86 ผลลัพธ์ สำหรับ classification
/แคล เสอะ เฝอะ เค้ เฉิ่น/     /K L AE2 S AH0 F AH0 K EY1 SH AH0 N/     /klˌæsəfəkˈeɪʃən/
ฝึกออกเสียง
หรือค้นหา: -classification-, *classification*

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
classification(n) การจัดแบ่งประเภท, Syn. grouping, sorting

Hope Dictionary
classification(แคลสซิฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นหมวดหมู่., See also: classificatory adj. -al adj.

Nontri Dictionary
classification(n) การแบ่งประเภท, การจัดหมวดหมู่, การแยกประเภท

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
classificationการจำแนก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
classificationการแยกประเภท, การจำแนก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
classificationการจำแนกประเภท, การจัดจำพวก [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
classificationการจำแนก [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
classification clauseข้อกำหนดมาตรฐานเรือ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
classification errorความเคลื่อนคลาดในการจัดจำพวก [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
classification of crimesการจำแนกประเภทการกระทำผิดอาญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
classification of lawการแบ่งแยกประเภทกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
classification of tortsการจำแนกประเภทละเมิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
classification societyสมาคมมาตรฐานเรือ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Classificationการวิเคราะห์หนังสือ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Classificationระบบการจัดหมวดหมู่สิทธิบัตรตามการประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา]
Classificationการจำแนก [TU Subject Heading]
Classificationการจัดจำพวก, การจัดกลุ่ม, การจัดลำดับชั้น, การจำแนกชนิด, การแบ่งชนิด, การจัดแบ่งชนิด, การแบ่งกลุ่ม, การแยกประเภท, การจัดแบ่ง, การจัดหมวดหมู่, การจำแนกประเภท, การจำแนกชนิดของโรค [การแพทย์]
Classification Errorความคลาดเคลื่อนในการแบ่งกลุ่ม, Example: เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้สถิติประชากรเกิด ข้อผิดพลาดคลาดเคลื่อน [สิ่งแวดล้อม]
Classification of Diseasesจัดกลุ่มโรค [การแพทย์]
Classification of Diseases, Internationalการจำแนกโรคสากล [การแพทย์]
Classification systemระบบการจำแนกประเภท [เศรษฐศาสตร์]
Classification systemระบบการจัดหมวดหมู่ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Classification systemระบบจัดหมู่ของห้องสมุด, Example: การจัดหมู่ (Classification) หมายถึง กระบวนการที่รวมสิ่งที่เหมือนกันไว้ด้วยกัน สิ่งที่สัมพันธ์เกี่ยวข้องกันก็จะอยู่ใกล้ๆ กัน สิ่งที่แตกต่างกันก็จะแยกออกจากกัน <p> ประเภทของการจัดหมู่ อาจแบ่งอย่างกว้างๆ ได้ 2 ประเภท คือ <p> 1. การจัดหมู่อย่างง่ายๆ หรือจัดตามลักษณะทั่วไป (Artificial Classification) ได้แก่ การจัดกลุ่มของสิ่งต่างๆ ด้วยวิธีการง่ายๆ คือ ดูจากลักษณะภายนอกที่มองเห็น เช่น สี ขนาด รูปร่าง เป็นต้น โดยเป็นการจัดหมู่ที่ไม่คำนึงถึงเนื้อหาหรือลักษณะตามธรรมชาติของสิ่งที่นำมาจัดหมู่ <p> 2. การจัดหมู่ตามธรรมชาติ (Natural Classification) คือ การจัดกลุ่มของสิ่งต่างๆ ออกเป็นหมวด เป็นหมู่ โดยพิจารณาเนื้อหา ลักษณะโครงสร้าง หรือส่วนประกอบต่างๆ ของสิ่งที่นำมาจัดหมู่ เช่น การจัดหมู่วิชาความรู้ (Classification of knowledge) หรือ Philosophical Classification <p> การจัดหมู่หนังสือ คือ กระบวนการในการจัดหมวดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง หรือตามรูปแบบคำประพันธ์ของหนังสือแต่ละเล่ม พร้อมกำหนดสัญลักษณ์แทนเนื้อหาหรือรูปแบบคำประพันธ์ไว้ที่เล่มหนังสือ เพื่อใช้เป็นเครื่องหมายแสดงแหล่งที่อยู่ของหนังสือ <p> วัตถุประสงค์ของการจัดหมู่หนังสือ คือ <p> 1. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการจัดหนังสือเข้าชั้น <p> 2. เพื่อใช้จัดทำบรรณานุกรมตามหมวดหมู่วิชา <p> 3. เพื่อช่วยให้ผู้ใช้สามารถเลือกหนังสือที่ตรงกับความต้องการ หรือสามารถเลือกหนังสือที่เกี่ยวข้องที่ต้องการได้ตนเอง ด้วยวิธีการง่ายๆ สะดวก และรวดเร็ว <p> 4. เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่ห้องสมุดให้บริการทางด้านบรรณานุกรมแก่ผู้ใช้ได้สะดวก <p> 5. เพื่อให้ทราบปริมาณของหนังสือในแต่ละสาขาวิชาว่ามีมากน้อยเพียงไร จะได้สั่งซื้อให้ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ <p> การจัดหมู่หนังสือจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้ ก็ต้องใช้สัญลักษณ์ที่สั้น อ่านเข้าใจง่าย เป็นเครื่องหมายประจำหนังสือ เพื่อกำหนดตำแหน่งที่อยู่ของหนังสือบนชั้น และไม่ว่าห้องสมุดจะใช้การจัดหมู่หนังสือระบบใด เก็บหนังสือไว้ในระบบชั้นเปิด หรือระบบชั้นปิดก็ตาม เครื่องมือสำคัญสำหรับการค้นหาหนังสือก็คือ บัญชีรายชื่อหนังสือของห้องสมุด (Library Catalog) ซึ่งถือเป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงพื้นฐานของห้องสมุดจะต้องทันสมัยและสมบูรณ์อยู่เสมอ <p> แนวคิดพื้นฐานของระบบจัดหมู่หนังสือ <p> ระบบจัดหมู่หนังสือส่วนใหญ่ยึดถือหลักการจัดหมวดหมู่ตามเหตุผล หรือตามวิชาความรู้ คือ จัดแบ่งวิชาความรู้ทั้งมวลในจักรวาลออกเป็นหมวดหมู่ต่างๆ จากหมวดใหญ่ (Class) ไปหาหมวดย่อย (Subclass) และแบ่งเป็นหมู่ย่อยๆ ซึ่งมีเนื้อหาเฉพาะเจาะจง ซึ่งมีเนื้อหาสัมพันธ์กัน ตัวอย่าง การจัดหมู่ระบบทศนิยมดิวอี้ ซึ่งแบ่งวิชาความรู้ออกเป็นลำดับชั้น คือ แบ่งครั้งที่ 1 เป็น10 หมวดใหญ่ แบ่งครั้งที่ 2 เป็น 100 หมวดย่อย แบ่งครั้งที่ 3 เป็น 1000 หมู่ย่อย และแบ่งต่อไปเป็นทศนิยม ดังตัวอย่าง <p> การแบ่งครั้งที่ 1 600 เทคโนโลยี <p> การแบ่งครั้งที่ 2 620 วิศวกรรมและเรื่องที่เกี่ยวข้อง <p> การแบ่งครั้งที่ 3 621 ฟิสิกส์ประยุกต์ <p> ทศนิยม 621.3 อิเล็กโทรแมกเนติกและสาขาวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง <p> 621.38 วิศวกรรมอิเล็กโทรนิกและวิศวกรรมการสื่อสาร <p> 621.381 วิศวกรรมอิเล็กโทรนิก <p> 621.3819 พัฒนาการเฉพาะด้าน <p> 621.38195 คอมพิวเตอร์ <p> การแบ่งหมวดหมู่วิชาความรู้ต่างๆ ในแต่ละระบบ จำเป็นต้องมีสัญลักษณ์แทนเนื้อหาของวิชาความรู้ตามหมวดหมู่ต่างๆ ซึ่งเรียกว่า Notation (ดูเพิ่มเติมที่ Notation) <p> ระบบจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่อง <p> ระบบจัดหมู่หนังสือตามเนื้อเรื่องมีกำเนิดขึ้นในราวปลายคริสตศตวรรษที่ 19 (ดูเพิ่มเติมที่ Library Classification) ระบบที่รู้จักและใช้อย่างแพร่หลาย ได้แก่ ระบบทศนิยมดิวอี้ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ระบบทศนิยมสากล และระบบไม่สู้แพร่หลายนัก ได้แก่ ระบบซับเจ็กท์ ระบบบลิส และระบบโคลอน <p> ประเภทของระบบจัดหมู่หนังสือ <p> แบ่งตามประเภทของเนื้อหาของระบบจัดหมู่ แบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ <p> 1. ระบบจัดหมู่หนังสือทั่วไป (General Classification) เป็นระบบจัดหมู่ที่ครอบคลุมวิชาความรู้ทั้งมวลในจักรวาล ระบบจัดหมู่ประเภทนี้จะเว้นไว้สำหรับเติมวิชาความรู้ใหม่ๆ ไว้ เช่น ระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 2. ระบบจัดหมู่เฉพาะวิชา (Special Classification) เป็นระบบการจัดหมู่ที่ครอบคลุมเนื้อหาสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง เช่น ระบบจัดหมู่หนังสือเฉพาะวิชารัฐประศาสนศาสตร์ของโซเฟีย เอช กลิดเดน ระบบจัดหมู่หนังสือด้านวิชาแพทย์ ของหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน ระบบจัดหมู่หนังสือกฎหมายของ เจ.อาร์เธอ ชิลเลอร์ แห่งมหาวิทยาลัยโคลัมเบีย <p> แบ่งตามการสร้างแผนการจัดหมู่ แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ <p> 1. ระบบจัดหมู่ที่เป็นแผนการจัดหมู่แบบครอบจักรวาล (Enumerative Classification) คือ กำหนดสัญลักษณ์แทนเนื้อหาวิชาความรู้ต่างๆ อย่างสมบูรณ์ และเว้นที่ว่างไว้สำหรับเพิ่มเติมสัญลักษณ์แทนเนื้อหาวิชาความรู้ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ตัวอย่างเช่น ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน และระบบทศนิยมดิวอี้ <p> 2. ระบบแฟเซ็ท หรือฟาเซ็ท (Faceted Classification) เป็นระบบจัดหมู่หนังสือแบบวิเคราะห์และสังเคราะห์ คือ แยกแง่มุมต่างๆ ของเนื้อหาพื้นฐาน ออกเป็นด้านต่างๆ หรือแง่มุมต่างๆ แล้วนำเอาแง่มุมหรือด้านต่างๆ ของเนื้อหาพื้นฐานมาสังเคราะห์เข้าเป็นเลขหมู่ ระบบจัดหมู่แบบนี้เป็นระบบจัดหมู่ที่ทันสมัย แต่ก็มีสัญลักษณ์ที่ยืดยาวไม่สู้สะดวกในการใช้ ตัวอย่างของระบบการจัดหมู่นี้ ได้แก่ ระบบโคลอน <p> บรรณานุกรม <p> ทองหยด ประทุมวงศ์. ระบบจัดหมู่ของห้องสมุด. วารสารวิทยบริการ 7, 1 (ก.ค. 2538) : 67-79 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]

ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
"Binsfeld's classification of demons." "การแบ่งประเภทปีศาจของบินส์ฟิลด์" The Magnificent Seven (2007)
- XY is the book classification code. - XY อยู่แผนกหนังสือลับ National Treasure: Book of Secrets (2007)
In Harvard-Yenching, it's a classification forAsian literature. ที่ฮาวเวิร์ด เยนฉิง มันเอาไว้จัดลำดับหนังสือเอเชียน่ะ RED (2010)
Embarrassing is a better classification. น่าขายหน้าน่าจะเป็นคำที่เหมาะสมกว่า White Tulip (2010)
We're testing everyone with a level four classification or above. เราตรวจสอบหมดแล้ว ด้วยมาตรการระดับ4หรือสูงกว่านั้น Do Shapeshifters Dream of Electric Sheep? (2010)
Different classification entirely... การจัดแบ่งประเภทแตกต่างกันทั้งหมดเลย Aftermath (2010)
Fae is a general classification. อมนุษย์เป็นหมวดหมู่ที่ใช้เรียกกันทั่วไป It's a Fae, Fae, Fae, Fae World (2010)
Dragon classifications. คลาสของมังกร How to Train Your Dragon (2010)
And grids and lists and classification, which is fine, but it's not how the world works, and it's certainly not how the brain works. ตารางข้อมูลและรายการ และการจำแนก เป็นสิ่งที่ดี แต่ไม่ใช่ วิธีที่โลกทำงาน และแน่นอนไม่ใช่ วิธีที่สมองทำงาน Red in Tooth and Claw (2013)
I've calculated what the spectra should look like across a wide range of temperatures, and they match your system of classification perfectly. ฉันได้คำนวณสิ่งที่สเปกตรัม ควรมีลักษณะที่หลากหลาย อุณหภูมิและพวกเขาตรงกับ Sisters of the Sun (2014)

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
หมวดหมู่(n) classification, See also: category, grouping, sort, type, Syn. พวก, หมู่, หมวด, Example: นักภาษาศาสตร์ทำการแบ่งภาษาต่างๆ ในโลกออกเป็นหมวดหมู่ตามโซนและต้นตระกูลภาษา
วิภัตติ(n) categorization, See also: classification, separation, division, Syn. การแบ่ง, การจัดพวก, การจำแนก, การจัดประเภท, Notes: (บาลี)
ปริเฉท(n) chapter, See also: classification, division, compiled and classified articles, Syn. บริเฉท, Example: หนังสือที่ดีจะแบ่งเรื่องราวไว้เป็นสัดส่วนในปริเฉท, Thai Definition: ข้อความที่รวบรวมเอามาจัดเป็นตอนๆ, ข้อความที่กำหนดไว้เป็นหมวดๆ
การจัดประเภท(n) categorization, See also: classification, Example: การจัดประเภทของคำสามารถดูได้จากหน้าที่ของคำ
การจำแนก(n) classification, See also: categorization, Example: ที่ประชุมมีมติให้เลขาฯ ทำการจำแนกข้อมูลรายละเอียดการขายโดยแยกเป็นแต่ละแผนกอย่างชัดเจน
การจำแนกประเภท(n) classification, See also: categorization, Example: พวกเราได้มีการจำแนกประเภทของข้อมูลออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การแบ่งกลุ่ม[kān baeng klum] (n, exp) EN: classification ; clustering
การแบ่งกลุ่มข้อมูล[kān baeng klum khømūn] (n, exp) EN: data clustering ; data classification
การแบ่งกลุ่มข้อมูลอัตโนมัติ[kān baeng klum khømūn attanōmat] (n, exp) EN: automatic classification
การแบ่งหมวดหมู่[kān baeng mūatmū] (n, exp) EN: classification
การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ[kān baeng mūatmū nangseū] (n, exp) EN: classification of books ; library classification  FR: classification des ouvrages [ f ]
การจำแนก[kān jamnaēk] (n) EN: classification ; categorization  FR: classification [ f ] ; classement [ m ] ; catégorisation [ f ] ; distribution [ f ] ; séparation [ f ] ; division [ f ]
การจำแนกประเภท[kān jamnaēk praphēt] (n, exp) EN: classification ; categorization
การจัดประเภท[kān jat praphēt] (n, exp) EN: classification
หมวดหมู่[mūatmū] (n) EN: classification
ระบบการจัดหมวดหมู่หนังสือ[rabop kān jat mūatmū nangseū] (n, exp) EN: library classification  FR: système de classification des livres [ m ] ; système de classification des documents [ m ]

CMU Pronouncing Dictionary
classification
 /K L AE2 S AH0 F AH0 K EY1 SH AH0 N/
/แคล เสอะ เฝอะ เค้ เฉิ่น/
/klˌæsəfəkˈeɪʃən/
classifications
 /K L AE2 S AH0 F AH0 K EY1 SH AH0 N Z/
/แคล เสอะ เฝอะ เค้ เฉิ่น สึ/
/klˌæsəfəkˈeɪʃənz/

Oxford Advanced Learners Dictionary
classification
 (n) /k l a2 s i f i k ei1 sh @ n/ /แคล สิ ฝิ เค้ เฉิ่น/ /klˌæsɪfɪkˈeɪʃən/
classifications
 (n) /k l a2 s i f i k ei1 sh @ n z/ /แคล สิ ฝิ เค้ เฉิ่น สึ/ /klˌæsɪfɪkˈeɪʃənz/

WordNet (3.0)
classification(n) a group of people or things arranged by class or category, Syn. categorisation, categorization
classification(n) the basic cognitive process of arranging into classes or categories, Syn. categorisation, sorting, categorization
classification(n) restriction imposed by the government on documents or weapons that are available only to certain authorized people, Ant. declassification
classification system(n) a system for classifying things

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Classification

n. [ Cf. F. classification. ] The act of forming into a class or classes; a distribution into groups, as classes, orders, families, etc., according to some common relations or affinities. [ 1913 Webster ]


Artificial classification. (Science) See under Artifitial.
[ 1913 Webster ]


CC-CEDICT CN-EN Dictionary
分类[fēn lèi, ㄈㄣ ㄌㄟˋ,   /  ] classification #4,064 [Add to Longdo]
类别[lèi bié, ㄌㄟˋ ㄅㄧㄝˊ,   /  ] classification; category #10,057 [Add to Longdo]
分属[fēn shǔ, ㄈㄣ ㄕㄨˇ,   /  ] classification [Add to Longdo]

DING DE-EN Dictionary
Einstufung { f } | Einstufungen { pl }classification | classifications [Add to Longdo]
Gliederungszeichen { n }classification sign; structuring sign [Add to Longdo]
Kategorisierung { f }classification in categories [Add to Longdo]
Kennzahl { f }classification number [Add to Longdo]
Ordnungssystem { n }classification system [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
分類[ぶんるい, bunrui] (n, vs) classification; categorization; sorting; (P) #819 [Add to Longdo]
区分[くぶん, kubun] (n, vs, adj-no) division; section; demarcation; partition; segmentation; subdivision; (traffic) lane; compartment; classification; sorting; (P) #1,551 [Add to Longdo]
区別(P);區別(oK)[くべつ, kubetsu] (n, vs) distinction; differentiation; classification; (P) #2,611 [Add to Longdo]
種別[しゅべつ, shubetsu] (n, vs) classification; assortment; (P) #3,490 [Add to Longdo]
[ぞう, zou] (n) miscellany (classification of Japanese poetry unrelated to the seasons or to love) #10,291 [Add to Longdo]
格付け[かくづけ(P);かくずけ(ik), kakuduke (P); kakuzuke (ik)] (n, vs) rating; classification; allocation; grading; (P) #10,927 [Add to Longdo]
内訳[うちわけ, uchiwake] (n) itemization (of expenses); the items; breakdown; classification; (P) #15,129 [Add to Longdo]
大別[たいべつ, taibetsu] (n, vs) general classification; (P) #17,431 [Add to Longdo]
類別[るいべつ, ruibetsu] (n, vs) classification #18,103 [Add to Longdo]
カ行[カぎょう, ka gyou] (n) classification for Japanese verb with the dictionary form ending in "ku"; "ka" column or row of the kana syllabary [Add to Longdo]

COMPDICT JP-EN Dictionary
ファセット分類体系[ファセットぶんるいたいけい, fasetto bunruitaikei] faceted classification system [Add to Longdo]
一段階層分類体系[いちだんかいそうぶんるいたいけい, ichidankaisoubunruitaikei] hierarchical classification system, monohiererchical classification system [Add to Longdo]
一般分類体系[いっぱんぶんるいたいけい, ippanbunruitaikei] universal classification system, general classification system [Add to Longdo]
回線種別[かいせんすべつ, kaisensubetsu] line type, line classification [Add to Longdo]
階層化[かいそうか, kaisouka] stratification, classification [Add to Longdo]
階層分類体系[かいそうぶんるいたいけい, kaisoubunruitaikei] hierarchical classification system, monohiererchical classification system [Add to Longdo]
簡略分類体系[かんりゃくぶんるいたいけい, kanryakubunruitaikei] broad classification system [Add to Longdo]
合成形分類体系[ごうせいがたぶんるいたいけい, gouseigatabunruitaikei] synthetic classification system [Add to Longdo]
十進分類体系[じっしんぶんるいたいけい, jisshinbunruitaikei] decimal classification system [Add to Longdo]
深層分類体系[しんそうぶんるいたいけい, shinsoubunruitaikei] close classification system, depth classification system [Add to Longdo]

Time: 0.0343 seconds, cache age: 0.221 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/