205 ผลลัพธ์ สำหรับ *catalog*
/แค้ เถอะ หล่อ กึ/     /K AE1 T AH0 L AO0 G/     /kˈætəlɔːg/
ฝึกออกเสียง
หรือค้นหา: catalog, -catalog-

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
catalog(adj) เกี่ยวกับบัญชีรายชื่อ, Syn. catalogue
catalog(n) บัญชีรายชื่อ, Syn. catalogue, list
catalog(vt) บันทึกในบัญชีรายชื่อ, Syn. catalogue, record
catalog(n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, Syn. catalogue
catalogue(adj) เกี่ยวกับบัญชีรายชื่อ, Syn. catalog
catalogue(n) บัญชีรายชื่อ, Syn. catalog, list
catalogue(vt) บันทึกในบัญชีรายชื่อ, Syn. catalog, record
catalogue(n) สิ่งที่ใช้บันทึกรายชื่อ เช่น สมุด ไฟล์, See also: แค็ตตาล็อก, Syn. catalog
card catalog(n) กล่องบรรจุบัตรข้อมูลที่เรียงลำดับตามตัวอักษร, Syn. card index

Hope Dictionary
catalog(แคท'ทะลอก) n. บัญชีรายชื่อ, รายชื่อ, ระบบรายชื่อ vt. ใส่รายชื่อในบัญชีรายชื่อ, See also: cataloger, cataloguer, catalogist n.
catalogue(แคท'ทะลอก) n. บัญชีรายชื่อ, รายชื่อ, ระบบรายชื่อ vt. ใส่รายชื่อในบัญชีรายชื่อ, See also: cataloger, cataloguer, catalogist n.

Nontri Dictionary
catalog(n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า
catalog(vt) ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ
catalogue(n) บัญชีรายชื่อ, สมุดรายชื่อของ, สมุดแจ้งรายการสินค้า
catalogue(vt) ทำบัญชีของ, ทำรายชื่อของ

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
catalog; catalogue๑. สารบัญแฟ้ม๒. เข้าสารบัญแฟ้ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
catalog; catalogue๑. สารบัญแฟ้ม๒. เข้าสารบัญแฟ้ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
catalogue verseนามาวลี [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Catalog cardบัตรรายการ [เทคโนโลยีการศึกษา]
Anglo-American Cataloguing Rulesหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน, Example: เป็นหลักเกณฑ์การลงรายการทางบรรณานุกรมที่มีการใช้อย่างกว้างขวางในห้องสมุดและหน่วยงานบริการสารสนเทศทั่วโลก ซึ่งเป็นมาตรฐานในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นสื่อความหมายให้ตรงกัน ไม่ว่าสารสนเทศนั้นจะจัดทำหรือใช้ในที่ใด ประเทศใด ภาษาใดก็ตาม สามารถใช้สารสนเทศร่วมกัน และแลกเปลี่ยนกันได้จัดพิมพ์ครั้งที่ 1 ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1967 และ ได้มีการปรับปรุง และแก้ไขเพิ่มเติมอยู่เสมอ ปัจจุบันเป็นฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม ค.ศ. 1998 (Anglo-American Cataloguing Rules, 2nd ed. 1998 Revision) หรือเรียกอย่างย่อว่า AACR2R จัดทำโดยความร่วมมือของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน คณะกรรมการลงรายการของประเทศออสเตรเลียและของประเทศแคนาดา สมาคมห้องสมุดอังกฤษและหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน โดยอาศัยมาตรฐานสากลการลงรายการบรรณานุกรม (ISBD) เป็นหลัก ปัจจุบันกล่าวได้ว่า ISBD เป็นส่วนเดียวกับ AACR2R <p> AACR2R ได้กำหนดรูปแบบในการลงรายการบรรณานุกรมออกเป็น 8 ส่วน คือ <p> 1) ส่วนชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ <p> 2) ส่วนฉบับพิมพ์ <p> 3) ส่วนรายละเอียดเฉพาะวัสดุ หรือประเภทของสิ่งพิมพ์ <p> 4) ส่วนการพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p> 5) ส่วนลักษณะทางกายภาพ <p> 6) ส่วนชุด <p> 7) ส่วนหมายเหตุ <p> 8) ส่วนเลขมาตรฐานและข้อความที่เกี่ยวกับการได้รับ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalog cardบัตรรายการ, Example: บัตรที่บันทึกรายการต่างๆ ซึ่งเป็นข้อมูลของหนังสือ รายการต่างๆ นั้น ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ ปีที่พิมพ์ จำนวนหน้า ภาพประกอบ ชื่อชุด หมายเหตุ รายการเลขมาตรฐานสากล และแนวสืบค้น ซึ่งบัตรรายการนี้ เป็นเครื่องมือสำหรับผู้อ่านในการค้นหาหนังสือในห้องสมุด เนื่องจากในบัตรรายการจะประกอบด้วยเลขเรียกหนังสือด้วย <br> <br> การเรียงบัตรรายการแยกตามประเภทของบัตรผู้แต่ง บัตรชื่อเรื่อง บัตรหัวเรื่อง ภายใต้บัตรแต่ละประเภทนั้น จัดเรียงตามลำดับตัวอักษรแบบพจนานุกรม <br> <br> บัตรรายการทำด้วยกระดาษขนาด 3x5 นิ้ว ด้านล่างของบัตรเจาะรูสำหรับร้อยบัตรเก็บไว้ในลิ้นชักตู้บัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalogingการทำบัตรรายการ, การลงรายการทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging in Publicationการจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์ , การจัดทำข้อมูลรายการในสิ่งพิมพ์, Example: Cataloging in Publication หรือ CIP คือ การจัดทำรายการข้อมูลในสิ่งพิมพ์ เป็นโครงการหนึ่งของหอสมุดรัฐสภาอเมริกับหน่วยงานอื่นๆ ในการจัดการรายการบรรณานุกรม โครงการนี้ เริ่มเมื่อปี ค.ศ. 1971 เพื่อกระจายข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดรัฐสภาอเมริกันและหน่วยงานที่ร่วมโครงการ ข้อมูลที่นำมาสร้างข้อมูลรายการสิ่งพิมพ์นี้ ได้มาจากสำนักพิมพ์ผู้ร่วมโครงการ มีข้อมูลมากพอที่ให้บรรณารักษ์ใช้ในการทำบัตรรายการหรือรายการหลักได้ หรือใช้เป็นตัวช่วยในการลงรายการ โดยมีการดัดแปลงหรือแก้ไขให้ตรงกับนโยบายในการลงรายการ หรือให้มีความเหมาะสมกับการให้บริการของห้องสมุดมากขึ้น ทำให้ลดเวลาในการวิเคราะห์หนังสือได้มาก สามารถส่งหนังสือออกให้บริการได้เร็วขึ้น <p> <p> การจัดทำ Cataloging ของหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน มีความสมบูรณ์ในกระบวนการจัดทำรายการบรรณานุกรมของหนังสือ กล่าวคือ สำนักพิมพ์จะต้องส่งแบบฟอร์มการลงรายการบรรณานุกรม (CIP Data Application form) พร้อมเอกสารฉบับเต็มมายังหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ของงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศกำหนดการลงรายการบรรณานุกรม พร้อมส่งกลับไปยังสำนักพิมพ์ เพื่อจัดพิมพ์ข้อมูลบรรณานุกรมดังกล่าวลงในหน้าหลังหน้าปกใน (Verso) ซึ่งรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้ ก็จะถูกส่งออกไปยังห้องสมุด และร้านค้าหนังสือทั่วโลก แต่กระบวนการกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมยังไม่เสร็จสิ้นสมบูรณ์จนกว่าสำนักพิมพ์จะส่งหนังสือกลับมายังงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเติมข้อมูลให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เช่น จำนวนหน้า ขนาดและตรวจสอบความถูกต้องจากการพิมพ์ของสำนักพิมพ์อีกครั้ง หลังจากการตรวจสอบ รูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เครื่องคอมพิวเตอร์อ่านได้จะถูกเผยแพร่อีกครั้ง จากกระบวนการดังกล่าวนี้เอง ทำให้หอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกัน สามารถจัดเก็บหนังสือทุกเล่มที่ผลิตในประเทศ และเป็นการควบคุมบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ที่ผลิตในประเทศสหรัฐอเมริกาได้อย่างครบถ้วน <p> <p> หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย เป็นอีกแห่งหนึ่งที่ประสบผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติด้วยกรอบของวิธีการ ๒ แนวทาง กล่าวคือ กฎหมายการพิมพ์ที่ให้ความสำคัญกับหอสมุดแห่งชาติในการจัดเก็บสิ่งพิมพ์ของประเทศ และการแบ่งปันรายการบรรณานุกรมระหว่างห้องสมุดทั้งภายในและต่างประเทศ โดยหน้าที่สำคัญประการหนึ่งของหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย ก็คือ การกำหนดข้อมูลบรรณานุกรมของสิ่งพิมพ์ซึ่งมีกระบวนการที่ไม่ต่างจากหอสมุดแห่งชาติรัฐสภาอเมริกันเท่าใดนัก นับตั้งแต่สำนักพิมพ์ส่งงานที่จะพิมพ์พร้อมเลข ISBN ที่ได้รับมาจากตัวแทนออกเลข ISBN จนถึงส่งมาให้หอสมุดแห่งชาติออสเตรเลียจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมแห่งชาติ จนถึงขั้นตอนสุดท้ายของการจัดทำ CIP คือ การส่งสิ่งพิมพ์ดังกล่าวเข้าหอสมุดแห่งชาติออสเตรเลีย <p> <p> ส่วนหอสมุดแห่งชาติอังกฤษ สำนักพิมพ์ และร้านหนังสือที่จัดพิมพ์หนังสือใหม่ ซึ่งต้องการข้อมูลทางบรรณานุกรมของหนังสือ (Cataloguing-in-Publication - CIP) รวมถึงห้องสมุดที่ต้องการข้อมูลหนังสือใหม่เพื่อแจ้งไปยังผู้ใช้บริการในรูปแบบของ Alert services จะต้องติดต่อขอรับบริการข้อมูล CIP ที่ Bibliographic Data Services Limited - BDSL ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่มีความเชี่ยวชาญในการจัดทำ CIP ซึ่งมีมาตรฐานตามที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษกำหนด ด้วยการติดต่อตรงไปยัง BDSL หรือติดต่อผ่านไปที่หอสมุดแห่งชาติอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูล CIP ที่ได้อาจใช้เป็นเพียงข้อมูลเบื้องต้นในการลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรม จนกว่าหอสมุดแห่งชาติอังกฤษจะได้รับตัวเล่มจากสำนักพิมพ์ จึงจะมีการวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศอีกครั้งเพื่อเพิ่มเติมข้อมูลให้ครบถ้วน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่ถาวรต่อไป <p> <p> ในประเทศไทย หอสมุดแห่งชาติ รับบริการจัดทำข้อมูลทางบรรณานุกรมให้กับสำนักพิมพ์หรือหน่วยงานที่ขอใช้บริการเช่นเดียวกับการให้บริการหมายเลข ISBN <p> <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110314-CIP.jpg" width="640" height="200" alt="CIP"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาต่างประเทศ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-cip.jpg" width="640" height="200" alt="CIP2"> ภาพตัวอย่าง CIP หนังสือภาษาไทย <p>รายการบรรณานุกรม <p>United States Copyright Office. [ ออนไลน์ ] http://en.wikipedia.org/wiki/United_States_Copyright_Office. Accessed: 20100628 : 00.07. <p> <p>Haddad, Peter. 1999. National bibliography in Australia: moving into the next millennium. [ ออนไลน์ ] http://archive.ifla.org/IV/ifla65/papers/016-123e.htm. Accessed: 20100629 : 09.50. <p> <p>National Library of Australia. Cataloguing-in-publication user guide. [ ออนไลน์ ] http://www.nla.gov.au/services/user-guide.html. Accessed: 20100629 : 09.55. <p> <p>Bibliographic Data Services Limited. [ ออนไลน์ ]. http://www.bibliographicdata.co.uk. Accessed: 20100629 : 17.30. <p> <p>Nielsen UK ISBN Agency. [ ออนไลน์ ] http://www.isbn.nielsenbook.co.uk/controller.php?page=121. Accessed: 20100629 : 14.25. <p> <p>The British National Bibliography. [ ออนไลน์ ] http://www.bl.uk/bibliographic/natbib.html. Accessed: 20100629 : 13:00. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
MAchine Readable Catalogingการลงรายการที่เครื่องสามารถอ่านได้, Example: MAchine - Readable Cataloging คือ รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศที่คอมพิวเตอร์สามารถอ่านได้ เป็นรูปแบบมาตรฐานสากลเพื่อการจัดเก็บ สื่อสาร แลกเปลี่ยน และถ่ายโอนข้อมูลรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศและรายการที่เกี่ยวข้อง จัดทำขึ้นโดยหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน (Library of Congress) เมื่อปี ค.ศ. 1966 <p>โครงการมาร์กเป็นโครงการนำร่อง (MARC (MAchine-Readable Cataloging) Pilot Project) ที่ได้รับเงินสนับสนุนจาก Council on Library Resources มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า มาร์กวัน (MARC I) เพื่อบันทึกข้อมูลทางบรรณานุกรมในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์อ่านได้ และแจกจ่ายออกไปยังห้องสมุดสมาชิกจำนวน 16 แห่งทุกสัปดาห์ในรูปแบบของเทปแม่เหล็ก เพื่อนำไปผลิตรายการ รายการหนังสือในรูปแบบเล่ม และรายการบรรณานุกรมเฉพาะสาขา ต่อมาในปี ค.ศ. 1967 จึงได้มีการนำรูปแบบมาร์กทู (MARC II) เข้ามาช่วยในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศในทุกรูปแบบ ระหว่างห้องสมุดที่มีการใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ต่างกัน ในปี ค.ศ. 1971 โครงการมาร์กได้เริ่มต้นขยายไปสู่งานที่เขียนด้วยตัวอักษรโรมันและงานในรูปแบบอื่นๆ ไม่เฉพาะหนังสือเท่านั้นโดยไม่จำกัดภาษา <p>ในทศวรรษ 1980 ยูเอสมาร์ก (USMARC) ซึ่งเป็นมาร์กเวอร์ชั่น American ได้แบ่งเป็นเวอร์ชั่น Canadian ซึ่งเรียกว่า CANMARC หลังจากมีการแก้ไขและปรับปรุงทั้ง 2 รูปแบบ คือ USMARC และ CANMARC แล้วในปี ค.ศ. 1997 ได้มีการรวม 2 รูปแบบเข้าด้วยกันอีกครั้งและแก้ไขปรับปรุงเพื่อให้ตรงตามความต้องการที่เฉพาะของผู้ใช้มากยิ่งขึ้น และเรียกรูปแบบนี้ว่า มาร์ก 21 (MARC 21) ซึ่งสื่อถึงศตวรรษที่ 21 รับผิดชอบโดย Network Development and MARC Standards Office, Library of Congress ร่วมกับ The Standards and the Support Office, The Library and Archives Canada การแก้ไขปรับปรุงมาสู่มาร์ก 21 คือ การปรับข้อกำหนดหน่วยข้อมูลย่อยในมาร์ก ให้ครอบคลุมการทำรายการสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้เหมาะกับการสื่อสารในระดับนานาชาติมากยิ่งขึ้น และใช้งานร่วมกับหลักเกณฑ์การลงรายการแบบแองโกลอเมริกัน ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขปรับปรุง (Anglo-American Cataloguing Rules 2nd ed., 1998 Revision-AACR 2) <p>โครงสร้างรายการ MARC21 แบ่งเป็น 3 ส่วน <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/20120504-MARC.jpg" width="640" higth="200" alt="MAchine Readable Cataloging"> <p>ส่วนนำระเบียนหรือป้ายระเบียน (Leader หรือ record label) มีประโยชน์ในการสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผล เป็นส่วนแรกเริ่มของระเบียนข้อมูลที่บันทึกอยู่ในรูปของรหัส มีความยาวคงที่จำนวน 24 อักขระ เช่น <p>1. จำนวนอักขระในระเบียน <p>2. สถานภาพของระเบียน เช่น ระเบียนใหม่ <p>3. ประเภทของระเบียน เช่น ระเบียนของหนังสือ <p>4. ระดับทางบรรณานุกรม <p>5. จำนวนอักขระของตัวบ่งชี้ <p>6. จำนวนอักขระของเขตข้อมูลย่อย <p>ส่วนนามานุกรมระเบียนหรือตารางระบุตำแหน่งเขตข้อมูล (record directory) ช่วยให้คำสั่งค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เป็นส่วนที่ 2 ที่ระบุว่าในระเบียนมีเขตข้อมูลอะไรบ้าง แต่ละเขตข้อมูลมีความยาวเท่าไร ตำแหน่งเริ่มต้นที่ตำแหน่งใด ทำให้คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลในระเบียนได้อย่างรวดเร็ว <p>ส่วนเขตข้อมูล (Variable field) เขตข้อมูลในการลงรายการประกอบด้วย <p>1. ส่วนเขตข้อมูลควบคุม (variable control field) ประกอบด้วยเขตข้อมูลที่กำหนดความยาวคงที่ <p>2. ส่วนเขตข้อมูลสำหรับและบันทึกและสืบค้น (variable data field) ไม่จำกัดความยาวหรือไม่คงที่ ใช้ลงรายการข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศส่วนต่างๆ <p>การระบุรหัสการจัดการข้อมูลที่ลงรายการ ซึ่งประกอบด้วย <p>1. เลขประจำตัวเขตข้อมูล (tag number) <p>2. ตัวบ่งชี้ (indicator) <p>3. รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) <p>เลขประจำเขตข้อมูล (Tag number) เป็นเลข 3 หลัก แบ่งเป็น 10 กลุ่ม <p>0XX เขตข้อมูลเกี่ยวกับการควบคุมและระบุเลขเรียกวัสดุสารสนเทศ <p>1XX เขตข้อมูลรายการหลัก <p>2XX เขตข้อมูลชื่อเรื่องและการแจ้งความรับผิดชอบ ฉบับพิมพ์ การพิมพ์ การจำหน่าย ฯลฯ <p>3XX เขตข้อมูลลักษณะรูปร่าง <p>4XX เขตข้อมูลชื่อชุด <p>5XX เขตข้อมูลหมายเหตุ <p>6XX เขตข้อมูลหัวเรื่อง <p>7XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มที่ไม่ใช่หัวเรื่อง และชื่อชุด <p>8XX เขตข้อมูลรายการเพิ่มชื่อชุด <p>9XX เขตข้อมูลที่สงวนไว้ให้หน่วยงาน กำหนดใช้ภายในได้ <p>ตัวบ่งชี้ (indicator) เป็นรหัส 2 ตัวแรกของแต่ละเขตข้อมูล มีค่า 0-9 หรือเว้นว่าง (blank) หรือมีสัญลักษณ์เป็น # ใช้เพื่อประมวลผลการสืบค้นและแสดงผล เช่น <p>100 0 สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์ <p>มี indicator ตัวแรกเป็น 0 หมายความว่า ชื่อผู้แต่ง ลงรายการด้วยชื่อต้น เช่น ชื่นคนไทย หรือหากตัวบ่งชี้แรกเป็น 1 หมายความว่า ชื่อผู้แต่งลงรายการด้วยชื่อสกุลที่เป็นคำเดียว เป็นต้น <p>รหัสเขตข้อมูลย่อย (subfield code) แต่ละเขตข้อมูลจะประกอบด้วยเขตข้อมูลย่อย เช่น <p>260 $aปทุมธานี :$bศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, $c2552 <p>เขตข้อมูลย่อย a หมายถึง สถานที่พิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย b หมายถึง สำนักพิมพ์/หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดพิมพ์ <p>เขตข้อมูลย่อย c หมายถึง ปีที่พิมพ์ <p>ตัวอย่างเขตข้อมูลย่อยของเขตข้อมูล 100 <p>100 $a Personal name (NR) <p>100 $b Numeration (NR) <p>100 $c Titles and other words associated with a name (R) <p>100 $d Dates associated with the name (NR) <p>100 $e Relator term (NR) <p>100 $g Miscellaneous information (NR) <p>100 $j Attribution qualifier (R) <p>100 $k Form subheading (R) <p>100 $l Language of a work (NR) <p>100 $n Number of part/section of a work (R) <p>100 $p Name of part/section of a work (R) <p>100 $q Fuller form of name (NR) <p>100 $t Title of a work (NR) <p>100 $u Affiliation (NR) <p>100 $0 Authority record content number (R) <p>100 $4 Relator code (R) <p>100 $6 Linkage (NR) <p>100 $8 Field link and sequence number (R) <p> รายการอ้างอิง <p>Bryne, Deborah J. MARC Manual : Understanding and Using MARC Records. Englewood, Colo. : Libraries Unlimited, 1991. <p>Library of Congress. Network Development and MARC Standards Office. MARC21 Format for Bibliographic Data. http://www.loc.gov/marc/bibliographic/ Accessed: 12-02-2-12 <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา การวิเคราะห์สารสนเทศ 13312 หน่วยที่ 8-11. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. นนทบุรี : สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 <p>อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://stks.or.th/th/knowledge-bank/28-library-science/1821-20120303-marc21.html [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Names, Personal (Cataloging)ชื่อบุคคล (การทำบัตรรายการ) [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Card catalog cabinetตู้บัตรรายการ, Example: <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ <p><img src="http://www.thaiglossary.org/sites/default/files/CardCarbinet2.jpg" alt="Card-Catalog-Cabinet"> <p>ภาพตู้บัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalogแค็ตตาล็อก, บัญชีรายชื่อ หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ที่มีภาพสินค้าเช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสําหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalogerบรรณารักษ์ผู้ทำบัตรรายการ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Catalog copyบัตรร่าง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Corporate heading (Cataloging)รายการนิติบุคคล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Descriptive catalogingการลงรายการเชิงพรรณนา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online library catalogรายการบรรณานุกรมออนไลน์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Online Public Access Catalogรายการเข้าถึงแบบออนไลน์, Example: <p>คือ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้คอมพิวเตอร์ เพื่ออำนวยความแก่ผู้ใช้ในการสืบค้นและชี้แหล่งรายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีอยู่ในห้องสมุดว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการหรือไม่ หากมีก็จะแจ้งให้ผู้ใช้ทราบข้อมูลรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูลทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ เลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนตัดสินใจคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ และจะไปหาตัวเล่มบนชั้นต่อไป อีกทั้งยังช่วยให้ผู้ใช้ค้นหาข้อมูลครั้งเดียวแต่ได้ข้อมูลหลากประเภทในเวลาเดียวกัน เช่น หนังสือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความวารสาร เป็นต้น จากช่องทางการสืบค้น ต่างๆ เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง เลขเรียกหนังสือ เป็นต้น ซึ่งใช้หลักการสืบค้นเช่นเดียวกับการสืบค้นด้วยบัตรรายการ แต่มีความสะดวก รวดเร็วและค้นหาได้ตลอด 24 ชั่วโมง เนื่องจากแหล่งบริการสารสนเทศส่วนใหญ่ใช้ระบบออนไลน์บนอินเทอร์เน็ต อีกทั้งผู้ใช้ยังสามารถสั่งพิมพ์ ดาวน์โหลด หรือ export รายการที่สืบค้นได้ เพื่อส่งผ่านทางอีเมลต่อไป รวมถึงทำให้ผู้ใช้ได้รับข้อมูลที่ทันสมัย เนื่องจากเมื่อห้องสมุดได้รับทรัพยากรใหม่ๆ เข้ามาในห้องสมุด หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล บรรณารักษ์ก็จะทำการปรับปรุงข้อมูลในฐานข้อมูลอยู่เสมอ <p>ตัวอย่างหน้าแรกของ Online Public Access Catalog ของศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-1.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>ตัวอย่างหน้า Online Public Access Catalog ซึ่งแสดงรายระเอียดทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศ พร้อมเลขเรียกหนังสือ สถานภาพ และสถานที่จัดเก็บ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-opac-2.jpg" Title="OPAC" alt="OPAC"> <p>แหล่งข้อมูล <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Printed catalogรายการบัตรของห้องสมุด [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Publisher's catalogบัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์, Example: <P>บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ (Publisher's catalog) ใช้สำหรับแสดงรายการสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ของสำนักพิมพ์ วัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่รายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์แต่ละแห่งเป็นเจ้าของ รวมทั้งรายการสิ่งพิมพ์ที่สำนักพิมพ์วางแผนจะผลิตหรือตีพิมพ์จำหน่าย <p>ในห้องสมุด บรรณารักษ์งานจัดหา ใช้บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ สำหรับการติดตาม และตรวจสอบรายการสิ่งพิมพ์ใหม่ที่น่าสนใจ ในการพิจารณาคัดเลือกเข้าห้องสมุด <p>ตัวอย่าง บัญชีรายชื่อของสำนักพิมพ์ เช่น ของสมาคม American Chemical Society (ACS) ได้จัดทำบัญชีรายชื่อ ACS Publications Product Catolog 2012 หรือ Karger Libri Catolog 2012 ของสำนักพิมพ์ Karger Libri AG เป็นต้น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Union catalogสหบัตร, สหบรรณานุกรม, Example: สหบัตร/สหบรรณานุกรม เป็นรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดของห้องสมุดหลายแห่งมารวมไว้ในรายการเดียวกัน มีชื่อหรืออักษรย่อของห้องสมุดกำกับไว้ เพื่อให้ทราบว่ารายการนั้นๆ มีอยู่ที่ห้องสมุดแห่งใด <p> <p> <p>เดิมที่ยังใช้บัตรรายการในการลงรายการทางบรรณานุกรมของทรัพยากรสารสนเทศนั้น จะเป็นการรวมรายการบัตรของห้องสมุดไว้เป็นรายการบัตรเดียวกันในแต่ละบัตรรายการจะมีชื่อหรืออักษรย่อของชื่อของห้องสมุดกำกับไว้เช่นเดียวกัน โดยทั่วไปจัดเรียงบัตรรายการตามลำดับอักษรชื่อผู้แต่ง หรืออาจจะเรียงลำดับตามหัวข้อวิชา อาจจะจัดพิมพ์เป็นรูปเล่มได้ <p>การจัดทำสหบัตรหรือสหบรรณานุกรมมีประโยชน์หลายประการ คือ <p>1. ทำให้ทราบแหล่งทรัพยากรสารสนเทศว่ามีอยู่ในห้องสมุดใดบ้าง <p>2. ทำให้ประหยัดงบประมาณในการจัดซื้อทรัพยากรสารสนเทศ โดยอาจมีข้อตกลงในการจัดหาร่วมกัน ห้องสมุดแห่งใดมีรายการทรัพยากรสารสนเทศนั้นแล้ว ห้องสมุดแห่งอื่นไม่จำเป็นต้องซื้อมาซ้ำอีก สามารถใช้บริการยืม-คืนระหว่างห้องสมุด <p>3. ทำให้สามารถรวบรวมรายการทรัพยากรสารสนเทศตามผู้แต่ง หรือกลุ่มสาขาวิชาได้สะดวกและรวดเร็ว <p>ตัวอย่าง <p>สหบัตรของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดทำโดย หอสมุดกลาง สถาบันวิทยบริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวบรวมบัตรรายการของทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 2521-2529 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120825-Union-Catalog.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog"> <p>จากภาพจะเป็นการรวมสหบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งจากรายการตัวอย่าง จะเห็นว่ารายการนี้มีอยู่ในห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ ศูนย์เอกสารประเทศ และหอสมุดกลาง <p>ปัจจุบันมีการจัดทำฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมมหาวิทยาลัย โดยสำนักบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ได้ริเริ่มดำเนินงานโครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ในการรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุมหาวิทยาลัย/สถาบัน มหาิวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และห้องสมุดสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน เข้าด้วยกัน <p>ตัวอย่าง รายการสหบรรณานุกรมจากฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมของโครงการ ThaiLIS <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-Union-Catalog-ThaiLIS.jpg" width="540" higth="100" alt="Union-Catalog-ThaiLIS"> <p>จากตัวอย่างข้างต้นจะปรากฏว่า หนังสือ เรื่อง คิดถึงทุกปี ของ บินหลา สันกาลาคีรี มีอยู่ในห้องสมุด 14 แห่ง <p>รายการอ้างอิง <p>สุนทรี หังสสูต. สหบัตรและรวมรายชื่อวารสาร. หน้า 61-66 ใน การควบคุมทางบรรณานุกรมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2523. <p>Reitz, Joan M. Dictionary for library and information science. Westport, Conn. : Libraries Unlimited, 2004. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Union catalog databaseฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม, Example: <p>หมายถึง ฐานข้อมูลที่รวบรวม และชี้แหล่งรายการบรรณานุกรมทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีให้บริการในห้องสมุดแต่ละแห่ง โดยผู้ใช้สามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการจากห้องสมุดต่างๆ พร้อมกัน ด้วยการค้นหาเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดความสะดวกและรวดเร็วในการค้นหา และเข้าถึงรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันผ่านบริการยืมระหว่างห้องสมุดทำให้ช่วยประหยัดงบประมาณในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเข้าห้องสมุด ตลอดจนการช่วยลดความซ้ำซ้อนในการวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการทรัพยาสารสนเทศสำหรับบรรณารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ห้องสมุด เนื่องจากสามารถค้นหาและถ่ายโอนรายการทรัพยากรสารสนเทศจากห้องสมุดต่างๆ เข้าสู่ระบบห้องสมุดอัตโนมัติของตนเองได้ด้วย <p>ทั้งนี้ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม ฐานแรกของไทย เกิดขึ้นจากความร่วมมือของเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย หรือ ThaiLIS ซึ่งย่อมาจากคำว่า Thailand Library Integrated System ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค <p>ในส่วนสำนักงานพัฒนาวิทยศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยฝ่ายบริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการพัฒนาฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ คือ NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยโปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการที่เป็นโอเพนซอร์สซอฟต์แวร์ คือ Koha ซึ่งผู้ใช้บริการสามารถค้นหารายการทรัพยากรสารสนเทศที่มีให้บริการภายใต้ห้องสมุดเครือข่ายที่เข้าร่วมโครงการ เข้าถึงที่ http://thailibrary.org <p><img src=" http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110606-union-catalog.jpg " Title="Union catalog database" alt="Union catalog database"> <br>ภาพ ฐานข้อมูล NSTDA Online Library และเครือข่ายความร่วมมือ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of manuscriptการทำบัตรรายการต้นฉบับตัวเขียน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of mapsการทำบัตรรายการแผนที่ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of nonbook materialsการทำบัตรรายการวัสดุไม่ตีพิมพ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of serial publicationsการทำบัตรรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of government publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Cataloging of audio-visual materialsการทำบัตรรายการโสตทัศนวัสดุ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Anglo-American cataloging rulesกฎเกณฑ์การทำรายการแบบแองโกลอเมริกัน [TU Subject Heading]
Catalog cardsบัตรรายการ [TU Subject Heading]
Catalogingการทำรายการ (บรรณารักษศาสตร์) [TU Subject Heading]
Cataloging of audio-visual materialsการทำรายการโสตทัศนวัสดุ [TU Subject Heading]
Cataloging of computer network resourcesการทำรายการแหล่งข้อมูลข่ายงานคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading]
Cataloging of conference proceedingsการทำรายการรายงานการประชุม [TU Subject Heading]
Cataloging of government publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading]
Cataloging of serial publicationsการทำรายการสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง [TU Subject Heading]
Catalogsรายการ [TU Subject Heading]
Catalogs and collectionsรายการและงานสะสม [TU Subject Heading]
Catalogs, Cardรายการบัตร [TU Subject Heading]
Catalogs, Drugรายการยา [TU Subject Heading]
Catalogs, Unionสหรายการ [TU Subject Heading]
CD-ROM catalogsรายการซีดี-รอม [TU Subject Heading]
Commercial catalogsรายการสินค้า [TU Subject Heading]
Corporate headings (Cataloging)รายการนิติบุคคล (การทำรายการ) [TU Subject Heading]
Descriptive catalogingการทำรายการส่วนบรรณานุกรม [TU Subject Heading]
Film catalogsรายการภาพยนตร์ [TU Subject Heading]
Government headings (Cataloging)นามส่วนราชการ (การทำรายการ) [TU Subject Heading]
Library catalogsรายการของห้องสมุด [TU Subject Heading]
Microform catalogsรายการวัสดุย่อส่วน [TU Subject Heading]
Online library catalogsรายการแบบออนไลน์ [TU Subject Heading]
Subject catalogingการทำรายการส่วนเนื้อเรื่อง [TU Subject Heading]
Video catalogsรายการวีดิทัศน์ [TU Subject Heading]
Catalogs, Drugรายการยา [การแพทย์]

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
catalogue(n) รายการ
subjectcatalogingรายการทรัพยากรสารสนเทศ

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
catalogAll our catalogues are free for the asking.
catalogHowever, the color was different from the sample color in your catalog.
catalogI'd appreciate it if you sent me your latest catalog.
catalogIf it is not free, please let me know how much the catalogue and the postage to Japan are.
catalogI would like to get your latest catalogue.
catalogI would like to purchase your latest mail order catalogue.
catalogOur catalog will be sent on demand.
catalogPlease send me a catalogue.
catalogPlease send me a catalogue for review.
catalogPlease send me your latest catalogue.
catalogSend me a new catalog.
catalogShopping by mail through catalogs gives people a wide choice of merchandise.
catalogThe means of communication can include letters, magazine and newspaper advertisements, radio and television commercials, and telephone marketing, as well as catalogs.
catalogThe role of the historian is less to discover and catalog documents than to interpret and explain them.
catalogWe look forward to receiving the catalog soon.
catalogWe wish to quote a part of your paper in our new catalogue.
catalogWhere can I go to buy art books and catalogues?
catalogWith regard to your letter of July 22nd, I enclose our most recent catalogue.

NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
บัตรรายการ(n) catalogue card, See also: card index (library), Example: นักศึกษาสามารถค้นหนังสือได้จากบัตรรายการในห้องสมุด
รายการ(n) catalogue, See also: list, list of items, directory, record, Example: ซีดีรอมเพียงสองแผ่นสามารถจะบรรจุรายการหนังสือได้มากกว่าหนึ่งล้านเล่ม, Count Unit: รายการ, Thai Definition: บัญชีแจ้งรายชื่อและจำนวนเป็นต้นของสิ่งต่างๆ
แค็ตตาล็อก(n) catalog, See also: catalogue, Example: ห้างสรรพสินค้าส่งแค็ตตาลอกมาให้เขาทุกเดือน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: หนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ เป็นต้น ที่มีภาพสินค้า เช่น เสื้อผ้า เครื่องใช้ไฟฟ้า พร้อมรายละเอียดของสินค้าเพื่อเผยแพร่หรือสำหรับให้ลูกค้าเลือกซื้อ
บานแผนก(n) table of contents, See also: catalog, list, , Syn. สารบาญ, บัญชีเรื่อง

Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บัญชี[banchī] (n) EN: list ; roll ; roster ; catalog  FR: liste [ f ] ; rôle [ m ]
บานแผนก[bānphanaēk] (n) EN: table of contents ; catalog ; list  FR: table des matières [ f ]
บัตรรายการ[bat rāikān] (n, exp) EN: catalogue card ; index card
แค็ตตาล็อก[khaettālǿk] (n) EN: catalogue ; catalog (Am.)  FR: catalogue [ m ]
รายการ[rāikān] (n) EN: list ; directory ; agenda ; catalogue ; program ; account  FR: liste [ f ] ; répertoire [ m ] ; programme [ m ]
รายการหนังสือ[rāikān-nangseū] (n) EN: catalogue = catalog (Am.)  FR: catalogue [ m ]
รายการสินค้า[rāikān sinkhā] (n, exp) EN: catalogue ; catalog (Am.) ; list of goods  FR: catalogue [ m ] ; liste des produits [ f ]
รายการสินค้าเสมือนจริง[rāikān sinkhā sameūoen jing] (n, exp) EN: virtual catalog  FR: catalogue virtuel [ m ]

CMU Pronouncing Dictionary
catalog
 /K AE1 T AH0 L AO0 G/
/แค้ เถอะ หล่อ กึ/
/kˈætəlɔːg/
catalogs
 /K AE1 T AH0 L AA0 G Z/
/แค้ เถอะ หล่า กึ สึ/
/kˈætəlɑːgz/
catalogs
 /K AE1 T AH0 L AO0 G Z/
/แค้ เถอะ หล่อ กึ สึ/
/kˈætəlɔːgz/
cataloged
 /K AE1 T AH0 L AO0 G D/
/แค้ เถอะ หล่อ กึ ดึ/
/kˈætəlɔːgd/
cataloger
 /K AE1 T AH0 L AO2 G ER0/
/แค้ เถอะ ลอ เก่อ (ร)/
/kˈætəlˌɔːgɜːʴ/
catalogue
 /K AE1 T AH0 L AO2 G/
/แค้ เถอะ ลอ กึ/
/kˈætəlˌɔːg/
catalogers
 /K AE1 T AH0 L AO2 G ER0 Z/
/แค้ เถอะ ลอ เก่อ (ร) สึ/
/kˈætəlˌɔːgɜːʴz/
cataloging
 /K AE1 T AH0 L AA0 G IH0 NG/
/แค้ เถอะ หล่า กิ่ง/
/kˈætəlɑːgɪŋ/
catalogued
 /K AE1 T AH0 L AO2 G D/
/แค้ เถอะ ลอ กึ ดึ/
/kˈætəlˌɔːgd/
catalogues
 /K AE1 T AH0 L AO2 G Z/
/แค้ เถอะ ลอ กึ สึ/
/kˈætəlˌɔːgz/
cataloguing
 /K AE1 T AH0 L AO2 G IH0 NG/
/แค้ เถอะ ลอ กิ่ง/
/kˈætəlˌɔːgɪŋ/

Oxford Advanced Learners Dictionary
catalog
  /k a1 t @ l o g/ /แค้ เถอะ เหล่าะ กึ/ /kˈætəlɒg/
catalogs
  /k a1 t @ l o g z/ /แค้ เถอะ เหล่าะ กึ สึ/ /kˈætəlɒgz/
catalogue
 (vt, n) /k a1 t @ l o g/ /แค้ เถอะ เหล่าะ กึ/ /kˈætəlɒg/
catalogued
 (vt, vt) /k a1 t @ l o g d/ /แค้ เถอะ เหล่าะ กึ ดึ/ /kˈætəlɒgd/
catalogues
 (vt, n) /k a1 t @ l o g z/ /แค้ เถอะ เหล่าะ กึ สึ/ /kˈætəlɒgz/
cataloguing
 (vt) /k a1 t @ l o g i ng/ /แค้ เถอะ เหล่าะ กิ่ง/ /kˈætəlɒgɪŋ/

WordNet (3.0)
card catalog(n) a library catalog in which each publication is described on a separate file card, Syn. card catalogue
catalog(n) a book or pamphlet containing an enumeration of things, Syn. catalogue
catalog(n) a complete list of things; usually arranged systematically, Syn. catalogue
cataloged procedure(n) a set of control statements that have been placed in a library and can be retrieved by name
cataloger(n) a librarian who classifies publication according to a categorial system, Syn. cataloguer
catalogue(v) make an itemized list or catalog of; classify, Syn. catalog
catalogue(v) make a catalogue, compile a catalogue, Syn. catalog
course catalog(n) a catalog listing the courses offered by a college or university, Syn. course catalogue, prospectus
library catalog(n) an enumeration of all the resources of a library, Syn. library catalogue
parts catalog(n) a list advertising parts for machinery along with prices, Syn. parts catalogue
seed catalog(n) a list advertising seeds and their prices, Syn. seed catalogue
card index(n) an alphabetical listing of items (e.g., books in a library) with a separate card for each item, Syn. card catalogue, card catalog
mail-order buying(n) buying goods to be shipped through the mail, Syn. catalog buying

Collaborative International Dictionary (GCIDE)
Catalog

n. & v. Catalogue. [ 1913 Webster ]

Catalogize

v. t. To insert in a catalogue; to register; to catalogue. [ R. ] Coles. [ 1913 Webster ]

Catalogue

n. [ F., fr. catalogus, fr. Gr. &unr_; a counting up, list, fr. &unr_; to count up; kata` down, completely + &unr_; to say. ] A list or enumeration of names, or articles arranged methodically, often in alphabetical order; as, a catalogue of the students of a college, or of books, or of the stars. [ 1913 Webster ]


Card catalogue, a catalogue, as of books, having each item entered on a separate card, and the cards arranged in cases by subjects, or authors, or alphabetically. --
Catalogue raisonné ety>[ F. ], a catalogue of books, etc., classed according to their subjects.

Syn. -- List; roll; index; schedule; enumeration; inventory. See List. [ 1913 Webster ]

Catalogue

v. t. [ imp. & p. p. Catalogued p. pr. & vb. n. Cataloguing ] To make a list or catalogue; to insert in a catalogue. [ 1913 Webster ]

Cataloguer

n. A maker of catalogues; esp. one skilled in the making of catalogues. [ 1913 Webster ]


CC-CEDICT CN-EN Dictionary
[mù, ㄇㄨˋ, ] eye; item; section; list; catalogue; table of contents; order (taxonomy); goal; name; title #2,277 [Add to Longdo]
目录[mù lù, ㄇㄨˋ ㄌㄨˋ,   /  ] catalog; table of contents; directory (on computer hard drive); list; contents #7,457 [Add to Longdo]
编目[biān mù, ㄅㄧㄢ ㄇㄨˋ,   /  ] make a catalogue; catalogue; list #61,722 [Add to Longdo]
梅氏[Méi shì, ㄇㄟˊ ㄕˋ,  ] Charles Messier (1730-1817), French astronomer who catalogued nebulas and galaxies #108,762 [Add to Longdo]
星表[xīng biǎo, ㄒㄧㄥ ㄅㄧㄠˇ,  ] star catalog #118,469 [Add to Longdo]
梅西耶[Méi xī yē, ㄇㄟˊ ㄒㄧ ㄧㄝ,  西 ] Charles Messier (1730-1817), French astronomer who catalogued nebulas and galaxies #472,609 [Add to Longdo]
星云表[xīng yún biǎo, ㄒㄧㄥ ㄩㄣˊ ㄅㄧㄠˇ,    /   ] catalog of stars and nebulae [Add to Longdo]
梅西耶星表[Méi xī yē xīng biǎo, ㄇㄟˊ ㄒㄧ ㄧㄝ ㄒㄧㄥ ㄅㄧㄠˇ,  西   ] Messier catalog of nebulae and clusters (1784) [Add to Longdo]
梅西叶[Méi xī yè, ㄇㄟˊ ㄒㄧ ㄧㄝˋ,  西  /  西 ] Charles Messier (1730-1817), French astronomer who catalogued nebulas and galaxies [Add to Longdo]
梅西叶星表[Méi xī yè xīng biǎo, ㄇㄟˊ ㄒㄧ ㄧㄝˋ ㄒㄧㄥ ㄅㄧㄠˇ,  西    /  西   ] Messier catalog of nebulae and clusters (1784) [Add to Longdo]
烟花簿[yān huā bù, ㄧㄢ ㄏㄨㄚ ㄅㄨˋ,   簿 /   簿] catalog of prostitutes (esp. in Yuan theater) [Add to Longdo]

DING DE-EN Dictionary
Artikelkatalog { m }article catalog [Add to Longdo]
Auktionskatalog { m }auction catalogue; auction catalog [ Am. ] [Add to Longdo]
Ausstellungskatalog { m }official catalogue [Add to Longdo]
Autorenkatalog { m }author catalogue [Add to Longdo]
Bandkatalog { m }catalogue in book form [Add to Longdo]
Benutzerkatalog { m }public catalogue [Add to Longdo]
Buch { n }; Heft { n } | Bücher { pl } | lieferbare Bücher | Buch aufnehmen | Buch einordnen | Buch absignieren | (Buch) durchblättern | in ein Buch vertieft sein | wie es im Buche steht | vorhandene Bücher in der Bibliothek | ein Buch mit sieben Siegeln [ übtr. ]book | books | books in print | to catalogue a book; to list a book | to put the book in order; to shelve a book | to check books against readers' requests | to flip through | to be sunk in a book | a textbook example | books available in the library | a sealed book [Add to Longdo]
EDV-Katalogisierung { f }computer cataloguing [Add to Longdo]
Gesamtkatalog { m }union catalogue [Add to Longdo]
Katalog { m } | Kataloge { pl } | gedruckter Katalogcatalogue; catalog [ Am. ] | catalogues; catalogs [ Am. ] | printed catalogue [Add to Longdo]
Katalogeintrag { m }catalog entry [Add to Longdo]
Katalogisierung { f }cataloging; cataloguing [Add to Longdo]
Katalogisierungsregeln { pl }cataloguing rules [Add to Longdo]
Katalogpreis { m }list price; catalogue price [Add to Longdo]
Katalogschild { n }catalogue labelling [Add to Longdo]
Katalogschrank { m }catalogue cabinet [Add to Longdo]
Katalogschubkasten { m }catalogue drawer [Add to Longdo]
Katalogzettel { m }catalogue card [Add to Longdo]
Lastenheft { n }product concept catalogue [Add to Longdo]
Messekatalog { m }catalogue of books sold at the fair [Add to Longdo]
Neuaufnahme { f } | Neuaufnahme in Kürzecataloguing of new titles | cataloguing of forthcoming titles [Add to Longdo]
Personenkatalog { m }; biografischer Katalogname catalogue [Add to Longdo]
Prospekt { n }prospectus; catalogue [Add to Longdo]
Sachkatalog { m } | Sachkataloge { pl }subject catalogue | subject catalogues [Add to Longdo]
Sachkatalog { m }title catalogue [Add to Longdo]
Schlagwortkatalog { m }subject heading catalogue [Add to Longdo]
Schlagwortverzeichnis { n }subject catalog [Add to Longdo]
Titelaufnehmer { m }cataloguer [Add to Longdo]
Verfasserkatalog { m }author catalogue [Add to Longdo]
alphabetischer Katalogalphabetical catalogue [Add to Longdo]
aufgenommen (im Katalog)entered; recorded (in catalogue) [Add to Longdo]
katalogisieren | katalogisierend | katalogisiertto catalogue | cataloging; cataloguing | cataloged; catalogued [Add to Longdo]
systematischer Katalogclassified catalogue [Add to Longdo]

EDICT JP-EN Dictionary
一覧[いちらん, ichiran] (n, vs) (1) at a glance; (a) look; (a) glance; (a) summary; (2) (school) catalog; catalogue; (P) #119 [Add to Longdo]
目録[もくろく, mokuroku] (n) (1) catalogue; catalog; inventory; index; list; (2) certificate indicating an impending gift; (P) #6,801 [Add to Longdo]
カタログショッピング[katarogushoppingu] (n) catalog shopping; catalogue shopping [Add to Longdo]
カタログスペック[katarogusupekku] (n) { comp } catalog spec [Add to Longdo]
カタログセット[katarogusetto] (n) { comp } catalog set [Add to Longdo]
カタログドプロシジャ[katarogudopuroshija] (n) { comp } cataloged procedure [Add to Longdo]
カタログプロパティ[katarogupuropatei] (n) { comp } catalog property [Add to Longdo]
カタログレゾネ[katarogurezone] (n) catalogue with the entire works of one artist (used to check authenticity) (fre [Add to Longdo]
カタログ販売[カタログはんばい, katarogu hanbai] (n) catalog retailing; catalogue retailing [Add to Longdo]
ケッヘル番号[ケッヘルばんごう, kehheru bangou] (n) Koechel number (catalogue of Mozart's music) [Add to Longdo]
バックアップセットカタログ[bakkuappusettokatarogu] (n) { comp } backup set catalog [Add to Longdo]
一覧表[いちらんひょう, ichiranhyou] (n) list; table; schedule; catalogue; catalog; (P) [Add to Longdo]
型録(ateji)[カタログ(P);かたろぐ, katarogu (P); katarogu] (n, vs) (uk) catalog; catalogue; (P) [Add to Longdo]
恒星表[こうせいひょう, kouseihyou] (n) (obsc) (See 星表) star catalog; star catalogue [Add to Longdo]
出版目録[しゅっぱんもくろく, shuppanmokuroku] (n) catalog of publications; catalogue of publications [Add to Longdo]
書目[しょもく, shomoku] (n) catalogue of books; catalog of books [Add to Longdo]
商品目録[しょうひんもくろく, shouhinmokuroku] (n) inventory; catalog; catalogue [Add to Longdo]
図書目録[としょもくろく, toshomokuroku] (n, adj-no) book catalogue; book catalog; card catalogue; card catalog [Add to Longdo]
図譜[ずふ, zufu] (n) (See 図鑑) illustrated reference book; illustrated catalog [Add to Longdo]
星表[せいひょう, seihyou] (n) star catalog; star catalogue [Add to Longdo]
著作目録[ちょさくもくろく, chosakumokuroku] (n) bibliographical catalogue; author bibliography [Add to Longdo]
品書き[しながき, shinagaki] (n) catalog; catalogue; inventory; menu [Add to Longdo]
分類目録[ぶんるいもくろく, bunruimokuroku] (n) classified catalog; classified catalogue [Add to Longdo]

COMPDICT JP-EN Dictionary
カタログ[かたろぐ, katarogu] catalog (vs), catalogue [Add to Longdo]
カタログドプロシジャ[かたろぐどぷろしじゃ, katarogudopuroshija] cataloged procedure [Add to Longdo]
目録[もくろく, mokuroku] catalogue [Add to Longdo]

Time: 0.0447 seconds, cache age: 8.171 (clear)Longdo Dict -- https://dict.longdo.com/