เคราะห์ | (n) fate, See also: luck, fortune, chance, Syn. โชค, ชะตา, โชคชะตา, Example: หมอดูทำนายว่าจะมีเคราะห์ ควรจะต้องไปสะเดาะเคราะห์ด้วยการทำบุญ, Thai Definition: สิ่งที่นำผลมาให้โดยไม่ได้คาดหมาย เช่น เคราะห์ดี เคราะห์ร้าย, มักนิยมใช้ในทางไม่ดี เช่น มีเคราะห์ ฟาดเคราะห์ |
นพเคราะห์ | (n) planet, See also: nine celestial bodies, Syn. นวเคราะห์, Count Unit: ดวง, Thai Definition: ดาวพระเคราะห์ทั้ง 9 คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ, Notes: (โหราศาสตร์) |
พิเคราะห์ | (v) consider, See also: analyze, ponder, deliberate, cogitate, reflect, Syn. วิเคราะห์, พินิจ, พิจารณา, Example: เขาพิเคราะห์ดูเอกสารทุกหน้าอย่างถี่ถ้วนก่อนที่จะลงชื่อ, Thai Definition: ใคร่ครวญหรือพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ |
วิเคราะห์ | (v) analyze, See also: contemplate, consider, Syn. พินิจพิจารณา, Example: การจับคนมาขึ้นเขียงเพื่อวิเคราะห์นั้น เราอาจจะทำได้หลายแง่หลายมุม, Thai Definition: พิจารณาอย่างละเอียด |
สงเคราะห์ | (v) support, See also: assist, back up, Syn. ช่วยเหลือ, อนุเคราะห์, เกื้อหนุน, สนับสนุน |
สงเคราะห์ | (v) aid, See also: help, give a helping hand, assist, support, subsidize, Syn. อุดหนุน, ช่วยเหลือ, Example: ลุงอยากให้เขาสอบได้ หนูดวงช่วยสงเคราะห์ทีเถอะ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
เคราะห์ดี | (v) be lucky, See also: be fortunate, Syn. โชคดี, โชค, Ant. เคราะห์ร้าย, Example: คนเจ็บเคราะห์ดีเพราะมีผู้บริจาคโลหิตช่วยชีวิตไว้ได้ |
เคราะห์ดี | (adj) lucky, See also: fortunate, Example: ลูกชาวบ้านถ้ามีโอกาสได้เรียนหนังสือที่วัดก็จัดว่าเป็นเด็กเคราะห์ดี |
เคราะห์ดี | (n) luck, See also: fortunateness, luckiness, good luck, good fortune, Syn. โชคดี, โชค, Ant. เคราะห์ร้าย, Example: ท่านบอกว่าเคราะห์ดี เคราะห์ร้ายเกิดจากการกระทำของตนเอง |
ดาวเคราะห์ | (n) planet, Syn. ดาวพระเคราะห์, ดาวนพเคราะห์, Example: ดาวเคราะห์ทุกดวงเคลื่อนที่ไปตามวงรี, Thai Definition: ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มี 9 ดวง คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune) ยม (Pluto) |
บาปเคราะห์ | (n) misfortune, See also: bad luck, adversity, Syn. โชคร้าย, เคราะห์, เคราะห์กรรม, เคราะห์ร้าย, Ant. โชคดี, เคราะห์ดี, Example: นึกไม่ถึงว่าบ้านเมืองจะถึงคราวที่ต้องประสบบาปเคราะห์ร้ายแรงเช่นนี้, Thai Definition: สิ่งร้ายที่นำผลมาให้โดยมิได้คาดหมาย |
พระเคราะห์ | (n) planet, See also: star, Syn. ดาวนพเคราะห์, ดาวพระเคราะห์, Ant. ดาวฤกษ์, Example: โหรจะทำนายทายทักโชคชะตาราศีโดยใช้วิถีการโคจรของพระเคราะห์เป็นหลัก, Count Unit: ดวง, Thai Definition: ดาวพระเคราะห์ทั้ง 9 คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ, Notes: (โหราศาสตร์) |
ฟาดเคราะห์ | (v) drive off bad luck, See also: dispel misfortune, Example: เธอฟาดเคราะห์ไปด้วยเงิน 20, 000 บาทเชียวหรือ เฮ้อ! ฉันเสียดายแทนจริงๆ, Thai Definition: ตัดใจยอมเสียสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปเพื่อให้หมดเคราะห์, สละสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เคราะห์สูญหายไป |
รับเคราะห์ | (v) suffer, See also: have misfortunes, Example: คนไทยใช้ตุ๊กตาเสียกบาลเป็นเครื่องบวงสรวงสะเดาะเคราะห์ หรือทำขึ้น เพื่อรับเคราะห์แทนตน |
ศุภเคราะห์ | (n) auspicious planet or lucky star which means an auspicious day or moment, See also: lucky planet, auspicious sign, auspicious time, lucky day, Syn. คราวมงคล, คราวดี, โอกาสดี, Notes: (สันสกฤต) |
สังเคราะห์ | (n) synthesis |
สังเคราะห์ | (v) synthesize, Example: สีส่วนมากที่ใช้กันในปัจจุบันมักเป็นสีที่สังเคราะห์ขึ้นโดยกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์, Thai Definition: ทำให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทำให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น, Notes: (เคมี) |
สังเคราะห์ | (adj) synthetic, Example: ยาเสพย์ติดสังเคราะห์เป็นยาเสพย์ติดที่ผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีทางเคมีในห้องทดลอง, Thai Definition: ที่สร้างขึ้นโดยกรรมวิธีทางเคมี, Notes: (เคมี) |
อนุเคราะห์ | (v) help, See also: assist, aid, favor, do a good turn, Syn. ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, เอื้อเฟื้อ, สนับสนุน, Example: เขามีสปอนเซอร์รายใหญ่อนุเคราะห์เรื่องเครื่องแต่งกาย |
โชคเคราะห์ | (n) luck, See also: fortune, fate, lot, destiny, Syn. ชะตากรรม, Example: เขาเชื่อว่าการกระทำนี้เป็นการซัดทอดโชคเคราะห์ไปให้สิ่งอื่นนอกเหนือไปจากตัวเขา, Thai Definition: สิ่งที่ก่อให้เกิดลักษณะเหตุดีหรือชั่ว ที่ผ่านเข้ามาในการดำเนินชีวิต |
คราวเคราะห์ | (n) misfortune, See also: bad luck, adversity, hard luck, ill luck, infelicity, Syn. คราวซวย, คราวร้าย, Ant. คราวดี, Example: อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝันนั้นเป็นคราวเคราะห์ของผู้ประสบซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้, Thai Definition: คราวที่โชคร้าย |
บทวิเคราะห์ | (n) review, See also: critic, Example: บทวิเคราะห์การเมืองในหนังสือพิมพ์ฉบับนี้วิเคราะห์ได้ละเอียดมาก, Count Unit: บท, Thai Definition: ส่วนที่เป็นการพิจารณาวิเคราะห์ |
เคราะห์กรรม | (n) destiny, See also: karma, fortune, fate, lot, Syn. ชะตากรรม, โชคชะตา, Example: เราควรมีความเห็นอกเห็นใจแก่ผู้ที่ประสบเคราะห์กรรมหรือปัญหาต่างๆ |
เคราะห์ร้าย | (n) misfortune, See also: unfortunate, adversity, bad luck, misadventure, mischance, Syn. โชคร้าย, อัปมงคล, ซวย, เคราะห์, Ant. โชคดี, เคราะห์ดี, มงคล, Example: หมอดูทายฉันว่าจะมีเคราะห์ร้ายเร็วๆ นี้, Thai Definition: โชคไม่ดี, ชะตาไม่ดี |
เคราะห์ร้าย | (v) be unlucky, See also: be unfortunate, be ill-fated, be ill-fortuned, Syn. โชคร้าย, อัปมงคล, ซวย, เคราะห์, Ant. โชคดี, เคราะห์ดี, มงคล, Example: หมู่นี้ฉันเคราะห์ร้ายเต็มทนต้องไปรดน้ำมนต์เสียบ้าง, Thai Definition: โชคไม่ดี, ชะตาไม่ดี |
การพิเคราะห์ | (n) analysis, See also: examination, scrutiny, perusal, consideration, deliberation, Syn. การใคร่ครวญ, การวิเคราะห์, การคิด, การไตร่ตรอง, การใช้เหตุผล, การพิจารณา |
จิตวิเคราะห์ | (n) psychoanalysis, Example: ฟรอยด์ใช้หลักจิตวิเคราะห์อธิบายพฤติกรรมของเด็กวัยรุ่นตอนต้น, Thai Definition: ทฤษฎีที่อธิบายพัฒนาการของมนุษย์ตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยผู้ใหญ่ ในด้านลักษณะความขัดแย้งของแรงจูงใจ และปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต |
ดาวนพเคราะห์ | (n) planet, Syn. ดาวพระเคราะห์, ดาวเคราะห์, Example: มีการส่งยานอวกาศไปสำรวจดาวนพเคราะห์ต่างๆ, Count Unit: ดวง |
นักวิเคราะห์ | (n) analyst, Example: ในอนาคตบริษัทของเราจะจ้างนักวิเคราะห์เกี่ยวกับระบบอีกสามคน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ทำการวิเคราะห์, ผู้เชี่ยวชาญในการวิเคระห์ |
นามสงเคราะห์ | (n) glossary, See also: vocabulary, Syn. อภิธาน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือที่รวบรวมคำพูดไว้, Notes: (สันสกฤต) |
นามสงเคราะห์ | (n) directory, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดรายชื่อพร้อมทั้งที่อยู่หรือที่ทำงานของบุคคล, Notes: (สันสกฤต) |
สุริยเคราะห์ | (n) solar eclipse, Syn. สุริยุปราคา, สุริยอุปราคา, สุริยคราส, Example: นักดาราศาสตร์ทำนายว่าจะเกิดสุริยเคราะห์ในปีหน้า, Count Unit: ครั้ง, Thai Definition: ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก โคจรมาอยู่ในแนวเดียวกัน ดวงจันทร์จึงบังแสงอาทิตย์ที่ส่องมายังโลก เป็นเหตุให้เห็นดวงอาทิตย์มืดเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด |
ใยสังเคราะห์ | (n) synthetic fabrics |
ดาวพระเคราะห์ | (n) planet, Syn. ดาวเคราะห์, ดาวนพเคราะห์, Example: นักดาราศาสตร์โบราณได้ให้ชื่อชั่วโมงของวันตามดาวพระเคราะห์ 7 ดวง |
ผู้รับเคราะห์ | (n) victim, See also: casualty, Example: ถ้ารัฐบาลทำอะไรแล้วขาดทุน ประชาชนก็จะเป็นผู้รับเคราะห์แทนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่ได้รับผลร้ายหรือเรื่องไม่ดีโดยไม่ได้คาดหมายหรือไม่ได้เป็นผู้ก่อเรื่องนั้นขึ้น |
สถานสงเคราะห์ | (n) foster home, Example: โรงพยาบาลต้องแยกเด็กแรกเกิดที่ติดเชื้อไปให้สถานสงเคราะห์ดูแลต่อไป, Count Unit: แห่ง, ที่, Thai Definition: สถานที่ซึ่งช่วยเหลือหรือรับอุปการะผู้ที่มีความเดือดร้อน |
สถานสงเคราะห์ | (n) welfare |
สะเดาะเคราะห์ | (v) exorcise |
สะเดาะเคราะห์ | (v) change one's bad fortune through a ceremony, See also: remove one's bad luck with a ceremony, Example: คนไทยมีความเชื่อว่า ถ้าใครมีเคราะห์ ก็ต้องให้พระรดน้ำมนต์ให้ เพื่อสะเดาะเคราะห์, Thai Definition: ทำพิธีผ่อนคลายไม่ให้เกิดโชคร้าย |
สะเดาะเคราะห์ | (v) change one's bad fortune through a ceremony, See also: remove one's bad luck with a ceremony, Example: คนไทยมีความเชื่อว่า ถ้าใครมีเคราะห์ ก็ต้องให้พระรดน้ำมนต์ให้ เพื่อสะเดาะเคราะห์, Thai Definition: ทำพิธีผ่อนคลายไม่ให้เกิดโชคร้าย |
สังเคราะห์แสง | (v) photosynthesize, Example: ต้นข้าวมีใบไว้สังเคราะห์แสง เพื่อเปลี่ยนแร่ธาตุอาหารน้ำและคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นแป้งเพื่อใช้ในการเจริญเติบโต, Thai Definition: กระบวนการที่พืชสร้างคาร์โบไฮเดรตโดยรวมกับคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำ เมื่อมีแสงกับคลอโรฟิลล์ |
กริยานุเคราะห์ | (n) auxiliary verb, Syn. กริยาช่วย, Example: คำว่า คงจะ เป็นกริยานุเคราะห์, Thai Definition: คำในหมวดกริยาที่ใช้ประกอบกริยาอื่น เช่น จะ คง |
ความอนุเคราะห์ | (v) assistance, See also: help, aid, favour, benevolence, Syn. ความช่วยเหลือ, ความเอื้อเฟื้อ, ความเกื้อหนุน, ความเจือจุน, Example: วงโยธวาทิต โรงเรียนเทพบดินทร์วิทยาเริ่มก่อตั้งเมื่อ ปี 2537 โดยได้รับความอนุเคราะห์สนับสนุนจากหลายท่าน |
ประชาสงเคราะห์ | (n) public welfare, See also: social services, Example: ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อนได้รับความช่วยเหลือจากกรมประชาสงเคราะห์, Thai Definition: การช่วยเหลือในด้านสวัสดิการ เช่นการบรรเทาทุกข์ผู้ประสบสาธารณภัยที่รัฐให้แก่ประชาชนที่ตกทุกข์ได้ยาก |
ผลการวิเคราะห์ | (n) analysis result, Syn. ผลวิจัย, Example: จากผลการวิเคราะห์ พบว่าการโคจรของดาวเทียมทำให้เรามีสื่อสารที่ก้าวหน้ามากขึ้น, Thai Definition: ผลลัพธ์ที่ได้จากการค้นคว้า ศึกษาข้อมูลอย่างมีระบบ |
พินิจพิเคราะห์ | (v) examine, See also: peruse, scrutinize, study, investigate, explore, Syn. พิจารณา, วิเคราะห์, พินิจพิจารณา, Example: คณะกรรมการต้องพินิจพิเคราะห์สิ่งประดิษฐ์ที่ส่งเข้าประกวดอย่างละเอียดถี่ถ้วน, Thai Definition: พิจารณาใคร่ครวญดูอย่างละเอียด |
สังคมสงเคราะห์ | (n) social work, See also: social welfare, Example: ชุมชนควรจัดการบริการสังคมสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือบิดามารดาที่ไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตรเพราะต้องออกทำหากิน, Thai Definition: การดำเนินงานเพื่อช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้ |
อาคารสงเคราะห์ | (n) housing, See also: housing project, Syn. ที่อยู่อาศัย, ที่พักอาศัย, Count Unit: แห่ง, ที่ |
การวิเคราะห์งาน | (n) analysis, Example: การวิเคราะห์งานในแต่ละขั้นตอนต้องทำอย่างละเอียด |
นักจิตวิเคราะห์ | (n) psychoanalysis, Example: นักจิตวิเคราะห์ถือว่าความฝันเป็นสิ่งสะท้อนถึงจิตในส่วนลึกทั้งความสุขและความทุกข์, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ชำนาญการในด้านวิเคราะห์จิตใจตามหลักจิตวิทยา |
กริยานุเคราะห์ | น. กริยาที่ใช้ช่วยกริยาอื่น เช่น คง จะ ถูก น่า, กริยาช่วย ก็ว่า. |
การฌาปนกิจสงเคราะห์ | น. กิจการที่บุคคลหลายคนตกลงเข้าร่วมกันเพื่อทำการสงเคราะห์ซึ่งกันและกันในการจัดการศพ หรือจัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ตกลงเข้าร่วมกันนั้นซึ่งถึงแก่ความตาย และมิได้ประสงค์จะหากำไรหรือรายได้เพื่อแบ่งปันกัน. |
เคราะห์ ๑ | (เคฺราะ) น. เรียกดาวเฉพาะ ๙ ดวง เรียงตามลำดับมหาทักษา คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ ซึ่งถือกันว่ามีเทวดาประจำแต่ละดวง ว่า ดาวพระเคราะห์, เรียกดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ ดวงอย่างรวม ๆ ว่า ดาวนพเคราะห์ ถือว่าเป็นดาวที่ยึดโชคของคน |
เคราะห์ ๑ | สิ่งที่นำผลมาให้โดยไม่ได้คาดหมาย เช่น เคราะห์ดี เคราะห์ร้าย, มักนิยมใช้ในทางไม่ดี เช่น มีเคราะห์ ฟาดเคราะห์. |
เคราะห์ซ้ำกรรมซัด | ก. มีเคราะห์กรรม. |
เคราะห์หามยามร้าย | น. เคราะห์ร้าย. |
เคราะห์ ๒ | (เคฺราะ) น. เรียกดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ ว่า ดาวเคราะห์ มี ๘ ดวง เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ออกไป คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune). |
โครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานข้อเสนอและแนวทางให้หน่วยงานเอกชนรับไปดำเนินงานและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เช่น โครงการพัฒนาหมู่บ้านสหกรณ์เนินดินแดง อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. |
ฌาปนกิจสงเคราะห์ | ดู การฌาปนกิจสงเคราะห์. |
ดาวเคราะห์ | น. ดาวที่ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง ต้องได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ และเป็นบริวารโคจรรอบดวงอาทิตย์ มี ๘ ดวง คือ พุธ (Mercury) ศุกร์ (Venus) โลก (Earth) อังคาร (Mars) พฤหัสบดี (Jupiter) เสาร์ (Saturn) มฤตยู (Uranus) สมุทร (Neptune) มองจากโลกจะเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพียง ๕ ดวง คือ พุธ ศุกร์ อังคาร พฤหัสบดี และเสาร์. |
ดาวนพเคราะห์ | น. ดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. |
ดาวพระเคราะห์ | น. ดาว ๙ ดวงที่ใช้ในทางโหราศาสตร์ ได้แก่ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. |
นพเคราะห์ | (นบพะเคฺราะ) น. ดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. |
นวครหะ, นวเคราะห์ | (-คฺระหะ, -เคฺราะ) น. นพเคราะห์, ดาวพระเคราะห์ทั้ง ๙ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ เกตุ. |
นามสงเคราะห์ | (นามมะสง-, นามสง-) น. อภิธาน |
นามสงเคราะห์ | สมุดรายชื่อพร้อมทั้งที่อยู่หรือที่ทำงานของบุคคล. |
นิเคราะห์ | น. นิคหะ, การข่ม, การกล่าวโทษ, การปราบปราม, ตรงข้ามกับ ประเคราะห์ ซึ่งแปลว่า การยกย่อง, การเชิดชู. |
บัตรนพเคราะห์ | ดู บัตรพลี. |
บาปเคราะห์ | (บาบปะ-) ว. เคราะห์ร้าย. |
บาปเคราะห์ | (บาบปะ-) น. ดาวพระเคราะห์ที่ให้โทษ เช่น พระราหู. |
ประเคราะห์ | น. ความเพียรที่แก่กล้า |
ประเคราะห์ | การยกย่อง, การเชิดชู, ตรงข้ามกับ นิเคราะห์ ซึ่งแปลว่า การข่ม, การกล่าวโทษ, การปราบปราม. |
ประเคราะห์ | ก. ยกย่อง, ประคับประคอง. |
ประชาสงเคราะห์ | น. การช่วยเหลือในด้านสวัสดิการ เช่นการบรรเทาทุกข์ผู้ประสบสาธารณภัยที่รัฐให้แก่ประชาชนที่ตกทุกข์ได้ยาก. |
ปาณิเคราะห์ | น. การจับเจ้าสาวด้วยมือ คือ การแต่งงาน. |
พระเคราะห์ | น. ดาวพระเคราะห์. |
พิเคราะห์ | ก. ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, พิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบคอบ. |
ฟาดเคราะห์ | ก. ทำพิธีปัดสิ่งชั่วร้ายให้ไปจากตัว, สละสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อให้เคราะห์สูญหายไป |
ฟาดเคราะห์ | ตัดใจยอมเสียสิ่งใดสิ่งหนึ่งไปเพื่อให้หมดเคราะห์ หรือตัดใจคิดว่าสิ่งที่เสียไปแล้วเป็นการทำให้หมดเคราะห์ ในความเช่น นึกว่าฟาดเคราะห์. |
รับเคราะห์ | ก. รับเอาเคราะห์ร้ายของผู้อื่นมาเป็นของตนจะโดยเต็มใจหรือไม่ก็ตาม เช่น ลูกน้องรับเคราะห์แทนเจ้านาย. |
รับพระเคราะห์ | ก. ทำพิธีรับเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่จะมาเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์. |
เรขาคณิตวิเคราะห์ | น. เรขาคณิตที่ใช้สมการมาควบคุมเซตของจุดที่เรียงกันเป็นรูปทรงต่าง ๆ แล้วอนุมานผลลัพธ์จากการแก้สมการนั้น ๆ พร้อมทั้งการแปลความหมายด้วย. |
วิเคราะห์ | ก. ใคร่ครวญ เช่น วิเคราะห์เหตุการณ์ |
วิเคราะห์ | แยกออกเป็นส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ เช่น วิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ วิเคราะห์ข่าว. |
ศศิเคราะห์ | น. จันทรคราส. |
ศุภเคราะห์ | น. คราวมงคล, คราวดี, ทางโหราศาสตร์หมายเอาดาวพระเคราะห์ที่ให้คุณ คือ จันทร์ พุธ พฤหัสบดี ศุกร์. |
ส่งพระเคราะห์ | ก. ทำพิธีส่งเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่กำลังจะสิ้นสุดการเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์. |
สงเคราะห์ | (-เคฺราะ) น. การช่วยเหลือ, การอุดหนุน, เช่น ฌาปนกิจสงเคราะห์ |
สงเคราะห์ | การรวบรวม เช่น หนังสือนามสงเคราะห์. |
สงเคราะห์ | (-เคฺราะ) ก. อุดหนุน เช่น สงเคราะห์เด็กกำพร้า. |
สถานธนานุเคราะห์ | น. โรงรับจำนำของกรมประชาสงเคราะห์. |
สังคมสงเคราะห์ | (สังคมสงเคฺราะ) น. การดำเนินงานเพื่อช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้. |
สังเคราะห์ | ก. ทำให้ธาตุมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบ, ทำให้สารประกอบมีปฏิกิริยาเคมีกันเป็นสารประกอบอื่น. |
สังเคราะห์ | ว. ที่สร้างขึ้นโดยกรรมวิธีทางเคมี เช่น ใยสังเคราะห์. |
สัตยาเคราะห์ | น. การยึดความจริงเป็นหลักการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคม โดยใช้วิธีดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งที่ไม่ยุติธรรม แต่ไม่ใช้วิธีรุนแรง. |
สัตยาเคราะห์ | ดู สัตย-, สัตย์. |
สัปตเคราะห์ | น. ชื่อเทวดาประจำวันทั้ง ๗ ได้แก่ พระอาทิตย์ พระจันทร์ พระอังคาร พระพุทธ พระพฤหัสบดี พระศุกร์ พระเสาร์. |
สุริยเคราะห์ | น. สุริยคราส. |
หมดเคราะห์ | ก. สิ้นเคราะห์กรรมที่เลวร้าย. |
อนุเคราะห์ | ก. เอื้อเฟื้อ, ช่วยเหลือ. |
Classification | การวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Content analysis | การวิเคราะห์เนื้อหา , การวิเคราะห์เนื้อหา, Example: Content analysis หมายถึง การวิเคราะห์เนื้อหา เป็นวิธีการในทางสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษาเนื้อหาของการสื่อสาร โดยการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาหรือแนวคิดที่ปรากฏในตำรา หนังสือ เอกสาร ข่าวสาร สื่อสิ่งพิมพ์ บทสนทนา หรือรูปภาพ วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ เนื้อหาเพื่อผลิตสื่อการสอน โดยผู้สอนมักมีวัตถุประสงค์เพื่อแบ่งเนื้อหาทำให้ทราบโครงสร้าง ลำดับของเนื้อหา และขอบเขตเนื้อหาอย่างละเอียด รวมทั้งทำให้ผู้สอนเห็นการเปลี่ยนแปลงของเนื้อหาในแต่ละช่วงเวลาที่ทำการวิเคราะห์ด้วย และผลจากการแยกแยะแจกแจงเนื้อหาช่วยให้สามารถแบ่งเนื้อหาวิชาออกเป็นหัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยและหัวข้อย่อย สำหรับหน่วยในการวิเคราะห์ เพื่อใช้แสดงปริมาณของการวิเคราะห์ จึงมักวิเคราะห์ออกมาเป็น หัวเรื่อง หัวเรื่องย่อยหัวข้อย่อย รวมทั้งปริมาณ เช่น จำนวนแนวคิด จำนวนหน้า เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
System analysis | การวิเคราะห์ระบบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Classification, Dewey Decimal | การวิเคราะห์หนังสือระบบทศนิยมดิวอี้, Example: ระบบทศนิยมดิวอี้ (Dewey Decimal Classification Syste, - DDC หรือ DC) เป็นระบบการจัดหมู่หนังสือที่เก่าแก่และนิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ผู้คิดระบบทศนิยมดิวอี้ คือ เมลวิล ดิวอี้ (Melvil Dewey) บรรณารักษ์ชาวอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1873 และจัดพิมพ์เป็นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1876 ใช้ชื่อว่า A Classicification and Subject Index for Cataloging and Arranging Books and Pamphlets of a Library โดยครอบคลุมการแบ่งย่อยเนื้อหาวิชาจากเรื่องกว้างๆ ไปจนถึงเนื้อเรื่องเฉพาะ นอกเหนือจากฉบับพิมพ์แล้ว ปัจจุบันคือ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 22 ยังมีเป็นแบบออนไลน์อีกด้วย <p> <p> ลักษณะทั่วไปของระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 1. ระบบทศนิยมดิวอี้ เป็นระบบที่คิดขึ้นโดยการแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นหมวดหมู่ตามหลักทฤษฎี (Theoretical systems) กล่าวคือ กำหนดการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ในแต่ละหมวดหมู่ โดยคำนึงถึงลำดับพัฒนาการของการเกิดวิชาความรู้ในแต่ละสาขาเป็นสำคัญ เริ่มจาก <p> - ปรัชญา: เป็นเนื้อหาความรู้แรก เป็นเรื่องที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับตน คือใคร มาจากไหน ความดีหรือความชั่ว คืออะไร เป็นอย่างไร <p> - ศาสนา: เป็นวิชาที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับพระเจ้า พระเจ้าคือใคร จะช่วยให้มนุษย์หลุดพ้นจากความทุกข์ได้อย่างไร <p> - สังคมศาสตร์: ถัดจากคิดเกี่ยวกับตัวเอง คือ การที่มนุษย์คิดเกี่ยวกับบุคคลอื่น การอยู่ร่วมกันต้องมีการคิดถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับผู้อื่น <p> - ภาษา: การที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม จึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับถ้อยคำและการสื่อสารเพื่อการติดต่อ สมาคม <p> - วิทยาศาสตร์: มนุษย์คิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นปรากฏการณ์ในธรรมชาติ ทำไมจึงเกิด มีการคิด พิสูจน์ ได้ข้อเท็จจริงที่อธิบายปรากฏารณ์ต่างๆ และบันทึกข้อเท็จจริงนั้นๆ ไว้ <p> - วิทยาศาสตร์ประยุกต์ หรือเทคโนโลยี: เมื่อมนุษย์นำความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดความสุขสบาย <p> - ศิลปะและนันทนาการ: มนุษย์คิดสร้างสรรค์จากความประทับใจของตนเป็นงานเชิงศิลปะ ดนตรี และความบันเทิง <p> - วรรณกรรมหรือวรรณคดี: งานศิลปะที่สร้างขึ้นถูกมนุษย์นำมาถ่ายทอด และบอกเล่าผ่านทางตัวอักษร <p> - ประวัติศาสตร์: มนุษย์บันทึกเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับคน สถานที่ เหตุการณ์เอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้ <p> - ความรู้ทั่วไปหรือเบ็ดเตล็ด: การเอาความรู้อื่นๆ ที่ไม่อาจจัดไว้ในหมวดหมู่อื่นได้ มารวมไว้ด้วยกัน <p> 2. จัดแบ่งหมวดวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วๆ ไป สู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้น แบ่งออกเป็นชั้น ชั้นละ 10 กลุ่ม จากหมวดใหญ่ไปหาหมวดหมู่ย่อย ดังนี้ <p> 2.1 การแบ่งครั้งที่ 1 (First Summary) คือ แบ่งวิชาความรู้ทุกแขนงวิชาของมนุษยชาติออกเป็นหมวดใหญ่ (Main class) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักร้อย 0-9 เป็นสัญลักษณ์แทนวิชาความรู้ทั้ง 10 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และ ความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 100 ปรัชญาและจิตวิทยา (Philosophy and psychology) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 300 สังคมศาสตร์ (Social sciences) <p> 400 ภาษา (Languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Science) <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology and applied science) <p> 700 ศิลปะและนันทนาการ (Arts and recreation) <p> 800 วรรณคดี (Literature) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และชีวประวัติ (History, geography and biography) <p> 2.2 การแบ่งครั้งที่ 2 (Second Summary) คือ การแบ่งหมวดวิชาความรู้หมวดใหญ่แต่ละหมวดออกเป็นหมวดย่อย (Division) 10 หมวด ใช้เลขอารบิกหลักสิบ 0-9 แทนความรู้หมวดย่อย เช่น หมวดใหญ่ 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ แบ่งเป็นหมวดย่อย 10 หมวด คือ <p> 600 เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (Technology (Applied sciences) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences) <p> 620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ (Home economics) <p> 650 การจัดการ (Management) <p> 660 อุตสาหกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อการใช้เฉพาะอย่าง (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> ดังนั้น หมวดใหญ่ 10 หมวดจึงแบ่งเป็นหมวดย่อยได้ 100 หมวด ดังนี้ <p> 000 วิทยาการคอมพิวเตอร์และความรู้ทั่วไป (Computer science, information & general works) <p> 010 บรรณานุกรม (Bibliographies) <p> 020 บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (Library & information sciences) <p>030 หนังสือรวบรวมความรู้ทั่วไป สารานุกรม (Encyclopedias & books of facts) <p> 040 ยังไม่กำหนดใช้ (No longer used) <p> 050 นิตยสาร วารสาร และสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Magazines, journals & serials) <p> 060 สมาคม องค์การและพิพิธภัณฑวิทยา (Associations, organizations & museums) <p> 070 สื่อใหม่ วารสารศาสตร์ และการพิมพ์ (News media, journalism & publishing) <p>080 รวมเรื่อง (General collections) <p> 090 ต้นฉบับตัวเขียน หนังสือหายาก (Manuscripts & rare books) <p> 100 ปรัชญา (Philosophy) <p> 110 อภิปรัชญา (Metaphysics) <p> 120 ญาณวิทยา ความเป็นเหตุผล ความเป็นมนุษย์ (Epistemology, causation, humankind) <p> 130 จิตวิทยานามธรรม (Paranormal phenomena) <p> 140 แนวความคิดปรัชญาเฉพาะกลุ่ม (Specific philosophical schools) <p> 150 จิตวิทยา (Psychology) <p> 160 ตรรกศาสตร์ ตรรกวิทยา (Logic) <p> 170 จริยศาสตร์ ศีลธรรม (Ethics (Moral philosophy)) <p> 180 ปรัชญาสมัยโบราณ สมัยกลาง ตะวันออก (Ancient, medieval, Oriental philosophy) <p> 190 ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่ (Modern Western philosophy (19th-century, 20th-century)) <p> 200 ศาสนา (Religion) <p> 210 ศาสนาธรรมชาติ (Natural theology) <p> 220 ไบเบิล (Bible) <p> 230 เทววิทยาตามแนวคิดคริสต์ศาสนา (Christian theology) <p> 240 ศีลธรรมชาวคริสต์ การอุทิศเพื่อศาสนา (Christian moral & devotional theology) <p> 250 คริสต์ศาสนาในท้องถิ่นและระเบียบแบบแผนปฏิบัติ (Christian orders & local church) <p> 260 สังคมชาวคริสต์ เทววิทยาทางศาสนา (Christian social theology) <p> 270 ประวัติคริสต์ศาสนา (Christian church history) <p> 280 นิกายต่างๆ ในคริสต์ศาสนา (Christian denominations & sects) <p> 290 ศาสนาเปรียบเทียบและศาสนาอื่นๆ (Other & comparative religions) <p> 300 สังคมศาสตร์ สังคมวิทยา และ มนุษยวิทยา (Social sciences, Sociology & anthropology) <p> 310 สถิติศาสตร์ (General statistics) <p> 320 รัฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง (Political science) <p> 330 เศรษฐศาสตร์ (Economics) <p> 340 กฎหมาย (Law) <p> 350 รัฐประศาสนศาสตร์ และวิทยาการทหาร (Public administration) <p> 360 การบริการสังคม และสมาคม (Social services; assoication) <p> 370 การศึกษา (Education) <p> 380 การพาณิชย์ การสื่อสาร การขนส่ง (Commerce, communications, transport) <p>390 ประเพณี ขนบธรรมเนียม คติชนวิทยา (Customs, etiquette, folklore) <p> 400 ภาษา (Language) <p> 410 ภาษาศาสตร์ (Linguistics) <p> 420 ภาษาอังกฤษ (English & Old English) <p> 430 ภาษาเยอรมัน (Germanic languages; German) <p> 440 ภาษาโรมานซ์ ; ภาษาฝรั่งเศส (Romance languages; French) <p> 450 ภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romantic) <p> 460 ภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Protugese languages) <p> 470 ภาษาละติน (Italic languages; Latin) <p> 480 ภาษากรีก (Hellenic languages; Classical Greek) <p> 490 ภาษาอื่นๆ (Other languages) <p> 500 วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p> 510 คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> 520 ดาราศาสตร์ (Astronomy & allied sciences) <p> 530 ฟิสิกส์ (Physics) <p> 540 เคมี (Chemistry & allied sciences) <p> 550 วิทยาศาสตร์โลก (Earth sciences) <p> 560 บรรพชีวินวิทยา (Paleontology; Paleozoology) <p>570 ชีววิทยา (Life sciences) <p> 580 พฤกษศาสตร์ (Plants) <p>590 สัตววิทยา (Zoological sciences/Animals) <p> 600 วิทยาศาสตร์ประยุกต์ เทคโนโลยี (Technology (Applied sciences)) <p> 610 แพทยศาสตร์ (Medical sciences; Medicine) <p>620 วิศวกรรมศาสตร์ (Engineering & applied operations) <p> 630 เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p> 640 คหกรรมศาสตร์ ชีวิตครอบครัว (Home economics & family living) <p> 650 การจัดการธุรกิจ (Management & auxiliary services) <p> 660 วิศวกรรมเคมี (Chemical engineering) <p> 670 โรงงานอุตสาหกรรม (Manufacturing) <p> 680 สินค้าที่ผลิตจากเครื่องจักร (Manufacture for specific uses) <p> 690 การก่อสร้าง (Buildings) <p> 700 ศิลปกรรม การบันเทิง (Arts) <p> 710 ภูมิสถาปัตย์ (Civic & landscape art) <p> 720 สถาปัตยกรรม (Architecture) <p> 730 ประติมากรรม (Plastic arts; Sculture) <p> 740 การวาดเขียน มัณฑนศิลป์ (Drawing & decorative arts) <p> 750 จิตรกรรม ภาพเขียน (Painting & paintings) <p> 760 ศิลปะการพิมพ์ ศิลปะกราฟิก (Graphic arts; Printmaking & prints) <p> 770 การถ่ายรูป ภาพถ่าย (Photography & photographs) <p> 780 ดนตรี (Music) <p> 790 การบันเทิง นันทนาการ กีฬา (Recreational & performing arts) <p> 800 วรรณกรรม วรรณคดี (Literature) <p> 810 วรรณคดีอเมริกันในภาษาอังกฤษ (Literature rhetoric & criticism) <p> 820 วรรณคดีภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษโบราณ (English & Old English literatures) <p> 30 วรรณคดีภาษาเยอรมัน (Literatures of Germanic languages) <p> 840 วรรณคดีภาษาฝรั่งเศส ภาษาโรมานซ์ (Literatures of Romance languages) <p> 850 วรรณคดีภาษาอิตาลี ภาษาโรมัน (Italian, Romanian, Rhaeto-Romanic) <p> 860 วรรณคดีภาษาสเปน ภาษาโปรตุเกส (Spanish & Portugese literature) <p> 870 วรรณคดีภาษาละติน (Italic literature; Latin) <p> 880 วรรณคดีภาษากรีก (Hellenic literatures; Classical Greek) <p> 890 วรรณคดีภาษาอื่นๆ (Literatures of other languages) <p> 900 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ (History, geography & biography) <p> 910 ภูมิศาสตร์ การท่องเที่ยว (Geography & travel) <p> 920 ชีวประวัติ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ (Biography, genealogy, insignia) <p> 930 ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ (History of ancient world) <p> 940 ประวัติศาสตร์ยุโรป โลกตะวันตก (General history of Europe) <p> 950 ประวัติศาสตร์เอเชีย โลกตะวันออก (General history of Asia; Far East) <p> 960 ประวัติศาสตร์แอฟริกา (General history of Africa) <p> 970 ประวัติศาสตร์อเมริกาเหนือ (General history of North America) <p> 980 ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ (General history of South America) <p> 990 ประวัติศาสตร์ส่วนอื่นๆ ของโลก (General history of other areas) <p>จากหมวดย่อย 100 หมวด เลขตัวที่ 2 คือเลขหลักสิบของหมวดย่อยทั้ง 100 หมวด เป็นเลข 0-9 เหมือนๆ กัน เพราะหมวดใหญ่แต่ละหมวดแบ่งเป็น 10 หมวดย่อยเท่าๆ กัน ซึ่งเป็นหลักการขั้นพื้นฐานของระบบที่ใช้เลขฐาน 10 เป็นหลักในการแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้จากหมวดใหญ่ไปหมวดย่อย และเลขหมู่หมวดใหญ่แต่ละหมวด ต่างก็มีเนื้อหาครอบคลุมวิชาความรู้หมวดย่อยทุกหมวด เช่น หมวด 100 ครอบคลุมวิชาความรู้ในหมวด 110-190 <p> <p>2.3 การแบ่งครั้งที่ 3 (Third Summary) คือ การแบ่งวิชาความรู้ในหมวดย่อยแต่ละหมวดออกเป็นหมู่ย่อย (Section) 10 หมู่ย่อย ตัวอย่าง การแบ่งหมวดย่อย 630 <p> 630 เกษตรศาสตร์ <p> 631 เทคนิค อุปกรณ์ และวัสดุ (Techniques, equipment, materails) <p> 632 ความเสียหายของพืชอันเกิดจากเชื้อโรคและสัตว์ (Plant injuries, diseases, pests) <p> 633 การเพาะปลูกพืชไร่ (Field & plantation crops) <p> 634 การทำสวนผลไม้ ผลไม้ และป่าไม้ (Orchards, fruits, forestry) <p> 635 การทำสวนครัว (Garden crops (Horticulture)) <p> 636 สัตวบาล (Animal husbandry) <p> 637 อุตสาหกรรมนมเนย (Processing dairy & related products) <p> 638 การเพาะเลี้ยงแมลง (Insect culture) <p> 639 การล่าสัตว์ การตกปลา การอนุรักษ์ (Hunting, fishing, comservation) <p> ในแต่ละหมู่ย่อย ยังแบ่งวิชาความรู้ออกไปสู่เรื่องที่เฉพาะมากขึ้นได้อีก โดยการกระจายเลขหลังจุดทศนิยมต่อจากเลข 3 หลักดังกล่าว เช่น <p> หมวด 600 Technology (Applied sciences) เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ประยุกต์ <p> 610 Medical sciences Medicine (การแพทย์) <p> 611 Human anatomy, cytology, tissues (กายวิภาคศาสตร์ เนื้อเยื่อ) <p> 630 Agriculture & related technologies (การเกษตรและเทคโนโลยีการเกษตร) <p> 631 Crops & their production (พืชและผลิตผล) <p> 632 Plant injuries, diseases, pests (โรคพืช แมลงศัตรูพืช) <p> 633 Field crops (พืชไร่) <p> 634 Orchards, fruits, forestry (ผลไม้และการทำป่าไม้) <p> .9 Forestry (การทำป่าไม้) <p> .92 Forest economy (ไม้เศรษฐกิจ) <p> .928 Management (การจัดการ) <p> .956 Forestation (การเพาะพันธุ์) <p> .9562 Seeds, seed collecting, seeding (เมล็ดพันธุ์) <p> ตัวอย่าง หนังสือ เรื่อง การปลูกพืชด้วยเมล็ด เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 634.9562 <p> พจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน เลขหมู่ที่กำหนดได้ คือ 495.913 <p> ระบบทศนิยมดิวอี้มีตารางช่วย (Auxiliary tables) ซึ่งเป็นตารางย่อยใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หนังสือ เพื่อระบุลักษณะเฉพาะของหนังสือมากยิ่งขึ้น ว่าเนื้อเรื่องที่เขียนในลักษณะใด เขียนเป็นภาษาใด เกี่ยวกับพื้นที่หรือท้องถิ่นใด หรือเกี่ยวกับใคร เป็นต้น ช่วยให้สามารถวิเคราะห์เนื้อหาได้ละเอียดมากยิ่งขึ้น ตารางช่วยดังกล่าวมี 7 ตาราง ได้แก่ <p> ตารางที่ 1 ตารางเลขวิธีเขียน (Standard subdivisions) หรือ ตารางย่อยมาตรฐาน ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ได้ทุกหมวดหมู่ แสดงถึงวิธีเขียน เช่น <p> 01- สำหรับหนังสือที่เขียนในเชิงทฤษฎีและปรัชญา <p> 02- สำหรับหนังสือคู่มือ หนังสือภาพ หนังสือที่มีตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเป็นส่วนประกอบสำคัญ หนังสือนามานุกรม และหนังสือเบ็ดเตล็ดอื่นๆ <p> 03- สำหรับหนังสือพจนานุกรม สารานุกรม บัญชีคำศัพท์ <p> 04- เป็นเลขว่างซึ่งจะกำหนดใช้เพื่อแบ่งย่อยเรื่องเฉพาะของเลขหมู่บางเลขหมู่เท่านั้น <p> 05- สำหรับสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง เช่น หนังสือรายปี รายงานประจำปี วารสารและหนังสือพิมพ์ <p> 06- สำหรับเรื่องของสมาคมและชมรมวิชาชีพ รวมทั้งการดำเนินงานของสมาคมหรือชมรมนั้นๆ <p> 07- สำหรับหนังสือที่เขียนขึ้นเพื่อการศึกษาและการสอน เช่น ตำรา งานวิจัย หลักสูตร สมุดแบบฝึกหัด เป็นต้น <p> 08- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติและพรรณนาเรื่องราวของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่มเชื้อชาติ กลุ่มอาชีพ <p> 09- สำหรับหนังสือที่เขียนถึงประวัติของเรื่องราวต่างๆ ในยุคสมัยใดยุคสมัยหนึ่ง และเขียนถึงเรื่องราวต่างๆ ในพื้นที่หรือท้องถิ่นใดท้องถิ่นหนึ่ง <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ คือ ประวัติของพุทธศาสนา <p> พุทธศาสนา (เลขหมู่คือ 294) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> ประวัติ (-09) <p> เลขหมู่ที่กำหนดจากการเติม ได้เป็น 294.309 <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เป็น พจนานุกรมทางวิทยาศาสตร์ <p> วิทยาศาสตร์ (500) <p> วิธีเขียน (เลขจากตารางที่ 1) <p> พจนานุกรม (-03) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 503 <p> ตารางที่ 2 ตารางเลขภูมิศาสตร์ (Areas) ใช้ประกอบกับเลขหลักในแผนการจัดหมู่ที่มีคำอธิบายให้เพิ่มเลขภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงให้ทราบถึงสถานที่ทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องภายในเนื้อหาที่เฉพาะเจาะจงลงไปว่าเป็นที่ใด ซึ่งอาจจะเป็นทวีป ประเทศ รัฐ เมือง แม่น้ำ มหาสมุทร เป็นต้น <p> -1 เขตภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เช่น เขตมหาสมุทร ทะเล เขตภูมิอากาศ <p> -2 สำหรับหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในเขตพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ทั่วๆ ไป ไม่จำกัดเฉพาะแห่งใดแห่งหนึ่ง <p> -3 ดินแดนสมัยโบราณ เช่น เมโสโปเตเมีย ปาเลสไตน์ อียิปต์ <p> -4 ทวีปยุโรป <p> -5 ทวีปเอเซีย <p> -6 ทวีปแอฟริกา <p> -7 ทวีปอเมริกาเหนือ <p> -8 ทวีปอเมริกาใต้ <p> -9 พื้นที่ส่วนอื่นๆ เช่น หมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิก และดินแดนที่อยู่นอกโลก เช่น อวกาศ ดวงจันทร์ ดาวอังคาร <p> ตารางที่ 3 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดวรรณคดี ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดวรรณคดีเพื่อระบุลักษณะคำประพันธ์ของวรรณคดีนั้นๆ <p> -08 สำหรับหนังสือรวมวรรณคดี เฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -09 สำหรับหนังสือประวัติศาสตร์และวิจารณ์วรรณคดีเฉพาะภาษาของนักเขียนหลายๆ คน <p> -1-8 ลักษณะคำประพันธ์ ได้แก่ <p> -1 กวีนิพนธ์ <p> -2 บทละคร <p> -3 นวนิยาย <p> -4 ความเรียง บทความ <p> -5 สุนทรพจน์ ปาฐกถา <p> -6 จดหมาย <p> -7 เรื่องเชิงล้อเลียนและตลกขบขัน <p> -8 งานเขียนเบ็ดเตล็ดอื่นๆ เช่น บันทึกประจำวัน บันทึกความจำ สุภาษิตคำคม <p> ตารางที่ 4 ตารางเลขเฉพาะสำหรับหมวดภาษา เป็นตารางเลขย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่ในหมวดภาษาเฉพาะ เพื่อระบุเรื่องเฉพาะของแต่ละภาษานั้น เช่น ไวยากรณ์ภาษา พจนานุกรมภาษา หลักการอ่าน เขียนภาษา เป็นต้น <p> -1 หลักในการเขียนและพูดภาษาต่างๆ ในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน <p> -2 นิรุกติศาสตร์ <p> -3 พจนานุกรมภาษา <p> -32-39 พจนานุกรมสองภาษา <p> -5 ระบบโครงสร้างหรือหลักไวยากรณ์ของภาษาที่ใช้เป็นมาตรฐาน <p> -7 ภาษาที่ไม่ได้ใช้เป็นมาตรฐาน เช่น ภาษาถิ่น ภาษาแสลง ภาษาโบราณ <p> -8 ภาษาประยุกต์ (การนำเอาภาษาไปประยุกต์ใช้ในกรณีต่างๆ เช่น การแปล การสอน) <p> ตัวอย่าง <p> เนื่อเรื่องของหนังสือ เป็นพจนานุกรมภาษาไทย <p> ภาษาไทย (495.91) <p> เรื่องเฉพาะทางภาษา (เลขจากตารางที่ 4) <p> พจนานุกรมภาษาเดียว (-3) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 495.913 <p> ตารางที่ 5 ตารางเลขเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ กลุ่มชนชาติ เป็นตารางย่อยที่ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางอื่นเพื่อแบ่งย่อยเนื้อเรื่องออกไปตามกลุ่มเชื้อชาติหรือเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ <p> -01 ชนพื้นเมือง <p> -03 กลุ่มเผ่าพันธุ์พื้นฐานของมนุษย์ เช่น คอเคซอยด์ มองโกลอยด์ <p> -1-9 กลุ่มเชื้อชาติของมนุษย์ จัดตามถิ่นกำเนดหรือถิ่นที่อยู่ <p> -1 เชื้อชาติอเมริกันเหนือ <p> -2 เชื้อชาติแองโกล-แซกซอน บริติช อังกฤษ <p> -3 เชื้อชาตินอร์ดดิค เช่น พวกเยอรมัน <p> -4 เชื้อชาติลาตินใหม่ เช่น พวกฝรั่งเศส <p> -5 เชื้อชาติอิตาเลียน <p> -6 เชื้อชาติสเปนและโปรตุเกส <p> -7 เชื้อชาติอิตาลิค เช่น พวกโรมันโบราณ <p> -8 เชื้อชาติกรีก <p> -9 เชื้อชาติอื่นๆ เช่น พวกอินเดียน สลาฟ แอฟริกัน ไทย จีน ญี่ปุ่น ฯลฯ <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ เรื่อง ประเพณีการแต่งงานของไทย <p> ประเพณีการแต่งงาน (392.5) <p> เชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ (เลขจากตารางที่ 5) <p> เชื้อชาติไทย (-9591) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 392.50899591 <p> ตารางที่ 6 ตารางเลขภาษา กำหนดเพื่อใช้กับเลขหมู่ในตารางช่วยอื่น เพื่อระบุภาษาที่ใช้ในการเขียนเนื้อเรื่องของหนังสือแต่ละเล่ม <p> สังเขปตารางเลขภาษา <p> -1 ภาษาอินโด-ยูโรเปียน <p> -2 ภาษาอังกฤษและแองโกล-แซกซอน <p> -3 ภาษาเยอรมัน <p> -4 ภาษาตระกูลโรมานซ์ เช่น ภาษาฝรั่งเศส <p> -5 ภาษาอิตาเลียน <p> -6 ภาษาสเปนและโปรตุเกส <p> -7 ภาษาตระกูลอิตาลิค เช่น ภาษาลาติน <p> -8 ภาษาตระกูลเฮลเลนิก เช่น ภาษากรีก <p> -9 ภาษาอื่นๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาฮีบรู เป็นต้น <p> ตัวอย่าง <p> เนื้อเรื่องของหนังสือ สารานุกรมภาษาไทย <p> สารานุกรมทั่วไป (039) <p> ภาษา (เลขจากตารางที่ 6) <p> ภาษาไทย (-95911) <p> เลขหมู่ที่เกิดจากการเติม 039.95911 <p> ตารางที่ 7 ตารางเลขบุคคล เป็นตารางย่อยซึ่งกำหนดให้ใช้เติมเข้ากับเลขหมู่หรือเลขในตารางช่วยอื่นเพื่อระบุเรื่องย่อยของหนังสือว่าเกี่ยวข้องกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในลักษณะใด เช่น กลุ่มอาชีพ เพศ วัย ชนชั้นทางสังคม ฯลฯ ตาราง 7 จะใช้ประกอบกับเลขหมู่ที่มีคำอธิบายให้เติมเลขบุคคลจากตาราง 7 ช่วย (Add "Persons" notation ...) เช่น Add "Person" notation 04-87 from Table 7 to base number 704 e.g. lawyers as artists 704.344; however, class art dealers in 338.7617; description, critical appraisal, wors, biography of artisits in 709.2 <p> สังเขปตารางเลขบุคคล <p> -01 ปัจเจกบุคคล <p> -02 กลุ่มบุคคลทั่วไปไม่ระบุลักษณะเฉพาะทางอาชีพ เพศ วัย และอื่นๆ <p> -03 กลุ่มบุคคลจัดตามภูมิหลังทางเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ <p> -04 กลุ่มบุคคลจัดตามเพศและความสัมพันธ์ทางเครือญาติ <p> -05 กลุ่มบุคคลจัดตามอายุ <p> -06 กลุ่มบุคคลจัดตามลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ <p> -08 กลุ่มบุคคลจัดตามสภาพทางร่างกายและจิตใจ <p> -09 กลุ่มบุคคลที่ไม่จัดอยู่ในวิชาชีพเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นักวิจัย นักการศึกษา บรรณารักษ์ และนักสารสนเทศ โดยจะมีตัวเลขแบ่งย่อยอีกตามกลุ่มบุคคลในสาขาวิชาชีพต่างๆ <p> ตัวอย่าง หนังสือเกี่ยวกับจิตรกรรมและมัณฑนศิลป์ของเด็กนักเรียน <p> จิตรกรรมและมัณฑศิลป์ (704.04-.87) <p> เด็กนักเรียน หาเลขเด็กนักเีรียนจากตาราง 7 (-054 4) <p> เลขหมู่ทีเ่กิดจากการเติม 704.0544 <p> บรรณานุกรม <p>Guide to use of Dewey decimal classification : based on the practice of the Decimal Classification Office at the Library of Congress. 1962. Lake Placid Club, N.Y. : Forest Press. <p>OCLC Online Computer Library Center, Inc. Summaries DDC Dewey Decimal Classification. 2003. Rereive from http://www.oclc.org/dewey/resources/summaries/deweysummaries.pdf. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> ทองหยด ประุทุมวงศ์ และ พรทิยพ์ สุวันทารัตน์. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบทศนิยมดิวอี้ ใน เอกสารประกอบการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 150-217. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Classification, Library of Congress | ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน, การวิเคราะห์หนังสือระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน, Example: ระบบการจัดหมู่รัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress Classficiation - LC) หรือเรียกสั้นๆ ว่า LC หรือระบบ LCC เป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดหมู่หนังสือของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> ในระยะแรกก่อตั้งหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน เมื่อปี ค.ศ. 1800 ระบบจัดหมู่หนังสือที่ใช้อยู่นั้น คิดขึ้นโดยจอห์น เบคเลย์ (John Beckley) โดยจัดหนังสือตามขนาดหน้ายก หนังสือขนาดเดียวกันจัดเรียงตามลำดับเลขทะเบียนของหนังสือ <p> ต่อมาในปี ค.ศ. 1812 เมื่อหนังสือมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้เปลี่ยนเป็นวิธีการจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง โดยนำระบบจัดหมู่หนังสือของ The Library Company of Philadelphia มาใช้ แบ่งเนื้อเรื่องเป็น 18 หมวด เมื่อห้องสมุดไฟไหม้ จึงได้จัดซื้อหนังสือจำนวน 6, 487 เล่มจากห้องสมุดส่วนตัวของประธานาธิบดีโธมัส เจฟเฟอร์สัน โดยคิดระบบตามที่ประธานาธิบดีเจฟเฟอร์สัน โดยแบ่งออกเป็น 44 หมวด <p> จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1890 เมื่อมีหนังสือเพิ่มขึ้นมากขึ้นเรื่อยๆ บรรณารักษ์ของหอสมุดในขณะนั้น คือ จอห์น รัสเซล ยัง (John Russell Young)คิดว่าระบบเดิมไม่เหมาะสม ควรคิดหาระบบใหม่เพื่อให้มีความเหมาะสมมากขึ้น จึงมอบหมายให้ เจมส์ แฮนสัน (James Hanson) และ ชาร์ลส์ มาร์แตล (Charles Martel) ศึกษาหาแนวทางที่จะสร้างระบบจัดหมู่หนังสือใหม่เพื่อใช้ในหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p> การศึกษาอย่างจริงจังได้เริ่มเมื่อ เฮอร์เบิร์ต พุตนัม (Herbert Putnum) เข้ามาดำรงตำแหน่งบรรณารักษ์ในปี ค.ศ. 1899 และยังคงมอบหมายให้ แฮนสันและมาร์แตลรับศึกษาต่อไป โดยนำระบบ 3 ระบบ คือ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบเอ็กแพนซีฟ และระบบจัดหมู่หนังสือของเยอรมัน ชื่อ Halle Schema ของออตโต ฮาร์ตวิก (Otto Hartwig) พบว่า ระบบเอ็กแพนซีฟมีความเหมาะสมมาก เนื่องจากการจัดหมวดหมู่กว้างขวางและสามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายทุกๆ หมวดตามต้องการ สัญลักษณ์ที่ใช้สามารถขยายได้ทั้งชนิดที่เป็นตัวอักษรและตัวเลข เพราะเป็นสัญลักษณ์ผสม เหมาะกับหอสมุดรัฐสภาอเมริกันซึ่งมีหนังสือจำนวนมาก จึงได้จัดทำระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันขึ้นโดยยึดหลักการของระบบเอ็กแพนซีฟ <p> มีการจัดทำหมวด Z เป็นหมวดแรก เมื่อปี ค.ศ. 1902 <p> ลักษณะทั่วไปของระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>1. ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกันเป็นระบบที่คิดขึ้นโดยจัดแบ่งหมวดหมู่ตามสาขาวิชาความรู้ที่มีอยู่จริงของหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน <p>2. สัญลักษณ์เป็นสัญลักษณ์ผสมระหว่างตัวอักษรโรมันตัวพิมพ์ใหญ่และเลขอารบิค โดยอักษรโรมันตัวใหญ่หนึ่งตัวแทนหมวดใหญ่และเพิ่มอักษรโรมันตัวใหญ่อีกหนึ่งหรือสองตัวแทนหมวดย่อย (ยกเว้นหมวด E-F และ Z) และแบ่งหมู่ย่อยต่อไปอีก โดยใช้เลขอารบิคจาก 1-9999 รวมทั้งขยายโดยใช้จุดทศนิยม <p>3. แผนการจัดหมวดหมู่จัดแบ่งวิชาความรู้ในสาขาต่างๆ โดยเริ่มจากเรื่องทั่วไปสู่เรื่องที่เฉพาะยิ่งขึ้นเรื่อยๆ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ <p>3.1 การแบ่งครั้งที่ 1 เป็นการแบ่งเนื้อหาวิชาเป็น 20 หมวดใหญ่ (Main class) โดยใช้อักษรตัวเดียวโดดๆ A-Z ยกเว้น I, O, W, X, Y <p>A ความรู้ทั่วไป (General Works) <p>B ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนา (Philosophy, Psychology, Religion) <p>C ศาสตร์ที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ (Auxiliary sciences of history) <p>D ประวัติศาสตร์ : เรื่องทั่วไปและประวัติศาสตร์โลกเก่า (History : general and old world) <p>E-F ประวัติศาสตร์ : อเมริกา (History : America) <p>G ภูมิศาสตร์ แผนที่ มานุษยวิทยา นันทนาการ (Geography, Maps, Anthropology, Recreation) <p>H สังคมศาสตร์ (Social science) <p>J รัฐศาสตร์ (Political science) <p>K กฎหมาย (Law) <p>L การศึกษา (Education) <p>M ดนตรี (Music) <p>N ศิลปกรรม (Fine Arts) <p>P ภาษาและวรรณคดี (Languages and Literature) <p>Q วิทยาศาสตร์ (Sciences) <p>R แพทยศาสตร์ (Medicines) <p>S เกษตรศาสตร์ (Agriculture) <p>T เทคโนโลยี (Technology) <p>U ยุทธศาสตร์ (Military science) <p>V นาวิกศาสตร์ (Naval science) <p>Z บรรณานุกรม บรรณารักษศาสตร์ (Bibliography, Library science) <p>3.2 การแบ่งครั้งที่ 2 เป็นการแบ่งหมวดย่อย (subclass) ตามสาขาวิชา โดยใช้ตัวอักษรโรมันตั้งแต่ 2 ตัว ถึง 3 ตัว เป็นสัญลักษณ์ และใช้หลักการเรียงลำดับตามตัวอักษร A-Z ยกเว้นหมวด Z จะไม่มีการแบ่งครั้งที่ 2 เช่น หมวด Q แบ่งออกเป็นหมวดย่อย 12 หมวดดังนี้คือ <p>Q วิทยาศาสตร์ (Science) <p> QA คณิตศาสตร์ (Mathematics) <p> QB ดาราศาสตร์ (Astronomy) <p> QC ฟิสิกส์ (Physics) <p> QD เคมี (Chemistry) <p> QE ธรณีวิทยา (Geology) <p> QH ธรรมชาติวิทยา (Natural History) <p> QK พฤกษศาสตร์ (Botany) <p> QL สัตววิทยา (Zoology) <p> QM กายวิภาคศาสตร์ (Human Anatomy) <p> QP สรีรวิทยา (Physiology) <p> QR จุลชีววิทยา (Microbiology) <p> ซึ่งยังคงแบ่งต่อไปได้อีก เมื่อต้องการขยายเลขหมู่เพิ่มในภายหลัง <p> 3.3 การแบ่งครั้งที่ 3 คือ การแบ่งออกเป็น หมู่ (division) โดยใช้ตัวเลขอารบิกตั้งแต่ 1-9999 ประกอบตัวอักษรโรมัน ในแต่ละหมู่จะมีจำนวนการแบ่งเป็นหมู่ย่อยไม่เท่ากัน เช่น หมวด LA จะแบ่งเป็น LA1-LA 2397 หรือ หมวด HV จะแบ่งเป็น HV 1-HV 9920 เป็นต้น สามารถที่จะขยายเลขหมู่สำหรับวิชาการที่จะเพิ่มใหม่ การแบ่งครั้งที่ 3 มี 2 ลักษณะ คือ <p> 3.3.1 การแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ การนำเอาเลขทศนิยมมาขยายเลขย่อยในกลุ่มนั้น ให้ได้เลขหมู่เพิ่มขึ้นสำหรับเนื้อหาวิชาที่ควรจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน <p> 3.3.2 การแบ่งโดยใช้เลขคัตเตอร์ คือ การใช้ตัวอักษรและตัวเลขสำหรับการแบ่งย่อยเนื้อหาที่ละเอียดลงไปอีก เช่น การแบ่งย่อยตามชื่อทางภูมิศาสตร์ (geographical name) และการแบ่งย่อยตามรายชื่อเนื้อหาวิชาเฉพาะ (special topics) และการแบ่งตามเลขคัตเตอร์สำรองที่ได้กำหนดไว้แล้ว <p> ตัวอย่าง HF 5438.5 HF เป็นหมวดย่อยของ H คือ สังคมศาสตร์ ซึ่ง HF เป็นหมู่ย่อย หมายถึง การค้า (Commerce) และแบ่งออกเป็นหมู่ คือ 5438 หมายถึง การขาย (Selling) จากนั้นแบ่งโดยใช้เลขทศนิยม คือ .5 หมายถึง การส่งเสริมการขาย (Sales promotion) <p> ตัวอย่าง ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น 600 ปี <p> DS เป็นเลขหมู่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทย <p> 575 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางการเมืองและการทูต <p> .5 แบ่งย่อยเป็นความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ A-Z <p> .J3 ประเทศญี่ปุ่น (Japan = .J3) <p> จะได้เลขหมู่เป็น DS 575.5.J3 ปัจจุบัน หนังสือคู่มือหมวดหมู่รัฐสภาอเมริกันมีทั้งแบบสิ่งพิมพ์และแบบออนไลน์ <p> บรรณานุกรม <p> Library of Congress. Library of Congress Classification Outline. 2011. [ Online ] Retrieve from: http://www.loc.gov/catdir/cpso/lcco/. Accessed 20110516. <p> กุลธิดา ท้วมสุข. 2533. การวิเคราะห์เลขหมู่หนังสือ. ขอนแก่น : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. <p> กมลา รุ่งอุทัย. 2533. การวิเคราะห์สารนิเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ใน เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารนิเทศ หน้า 219-281. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. <p> อัมพร ทีขะระ. 2532. คู่มือการจัดหมู่ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน. กรุงเทพฯ : ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาััลัย. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Hazard analysis and critical control point | ระบบวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Speech synthesis | การสังเคราะห์เสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Synthesis gas | ก๊าซสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Text-to-speech synthesis | เทคโนโลยีสังเคราะห์เสียงจากข้อความ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Chemical synthesis in solution | การสังเคราะห์ทางเคมีในสารละลาย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electrochemical synthesis | การสังเคราะห์โดยวิธีทางไฟฟ้า-เคมี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Latent structure analysis | การวิเคราะห์กลุ่มแฝง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Logistic regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Conjoint analysis (Marketing) | การวิเคราะห์คอนจอยท์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Plastic analysis (Engineering) | การวิเคราะห์ด้วยวิธีพลาสติก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Colorimetric analysis | การวิเคราะห์โดยการวัดสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Electrochemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมีำไฟฟ้า [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Nearest neighbor analysis (Statistics) | การวิเคราะห์เพื่อนบ้านใกล้ที่สุด (สถิติ) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Function point analysis | การวิเคราะห์ฟังก์ชันพอยต์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnosis, Ultrasonic | การวิเคราะห์ด้วยคลื่นเหนือเสียง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Synthesis | การสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Photosynthesis | การสังเคราะห์แสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Biosynthesis | ชีวสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Asteroid | ดาวเคราะห์น้อย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Latex, Synthesis | น้ำยางสังเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Photosynthetic bacteria | แบคทีเรียสังเคราะห์แสง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Activity analysis | การวิเคราะห์กิจกรรม [เศรษฐศาสตร์] |
Cost analysis | การวิเคราะห์ต้นทุน [เศรษฐศาสตร์] |
Cost-benefit analysis | การวิเคราะห์ต้นทุนต่อผลตอบแทน [เศรษฐศาสตร์] |
Analysis | การวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] |
Economic analysis | การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Chemical analysis | การวิเคราะห์ทางเคมี [เศรษฐศาสตร์] |
Comparative analysis | การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบ [เศรษฐศาสตร์] |
Mathematical analysis | คณิตวิเคราะห์ [เศรษฐศาสตร์] |
Monetary analysis | การวิเคราะห์ภาวะการเงิน [เศรษฐศาสตร์] |
Discriminant analysis | การวิเคราะห์การจำแนกประเภท [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Regression analysis | การวิเคราะห์การถดถอย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Remote-sensing images | การวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Remote sensing | การวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Error analysis (Mathematics) | การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Analysis of variance | การวิเคราะห์ความแปรปรวน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Analysis of covariance | การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Value analysis (Cost control) | การวิเคราะห์คุณค่า (การควบคุมต้นทุนการผลิต) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Structural analysis (Engineering) | การวิเคราะห์โครงสร้าง (วิศวกรรมศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cluster analysis | การวิเคราะห์จัดกลุ่ม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Complex analysis | การวิเคราะห์เชิงซ้อน [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Quantitative analysis | การวิเคราะห์เชิงปริมาณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Instrumental analysis | การวิเคราะห์โดยอุปกรณ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
อาคารสงเคราะห์ | [ākhān songkhrǿ] (n, exp) EN: housing ; housing project |
อนุเคราะห์ | [anukhrǿ] (v) EN: help ; aid ; favor ; do a good turn ; support ; back ; stand by ; subsidize FR: favoriser ; aider |
ใบสำคัญแสดงการวิเคราะห์ | [baisamkhan sadaēng kān wikhrǿ] (n, exp) EN: certificate of analysis |
บาปเคราะห์ | [bāpkhrǿ] (n) EN: misfortune ; bad luck ; adversity FR: malchance [ f ] |
บทวิเคราะห์ | [botwikhrǿ] (n) EN: review ; analysis FR: revue [ f ] |
ชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง | [chāt thī dāirap anukhrǿ ying] (n, exp) EN: Most favoured nation (MFN) |
ดาวเคราะห์ | [dāokhrǿ] (n) EN: planet FR: planète [ f ] |
ดาวเคราะห์ชั้นใน | [dāokhrǿ channai] (n, exp) EN: inner planet FR: planète intérieure [ f ] |
ดาวเคราะห์ชั้นนอก | [dāokhrǿ channøk] (n, exp) EN: outer planet FR: planète extérieure [ f ] |
ดาวเคราะห์หิน | [dāokhrǿ hin] (n, exp) FR: planète rocheuse [ f ] |
ดาวเคราะห์แคระ | [dāokhrǿ khrae] (n, exp) EN: dwarf planet FR: planète naine [ f ] |
ดาวเคราะห์ในแถบไคเปอร์ | [dāokhrǿ nai thaēp Khaipoē] (n, exp) EN: Kuiper belt planet FR: planète de le ceinture de Kuiper [ f ] |
ดาวเคราะห์น้อย | [dāokhrǿ nøi] (n, exp) EN: asteroid ; minor planet FR: astéroïde [ m ] |
ดาวเคราะห์ย่อย | [dāokhrǿ yøi] (n, exp) EN: minor planet |
ดาวนพเคราะห์ | [dāonopphakhrǿ] (n) EN: planet FR: planète [ f ] |
โดยวิธีวิเคราะห์ | [dōi withī wikhrǿ] (adv) FR: analytiquement ; par la méthode analytique |
ฟาดเคราะห์ | [fāt khrǿ] (v, exp) EN: drive off bad luck ; dispel misfortune |
ฮอร์โมนสังเคราะห์ | [hǿmōn sangkhrǿ] (n, exp) FR: hormone de synthèse [ f ] |
การคิดเชิงวิเคราะห์ | [kān khit choēng wikhrǿ] (n, exp) EN: analytical thinking |
การสังเคราะห์ | [kān sangkhrǿ] (n) EN: synthesis FR: synthèse [ f ] |
การสังเคราะห์ด้วยแสง | [kān sangkhrǿ dūay saēng] (n, exp) EN: photosynthesis FR: photosynthèse [ f ] |
การวิเคราะห์ | [kān wikhrǿ] (n) EN: analysis FR: analyse [ f ] |
การวิเคราะห์เชิงเหตุผล | [kān wikhrǿ choēng hētphon] (n, exp) EN: causal analysis |
การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ | [kān wikhrǿ choēng khunnaphāp] (n, exp) EN: qualitative analysis FR: analyse qualitative [ f ] |
การวิเคราะห์เชิงปริมาณ | [kān wikhrǿ choēng parimān] (n, exp) EN: quantitative analysis FR: analyse quantitative [ f ] |
การวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ khā sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis |
การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ | [kān wikhrǿ khunnaphāp nām] (n, exp) FR: analyse de la qualité de l'eau [ f ] |
การวิเคราะห์ความแปรปรวน | [kān wikhrǿ khwām praēprūan] (n, exp) EN: analysis of variance (ANOVA) |
การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม | [kān wikhrǿ khwām praēprūan ruam] (n, exp) EN: analysis of covariance (ANCOVA) |
การวิเคราะห์กระบวนการ | [kān wikhrǿ krabūankān] (n, exp) EN: process analysis |
การวิเคราะห์เนื้อหา | [kān wikhrǿ neūahā] (n, exp) EN: content analysis |
การวิเคราะห์งาน | [kān wikhrǿ ngān] (n, exp) EN: job analysis |
การวิเคราะห์ปัจจัย | [kān wikhrǿ patjai] (n, exp) EN: factor analysis |
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน | [kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis |
การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค | [kān wikhrǿ patjai thāng thēknik] (n, exp) EN: technical analysis |
การวิเคราะห์ภายใน | [kān wikhrǿ phāinai] (n, exp) EN: internal analysis |
การวิเคราะห์ภายนอก | [kān wikhrǿ phāinøk] (n, exp) EN: external analysis |
การวิเคราะห์พฤติกรรม | [kān wikhrǿ phreuttikam] (n, exp) EN: behavior analysis FR: analyse du comportement [ f ] |
การวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ | [kān wikhrǿ phreuttikam manut] (n, exp) FR: étude du comportement humain [ f ] |
การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค | [kān wikhrǿ phreuttikam phūbøriphōk] (n, exp) FR: analyse du comportement du consommateur [ f ] |
การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop] (n, exp) EN: system analysis |
การวิเคราะห์ระบบข้อความ | [kān wikhrǿ rabop khøkhwām] (n, exp) EN: discourse analysis |
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ | [kān wikhrǿ sahasamphan] (n, exp) EN: correlation analysis |
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย | [kān wikhrǿ sahasamphan yāng-ngāi] (n, exp) EN: simple correlation analysys |
การวิเคราะห์สัมพันธสาร | [kān wikhrǿ samphanthasān] (n, exp) EN: discourse analysis |
การวิเคราะห์ศัพท์ | [kān wikhrǿ sap] (n, exp) EN: lexical analysis |
การวิเคราะห์เศรษฐกิจ | [kān wikhrǿ sētthakit] (n, exp) EN: economic analysis FR: analyse économique [ f ] |
การวิเคราะห์ตลาด | [kān wikhrǿ talāt] (n, exp) EN: market analysis FR: analyse de marché [ f ] |
การวิเคราะห์ต้นทุน | [kān wikhrǿ tonthun] (n, exp) EN: cost analysis FR: analyse du coût [ f ] |
การวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ | [kān wikhrǿ tonthun lae phonprayōt] (n, exp) EN: cost-benefit analysis FR: analyse coût-bénéfice [ f ] ; analyse coût-avantage [ f ] |
adversity | (n) เคราะห์กรรม, See also: ความทุกข์ร้อน, Syn. misfortune, reverse, trouble |
aid | (vt) ช่วยเหลือ, See also: สงเคราะห์, อนุเคราะห์, Syn. assist, help, assist |
aid | (vi) ช่วยเหลือ, See also: เกื้อหนุน, สงเคราะห์, Syn. assist, help, assist |
almoner | (n) นักสังคมสงเคราะห์ |
almshouse | (n) บ้านสงเคราะห์คนจน, Syn. poorhouse, poverty |
analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements |
analysis | (n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown |
analysis | (n) จิตวิเคราะห์, See also: การวิเคราะห์ทางจิตใจ, Syn. psychotherapy, depth psychiatry |
analysis | (n) ผลการวิเคราะห์ |
analyst | (n) นักวิเคราะห์, Syn. examiner, investigator, interpreter |
analyst | (n) นักวิเคราะห์ทางจิต, Syn. psychoanalyst, psychiatrist |
analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์, See also: ซึ่งใช้การวิเคราะห์, Syn. analytical, systematic |
analytics | (n) วิเคราะห์วิทยา |
analyze | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, Syn. analyse, examine, resolve into elements |
anatomy | (n) การวิเคราะห์อย่างละเอียด |
aphelion | (n) จุดไกลสุดของดาวหางหรือดาวนพเคราะห์ที่อยู่ห่างจากพระอาทิตย์ |
apogee | (n) จุดไกลสุดของดาวนพเคราะห์หรืออื่น ๆ ที่อยู่ห่างจากโลก |
artificial | (adj) เทียม, See also: ปลอม, สังเคราะห์, Syn. unreal, fake, Ant. natural, genuine, real |
assay | (n) การวิเคราะห์ทางเคมี |
assay | (vt) วิเคราะห์, See also: ตรวจสอบ, Syn. test, analyze |
assay | (n) สารที่ใช้วิเคราะห์ |
auxiliary verb | (n) กริยานุเคราะห์, See also: กริยาช่วย |
benefit | (n) เงินสงเคราะห์, See also: เงินช่วยเหลือ, เงินส่วนเพิ่ม, เงินชดเชยการประกัน |
caseload | (n) จำนวนงานที่รับผิดชอบอยู่ (เช่น ของหมอหรือนักสังคมสงเคราะห์) |
cogitate | (vt) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder |
cogitate | (vi) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder |
construe | (vi) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) |
construe | (vt) วิเคราะห์ (ประโยคหรือข้อความ) |
contemplate | (vt) สังเกตอย่างพินิจพิเคราะห์, Syn. gaze at, notice |
down and out | (idm) ไม่มีเงิน, See also: ไม่ได้รับการช่วยเหลือ, ไม่รับการสงเคราะห์ |
damned | (adj) ซึ่งถูกสาปแช่ง, See also: เคราะห์ร้าย, Syn. cursed, condemned |
destiny | (n) ชะตากรรม, See also: เคราะห์กรรม, Syn. fortune, karma, doom |
dissect | (vt) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite |
dissect | (vi) ชำแหละคน สัตว์หรือพืชเพื่อการศึกษา, See also: ผ่าศพ, ผ่าเพื่อวิเคราะห์, Syn. dismember, operate anatomize, Ant. join, unite |
dissect | (vt) ตรวจสอบ, See also: พินิจพิเคราะห์, วิเคราะห์, Syn. analyze |
doom | (n) เคราะห์ร้าย, See also: เคราะห์กรรม, ความหายนะ, ชะตากรรม, ความตาย, Syn. fate, destiny |
electrophoresis | (n) การเคลื่อนไหวของอนุภาคคอลลอยด์ที่แขวนอยู่ในของเหลวเนื่องจากอิทธิพลของสนามไฟฟ้าในของเหลวนั้น, See also: วิธีการวิเคราะห์ประเภทของสารโดยการวัดอัตราการเคลื่อนที่ของแต่ละสารประกอบในคอลลอยด์ข |
ephemeris | (n) ตารางที่แสดงตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดาวเคราะห์ต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่งในอนาคต |
epicycle | (n) การเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ตามทฤษฎีระบบสุริยะของเพลโตที่ว่าวัตถุทรงกลมจะเคลื่อนที่ไปตามเส้นรอบวงของวัตถุทรงกลมที่ใหญ่กว่า, Syn. cycle, orbit |
epoxy | (n) เรซินสังเคราะห์ มีความเหนียวมาก จะแข็งตัวหลังผ่านความร้อน ใช้เคลือบผิวหรือเป็นตัวเชื่อมวัตถุ, See also: เรซินสังเคราะห์ที่เหนียวมาก เมื่อถูกความร้อนหรือความดันจะแข็งตัว ใช้สำหรับติดหรือเคล |
examine | (vt) พินิจพิจารณา, See also: พินิจ, ตรวจ, สังเกต, จับตามอง, พิเคราะห์, Syn. inspect, study |
false | (adj) ปลอม, See also: ซึ่งไม่ธรรมชาติ, ซึ่งผลิตขึ้นมา, ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นมา, เทียม, Syn. counterfeit, sythetic, unreal, Ant. genuine, real |
fey | (adj) ซึ่งหยั่งรู้ถึงเคราะห์กรรม, See also: ที่มีลางสังหรณ์, Syn. eccentric |
fixedly | (adv) อย่างจดจ่อ (จ้องดู), See also: อย่างพินิจพิเคราะห์, Syn. intently |
fortuitous | (adj) โชคดี, See also: เคราะห์ดี |
fortunate | (adj) โชคดี, See also: เคราะห์ดี, Syn. charmed, lucky, Ant. ill-fated, unfortunate, unlucky |
fortunately | (adv) อย่างโชคดี, See also: อย่างเคราะห์ดี, Syn. luckily, Ant. unfortunately, unluckily |
going-over | (n) การตรวจสอบ (คำไม่เป็นทางการ), See also: การสืบสวน, การวิเคราะห์, Syn. inspection, examination, overhaul |
hapless | (adj) เคราะห์ร้าย, See also: อาภัพ, อับโชค, ซวย, Syn. luckless, unfortunate, unlucky, Ant. fortunate, lucky |
help | (vt) ช่วย, See also: ช่วยเหลือ, ให้ความช่วยเหลือ, จุนเจือ, เกื้อกูล, ส่งเสริม, สงเคราะห์, Syn. aid, assist, succor, Ant. hinder, hold back, obstruct |
accursed | (อะเคอร์' ซิค) adj. ถูกสาปแช่ง, เคราะห์ร้าย, น่าชิงชัง, อัปรีย์. -accursedness n., Syn. cursed, doomed, condemned |
acetaldehyde | (แอสซิแทล' คิไฮดฺ) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้ฉาบแก้วให้เป็นกระจก และใช้ในการสังเคราะห์อินทรียสาร |
acetamide | (แอสซิแทม' ไมดฺ) chem. สารเคมีชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสังเคราะห์อินทรีย์สาร (acetamid) |
acetate | (แอส' ซิเทท) n. เกลือหรือ ester ของ acetic acid, เส้นใยสังเคราะห์ที่ทำจากสารประกอบ acetic ester ของเซลลูโลส |
acetic anhydride chem. | สารเคมีชนิดหนึ่งที่ ใช้ในการผลิตพลาสติกและใยสังเคราะห์ |
acridine | (แอค' ริดีน) สารเคมีที่ใช้ในการสังเคราะห์สีย้อมและยา |
acrolein | (อะโคร' ลีอิน) n., chem. ของเหลวไวไฟชนิดหนึ่ง ใช้สังเคราะห์สีย้อมและยา |
acrose | น้ำตาลที่สังเคราะห์จากการจับตัวของ formaldehyde หรือ glucose |
acrylic acid | (chem.) เป็นของเหลวที่มีฤทธิ์กัดกร่อนใช้ในการสังเคราะห์ acrylic resins |
acrylonitrile | (แอคริโลไน' ทริล) chem. ของเหลวที่เป็นพิษชนิดหนึ่ง ใช้ในการสังเคราะห์บางและเส้นใยผ้า |
adversity | (แอดเวอ' ซีที) n. ความเคราะห์ร้าย, ภัยพิบัติ, Syn. misfortune, calamity |
aid | (เอด) vt., n. ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, อนุเคราะห์, ช่วยฉุกเฉิน, ผู้ช่วย, ผู้อุปถัมภ์, การอาศัย, แรงช่วย, สิ่งช่วย. -aider n. -aidful adj. |
albedo | (แอลบี' โด) n. สัดส่วนของแสงที่สะท้อนกลับจากดาวพรเคราะห์กับแสงที่ดาวนั้นได้รับ, อัตราสะท้อนกลับ |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
alizarin | (อะลิซ' ซาริน) n., chem. สีย้อมชนิดหนึ่ง ใช้ในการสังเคราะห์สีย้อมชนิดอื่น |
almoner | (แอล' มะเนอะ, อา' เมินเนอะ) n. เจ้าหน้าที่แจกของสงเคราะห์, นักสังคมสงเคราะห์ในโรงพยาบาล |
almonry | (แอล' เมินรี, อา' เมินรี) n. สำนักงานสงเคราะห์, สำนักงานแจกของสงเคราะห์ |
almshouse | (อาล์มซ' เฮาสฺ) n. บ้านสงเคราะห์คนจน, โรงทานสำหรับคนจน |
almsman | (อาล์มซ' เมิน) n., (pl. -men) ผู้รับทาน, ผู้รับของสงเคราะห์, ผู้ให้ทาน, ผู้ให้ของสังเคราะห์ |
almswoman | (อาล์มซ' วูเมิน) n., (pl. -women) หญิงผู้รับทาน, หญิงผู้รับของสงเคราะห์, หญิงผู้ให้ทานผู้ให้ของสงเคราะห์ |
amberoid | (แอม' เบอรอยดฺ) n. อำพันสังเคราะห์ ที่ทำจากการอัดเรซิน (resins) ณ ที่อุณหภูมิสูง., Syn. ambroid |
ampicillin | (แอมพิซิล' ลิน) n. ยาเพนนิซิลลินกึ่งสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์ด้านแบคทีเรียชนิดกรัม-บวกและกรัม-ลบ |
anabolism | (อะแนบ' โบลิสซึม) n. การสังเคราะห์สารเชิงช้อนจากสารที่เชิงช้อนน้อย กว่าในสิ่งมีชีวิต |
anaclisis | (แอนนะไคล' ซิส) n. ขบวนการเลือกแบบหนึ่งทางจิตวิเคราะห์ โดยดูจากปมที่เกี่ยวกับตัณหา (livido) . -anaclitic adj. |
analyse | (แอน' นะไลซ) vt. วิเคราะห์, แยกธาตุจำแนกแยกแยะ, วิภาค, วิเคราะห์ |
analysis | (อะแนล' ลิซิส) n. การวิเคราะห์, การแยกธาตุ, การจำแนกแยกแยะ, การวิเคราะห์, การวิภาค, Syn. anatomization, dissection |
analyst | (แอน' นะลิสทฺ) n. ผู้วิเคราะห์, นักวิเคราะห์, จิตแพทย์ผู้ทำการวิเคราะห์ |
analytic | (แอนนะลิท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับการวิเคราะห์, เกี่ยวกับการแยกธาตุ, เกี่ยวกับการจำแนกแยกแยะ., Syn. logical |
analytics | (แอนนะลิท' ทิคซฺ') n. วิเคราะห์วิทยา |
anatomy | (อะแนท' โทมี) n. กายวิภาควิทยา, แบบจำลองสิ่งมีชีวิตเพื่อใช้ศึกษาด้านกายวิภาควิทยา, โครงกระดูก, การตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียด |
aniline | (แอน' นิลิน -ไลน์) n. ของเหลวชนิดหนึ่งที่ใช้ในการสังเคราะห์สีและยา., Syn. anilin, aniline oil, phenylamine |
anisole | (แอน' นิโซล) n. ของเหลวชนิดหนึ่งที่มีกลิ่นหอม , ใช้ในเครื่องหอม ในการสังเคราะห์สารอินทรีย์และเป็นยาฆ่าพยาธิ |
aphanite | (แอฟ'ฟะไนท) แร่หินอย่างละเอียดที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ของมันไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยตาเปล่า. -aphanitic adj. -aphanitism n. (a fine-grainedigneous rock) |
aphelion | (อะฟี'ลิอัน, อะเฟ็ล'ลิอัน) n., (pl. aphelia) จุดไกลสุดของดาวหางหรือดาวนพเคราะห์ที่อยู่ห่างจากพระอาทิตย์ (furthest from the sun) |
apogee | (แอพ'พะจี) n. จุดไกลสุดของดาวนพเคราะห์หรืออื่น ๆ ที่อยู่ห่างจากโลก. apogeal, apogean, apogeic adj., Syn. climax |
assay | (อะเซ') vt. ตรวจสอบ, ทดสอบ, วิเคราะห์, ประเมินค่า, พยายาม. -n. การหาปริมาณของโลหะ (โดยเฉพาะเงินหรือทอง) ในแร่หรือโลหะผสม, สารที่ได้รับวิเคราะห์, รายงานการวิเคราะห์, ความพยายาม -assayer n., Syn. test, analyze, examination |
assist | (อะซิสทฺ') vt., vi. ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, สนับสนุน, สงเคราะห์, เข้าร่วม. -assister, assistor n., Syn. aid, help, support, tend, Ant. hinder, hamper |
assistance | (อะซิส'เทินซฺ) n. การช่วยเหลือ, การสงเคราะห์, การอนุเคราะห์, Syn. aid, help |
astrogeology | (แอสโทรจีออล'โลจี) n. วิชาเกี่ยวกับส่วนประกอบของดาวนพเคราะห์ ดวงดาวและวัตถุอื่นในอวกาศ (astro-geology) |
astrophysics | (แอสโทรฟิซ'ซิคซฺ) n. สาขาดาราศาสตร์ที่เกี่ยวกับคุณสมบัติทางฟิสิคส์ของนพเคราะห์และดวงดาวอื่น ๆ -astrophysical adj. -astrophysicaist n. |
atmosphere | (แอท'เมิสเฟียร์) n. บรรยากาศ, บรรยากาศรอบโลก, อากาศ, แก๊สรอบดาวนพเคราะห์, ความกดดันบรรยากาศ, ท่าทาง (งานศิลป์) , คุณภาพที่เด่น (the air, surroundings, pervading influence) |
auxiliary verb | กริยานุเคราะห์ |
bale | (เบล) n. ห่อใหญ่, มัดใหญ่, ม้วนใหญ่, ความชั่ว, ความหายนะ, ความเคราะห์ร้าย, ความทุกข์ทรมาน, ความเสียใจ vt. บรรจุหีบห่อ, See also: baler, n. |
bioassay n. | vt. (การ) วิเคราะห์ทางชีวภาพของสาร |
biopsy | (ไบออพ'ซี) n. การตัดเอาชิ้นเนื้อเยื่อออกจากร่างสิ่งมีชีวิตเพื่อศึกษาวิเคราะห์, See also: bioptic adj. ดูbiopsy |
blue cross | n. สมาคมกาชาดสีน้ำเงินเกี่ยวกับการสงเคราะห์สัตว์ |
bounty | (เบา'ที) n. ความใจบุญ, ความอารี, ของขวัญ, เงินสงเคราะห์, สิ่งที่มอบให้, รางวัล, Syn. gifts, godsend |
breakdown | (เบรค'ดาวน์) n. ความล้มเหลว, การล้มเจ็บ, การไม่สบาย, การสลายตัว, การวิเคราะห์, การแบ่งออกเป็นส่วน -Conf.break down เสียหมายถึง การที่เครื่องคอมพิวเตอร์หยุดทำงาน ซึ่งเกิดจากความผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่ง |
breathalyse | vt. วิเคราะห์ความเมาจากอากาศที่หายใจออก, See also: breathalysis n.breathalyse ดู breathalyser n. ดูbreathalyse breathalyzer n. ดูbreathalyse |
breathalyze | vt. วิเคราะห์ความเมาจากอากาศที่หายใจออก, See also: breathalysis n.breathalyse ดู breathalyser n. ดูbreathalyse breathalyzer n. ดูbreathalyse |
accommodate | (vt) อำนวยความสะดวก, สงเคราะห์, จัดหาที่พักให้ |
accursed | (adj) ถูกแช่ง, ถูกสาป, เคราะห์ร้าย, อัปรีย์ |
adversity | (n) ความขัดสน, ความทุกข์ยาก, ภัยพิบัติ, ความเคราะห์ร้าย |
aid | (n) ความช่วยเหลือ, การสงเคราะห์, การอุปถัมภ์ |
aid | (vt) ช่วยเหลือ, อุปถัมภ์, สงเคราะห์ |
aider | (n) ผู้ช่วย, ผู้สงเคราะห์, ผู้อุปถัมภ์ |
almoner | (n) ผู้บริจาคทาน, นักสังคมสงเคราะห์ |
ameliorate | (vt) สงเคราะห์, ช่วยเหลือ, เยียวยา, ผดุง |
amelioration | (n) การสงเคราะห์, การเยียวยา, การช่วยเหลือ |
analyse | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ |
analysis | (n) วิภาค, การแยกแยะ, การวิเคราะห์ |
analytic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ |
analytical | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์ |
analyze | (vt) วิเคราะห์, จำแนก, วิภาค, แยกแยะ |
anatomize | (vt) วิเคราะห์, แบ่งแยก, ชำแหละ(ร่างกาย) |
assay | (n) การพยายาม, การทดสอบ, การทดลอง, การวิเคราะห์ |
assay | (vt) พยายาม, ทดสอบ, ตรวจสอบ, ทดลอง, วิเคราะห์ |
assist | (vt) ช่วยเหลือ, สงเคราะห์, สนับสนุน |
assistance | (n) ความช่วยเหลือ, การอนุเคราะห์, การสงเคราะห์ |
asteroid | (n) ดาวเคราะห์ |
AUXILIARY auxiliary verb | (n) กริยาช่วย, กริยานุเคราะห์ |
construe | (n) การตีความ, การวิเคราะห์ประโยค, การอนุมาน, การอธิบาย |
construe | (vt) แปลความ, บรรยาย, อธิบาย, ขยายความ, ชี้แจง, ตีความ, วิเคราะห์ |
critic | (n) นักวิจารณ์, นักวิเคราะห์, ผู้ติ |
criticism | (n) การวิจารณ์, การวิเคราะห์, การติเตียน, บทวิจารณ์ |
criticize | (vt) วิจารณ์, วิเคราะห์, ติเตียน, จับผิด |
delineate | (vt) วาดภาพ, วาดเค้าโครง, วาดลายเส้น, วิเคราะห์, พรรณนา |
delineation | (n) การวาดภาพ, การวาดเค้าโครง, การวาดลายเส้น, การวิเคราะห์, การพรรณนา |
destine | (vt) วางจุดหมาย, กำหนดเป้าหมาย, เป็นเคราะห์กรรม |
destiny | (n) โชคชะตา, ชะตากรรม, เคราะห์กรรม, พรหมลิขิต |
diagnose | (vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค |
diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค |
diagnostic | (adj) เกี่ยวกับการวิเคราะห์โรค, เกี่ยวกับการตรวจโรค |
directory | (n) ประชาสงเคราะห์, คณะกรรมการ |
discreet | (adj) สุขุม, ระมัดระวัง, รอบคอบ, พินิจพิเคราะห์, ไตร่ตรอง, ยั้งคิด |
discriminate | (vi) แยกแยะได้, เห็นความแตกต่าง, รู้จักเลือก, พินิจพิเคราะห์ |
dissect | (vt) ผ่า, ตัดออก, ชำแหละ, วิเคราะห์, จำแนก |
dissection | (n) การผ่าตัด, การชำแหละ, การผ่าศพ, การวิเคราะห์, การจำแนก |
dole | (n) ขอทาน, เงินสงเคราะห์, ส่วนย่อย, ของบริจาค |
doom | (n) คำพิพากษา, คำตัดสิน, เคราะห์กรรม, ความหายนะ, ความตาย, ชะตาขาด |
electrolysis | (n) การวิเคราะห์สารประกอบเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า |
electrolyte | (n) สารประกอบที่ถูกวิเคราะห์ด้วยกระแสไฟฟ้า |
explore | (vt) สำรวจ, ตรวจค้น, ตรวจ, วินิจฉัย, วิเคราะห์ |
fatal | (adj) เกี่ยวกับเคราะห์กรรม, ร้ายแรง, ถึงตาย, เป็นอันตราย, ร้ายกาจ |
fatality | (n) เคราะห์กรรม, อุบัติเหตุ, โชคชะตา, อุปัทวเหตุ |
fate | (n) โชคชะตา, พรหมลิขิต, เคราะห์กรรม, เวรกรรม |
fate | (vt) ทำให้เกิดเคราะห์กรรม |
fateful | (adj) เกี่ยวกับเคราะห์กรรม, เป็นเรื่องความเป็นความตาย, เป็นเวรเป็นกรรม |
fortunate | (adj) โชคดี, เคราะห์ดี, ดวงดี |
fortune | (n) ความมั่งคั่ง, โชคชะตา, เคราะห์, โชคลาภ, ชะตากรรม |