind | เป็น อยู่ คือ (คล้าย are ในภาษาอังกฤษ), See also: sein |
von | ของ, จาก (คล้าย from ของอังกฤษ) |
war | เป็น อยู่ คือ (คล้าย was ในภาษาอังกฤษ), See also: sein |
wir | เรา (คล้าย we ในภาษาอังกฤษ) |
wurde | จะ (คล้าย would ของภาษาอังกฤษ), See also: wurden |
wurden | จะ (คล้าย would ในภาษาอังกฤษ) |
Scheisse! | (n, slang) เป็นคำด่า หรือ คำบ่น เวลาอะไรไม่ดี คล้ายกับ shit ในภาษาอังกฤษ ความหมายตรงตัวคือ อุจจาระ |
Kumpel | (n) |der, pl. Kumpel| เพื่อนสนิท, คู่ซี้ (ความหมายคล้ายกับคำ buddy ในภาษาอังกฤษ) |
Verdammt noch mal! | (phrase) เป็นคำด่า, สาบแช่ง (ค่อนข้างหยาบ) เทียบได้กับภาษาอังกฤษว่า Damn it! |
Ach! | (phrase) คำแสดงความตกใจ หรือประหลาดใจ คล้ายกับ เหรอ! ฮ้า! (เทียบได้ประมาณ Oh! ในภาษาอังกฤษ) |
weltweit | (adj, adv) ทั่วโลก, ที่มีอยู่ทั่วโลก เช่น Englisch wird weltweit gesprochen. ภาษาอังกฤษถูกใช้ไปทั่วโลก |
England | (uniq) |คำนามเฉพาะ ถูกใช้ไม่ระบุ Artikel| ประเทศอังกฤษ, See also: Related: englisch |
Englisch | (n) |das| ภาษาอังกฤษ |
englisch | (adj) ที่เกี่ยวกับอังกฤษ เช่น englischer Tee ชาอังกฤษ, englische Bücher หนังสือภาษาอังกฤษ |
Engländer | (n) |der, pl. Engländer| ชาวอังกฤษ, See also: Related: die Engländerin/pl. -nen |