ballad | (n) เพลงช้าที่มีใจความบรรยายถึงความรัก, See also: เพลง, โคลงที่มีใจความเป็นบรรยายโวหาร, Syn. ballade |
ballad | (แบล'เลิด) n. บทกวีบาทชนิดหนึ่ง, เพลงที่มีใจความเป็นการบรรยายโวหาร, เพลงลูกทุ่ง, เพลงพื้นเมือง, See also: balladic adj. ดูballad |
ballad | (n) โคลง, บทกวี |
ballad | ลำนำนิทาน [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ballad opera | อุปรากรลำนำนิทาน [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ballade | ๑. ลำนำนิทาน๒. บทร้อยกรองบาลาด [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Ballad | ลำนำนิทาน, ลำนำนิทาน, บัลลาด, Example: <p>บัลลาดหรือศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถานสาขาวิชาวรรณกรรมคือ ลำนำนิทาน เป็นรูปแบบหนึ่งของคำประพันธ์บทร้อยกรองแบบดั้งเดิมที่บอกเล่าเรื่องเป็นเพลง แต่เดิมเป็นเพลงเล่าเรื่องถ่ายทอดด้วยปากเปล่าสำหรับการแสดงในที่สาธารณะ มักร้องโดยใช้ท่วงทำนองแบบดั้งเดิมและใช้ดนตรีประกอบการเต้นรำ บัลลาดส่วนใหญ่จะบอกเล่าเรื่องราวที่เป็นโศกนาฏกรรมของความรักหรือภัยพิบัติของบุคคล เป็นบทกวีสั้น ๆ โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปแบบของบทสนทนาประกอบการแสดง บัลลาดเป็นรูปแบบของบทกวีที่กวีและนักประพันธ์เพลงของอังกฤษมักนิยมใช้เพื่อเขียนลำนำเป็นโคลงบทสั้น ๆ ตั้งแต่ช่วงยุคกลางต่อมาจนถึงศตวรรษที่ 18 และใช้อย่างกว้างขวางทั่วไปในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลียและแอฟริกาเหนือ ต่อมาในศตวรรษที่ 19 จนถึงปัจจุบัน บัลลาดถูกนำมาใช้ในความหมายของเพลงป็อปเป็นเพลงช้า ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะใช้กับเพลงรัก</p> <p>บัลลาดเป็นบทกลอนในรูปแบบที่เรียบง่ายและไม่เป็นทางการมากนัก การแต่งบัลลาดจะใช้ศัพท์ง่าย ๆ ไม่จำเป็นต้องใช้ศัพท์หรูหรา และเวลาอ่านจะมีจังหวะที่ไพเราะเหมือนเพลง บัลลาดมีหลายรูปแบบ แต่รูปแบบหนึ่งที่นิยมกัน คือ เป็นบทกลอนที่มี 4 บรรทัด แต่ละบรรทัดจะมี 8 พยางค์ ในบรรทัดที่ 2 และบรรทัดที่ 4 จะมีคำสัมผัสคล้องจองกัน แต่อาจสัมผัสคล้องจองกันในบรรทัดที่ 1 กับบรรทัดที่ 3 ด้วยก็ได้ อย่างไรก็ตามแม้บัลลาดทั้งหมดจะไม่เป็นไปตามแผนผังนี้ แต่บัลลาดทั้งหมดจะมีฉากท้องเรื่อง ตัวละคร และเหตุการณ์ที่มีจุดสุดยอด และเรื่องราวของบัลลาดมักจะโศกเศร้าและคร่ำครวญ</p> <p><b>ตัวอย่างของบัลลาด (จากหนังสือ If You were My Valentine โดย Charles Ghigna. Little Simon, 2004)</b></p> <br style="margin-left: 40px">If you were a shining star <br style="margin-left: 40px"> And I were your midnight, <br style="margin-left: 40px">I'd let you shine above me, <br style="margin-left: 40px">You'd be my only light.<br> <br style="margin-left: 40px">If you were a grand piano <br style="margin-left: 40px">And I were a sweet love song, <br style="margin-left: 40px">I'd let your keys tickle and tease <br style="margin-left: 40px">My melody all day long.<br> <br style="margin-left: 40px">If you were the pages of a book <br style="margin-left: 40px">And I were reading you, <br style="margin-left: 40px">I'd read as slow as I could go <br style="margin-left: 40px">So I never would get through.<br> [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Ballads | บัลลัด [TU Subject Heading] |
Ballads, English | บัลลัดอังกฤษ [TU Subject Heading] |
Ballads, Thai | บัลลัดไทย [TU Subject Heading] |
คนขับเสภา | [khonkhap sēphā] (n, exp) EN: singer of ballads |
ballad | |
ballade | |
ballads | |
balladur | |
balladur's |
ballad | |
ballade | |
ballads | |
ballades |
ballad | (n) a narrative song with a recurrent refrain, Syn. lay |
ballad | (n) a narrative poem of popular origin, Syn. lay |
ballade | (n) a poem consisting of 3 stanzas and an envoy |
Ballad | n. [ OE. balade, OF. balade, F. ballade, fr. Pr. ballada a dancing song, fr. ballare to dance; cf. It. ballata. See 2d Ball, n., and Ballet. ] A popular kind of narrative poem, adapted for recitation or singing; |
Ballad | v. i. To make or sing ballads. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Ballad | v. t. To make mention of in ballads. [ Obs. ] [ 1913 Webster ] |
Ballade | n. [ See Ballad, n. ] A form of French versification, sometimes imitated in English, in which three or four rhymes recur through three stanzas of eight or ten lines each, the stanzas concluding with a refrain, and the whole poem with an envoy. [ 1913 Webster ] |
Ballader | n. A writer of ballads. [ 1913 Webster ] |
Ballad monger | [ See Monger. ] A seller or maker of ballads; a poetaster. Shak. [ 1913 Webster ] |
Balladry | n. [ From Ballad, n. ] Ballad poems; the subject or style of ballads. “Base balladry is so beloved.” Drayton. [ 1913 Webster ] |
民谣 | [民 谣 / 民 謠] ballad #24,307 [Add to Longdo] |
弹词 | [弹 词 / 彈 詞] ballad tune in southern dialects, usually to sanxian 三弦 or pipa 琵琶 accompaniment #95,723 [Add to Longdo] |
短歌 | [短 歌] ballad [Add to Longdo] |
Ballade { f } | Balladen { pl } | ballad | ballads [Add to Longdo] |
Balladendichtung { f } | Balladendichtungen { pl } | balladry | balladries [Add to Longdo] |
Balladesänger { m }; Liedermacher { m } | Balladesänger { pl } | balladeer | balladeers [Add to Longdo] |
Lied { n } | Lieder { pl } | ballad | ballads [Add to Longdo] |
地方 | [ちほう(P);じかた, chihou (P); jikata] (n, adj-no) (1) area; locality; district; region; province; (2) countryside; rural area; (3) coast (esp. as seen from the water); (4) (じかた only) person singing ballads in noh; person in charge of music in a Japanese dance performance; (P) #416 [Add to Longdo] |
歌謡 | [かよう, kayou] (n) song; ballad; (P) #3,980 [Add to Longdo] |
演歌(P);艶歌 | [えんか, enka] (n) (1) enka; traditional-style Japanese popular ballad; (2) (艶歌 only) troubadour; (P) #9,178 [Add to Longdo] |
バラード | [bara-do] (n) (1) ballade (narrative poetry, musical composition) (fre #10,275 [Add to Longdo] |
カラバラ | [karabara] (n) ballads sung by Karashima Midori [Add to Longdo] |
バラッド | [baraddo] (n) ballad [Add to Longdo] |
演歌歌手 | [えんかかしゅ, enkakashu] (n) Enka singer; singer of Japanese traditional ballads [Add to Longdo] |
義太夫節 | [ぎだゆうぶし, gidayuubushi] (n) (See 義太夫) gidayuu ballad drama (narrative accompanied by a shamisen used in the bunraku puppet theater) [Add to Longdo] |
久米歌 | [くめうた, kumeuta] (n) var. of ancient ballad [Add to Longdo] |
国風 | [こくふう;くにぶり, kokufuu ; kuniburi] (n) (1) national customs and manners; (2) provincial song or ballad [Add to Longdo] |