ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การพูด, -การพูด- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ สำมะแจ๋ | (adv) อาการพูดมากและไม่เป็นความจริง |
|
| เหมียน | [เหมียน] (jargon) เหมือน เป็นการพูดให้ดูน่ารักขึ้น |
| | กระโชกกระชั้น | ว. อาการพูดกระแทกเสียงถี่ ๆ. | กระโชกกระชาก | ว. อาการพูดอย่างตวาดหรืออย่างกระแทกเสียง. | กระโชกโฮกฮาก | ว. อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, โฮกฮาก ก็ว่า. | กะหน็องกะแหน็ง | ว. แปร่ง, ไม่ชัด, ฟังไม่ออก, (ใช้แก่การพูด), หน็องแหน็ง ก็ว่า. | ก้าวเฉียง | โดยปริยายใช้แก่การพูดไม่ตรงหรือพูดเลี่ยง เช่น นงลักษณ์แกล้งกล่าวก้าวเฉียง (อิเหนา). | ชัปนะ | (ชับปะนะ) น. การพูดพึมพำ, การสวดมนต์พึมพำ. | ตะล่อม ๑ | ว. ลักษณะการพูดหว่านล้อมหรือรวบรัดให้เข้าสู่จุดหมายหรือเข้าประเด็น เช่น พูดตะล่อม. | เบญจศีล | น. ศีล ๕ คือ ๑. งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ๒. งดเว้นจากการลักทรัพย์ ๓. งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม ๔. งดเว้นจากการพูดเท็จ ๕. งดเว้นจากการเสพสุราเมรัยและของมึนเมา, คู่กับ เบญจธรรม. | ปฏิพากย์ | น. การกล่าวตอบ, การพูดโต้ตอบ, เช่น เพลงปฏิพากย์ คือ เพลงที่ร้องโต้ตอบกัน. | ปราศรัย | (ปฺราไส) น. การพูดด้วยไมตรีจิต, การแสดงอัชฌาสัยในระหว่างผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือผู้ที่เสมอกัน | ป่วยการ | ก. เสียงานเสียการ, ไร้ประโยชน์, เช่น ป่วยการพูด. | เป้อเย้อ | เยิ่นเย้อ, ยืดยาด, มักใช้แก่การพูด เช่น พูดเป้อเย้อ. | โผงผาง | ว. ลักษณะการพูดตรง ๆ ไม่เกรงใจ, ไม่ยับยั้งอ้อมค้อม, โผง ก็ว่า. | พจนา | (พดจะ-) น. การเปล่งวาจา, การพูด | ภาษณ์ | น. การพูด. | ภาสน์ | น. การพูด. | มุสาวาท | น. การพูดเท็จ, การพูดปด | เม็ดพราย | น. กลเม็ดเด็ดพราย, วิธีที่แยบคายหรือพลิกแพลงในการพูดหรือร้องเพลงเป็นต้น. | ลปนะ | (ละปะนะ) น. การพูด, การบ่นพึมพำ | ลวดลาย | น. ลายต่าง ๆ ที่เขียนหรือแกะสลัก, ฝีมือความสามารถที่แสดงให้ปรากฏ เช่น นักฟุตบอลมีลวดลายในการส่งลูก, โดยปริยายหมายความว่า มีลูกไม้หรือชั้นเชิงต่าง ๆ เช่น เขามีลวดลายในการพูดให้คนฮาได้ เขามีลวดลายในการเต้นรำ. | ลวนลาม | ก. ล่วงเกินในลักษณะชู้สาวด้วยการพูดหรือการกระทำเกินสมควร เช่น นายดำชอบพูดจาลวนลามผู้หญิง เขาชอบถือโอกาสลวนลามด้วยการจับมือถือแขนผู้หญิง, ลามลวน ก็ว่า. | ละครพูดสลับลำ | น. ละครที่มีบทสำหรับร้องแทรก ส่วนที่ร้องเป็นการย้ำเนื้อหาที่พูดด้วยบทไว้แล้ว ถ้าตัดการร้องเหลือแต่การพูดก็ยังเป็นละครพูดได้. | ละครสังคีต | น. ละครแบบหนึ่ง ได้รับอิทธิพลจากละครแบบยุโรป ตัวละครร้องและพูดบทของตน การร้องเพลงและการพูดมีความสำคัญเท่ากัน ถ้าตัดส่วนใดออกเนื้อเรื่องจะขาดไป ดนตรีประกอบไพเราะ มีการจัดฉากและแต่งกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง เช่น เรื่องวิวาหพระสมุท มิกาโด วั่งตี. | ลาป- ๒ | (ลาปะ-, ลาบ-) น. การพูด, การออกเสียง. | ลิ้น ๑ | การพูด, ถ้อยคำ, เช่น ไม่เชื่อลิ้นเจ้าแล้วนะแก้วตา. | ลีลา | ท่วงทำนอง เช่น ลีลาการพูด ลีลาการเขียน | เลศนัย | (เลดไน) น. การพูดหรือแสดงอาการเป็นชั้นเชิงให้รู้ในที เช่น พูดเป็นเลศนัย ขยิบตาให้รู้เป็นเลศนัยว่าให้หยุดพูด. | วจีกรรม | น. การพูด, การกระทำทางวาจา, เช่น การกล่าวเท็จเป็นการทำผิดทางวจีกรรม. | วจีทุจริต | (วะจีทุดจะหฺริด) น. ความประพฤติชั่วทางวาจา มี ๔ อย่าง ได้แก่ การพูดเท็จ ๑ การพูดคำหยาบ ๑ การพูดส่อเสียด ๑ การพูดเพ้อเจ้อ ๑. | วทนะ | (วะทะนะ) น. การพูด, คำพูด | วัช ๓, วัชชะ ๒ | น. การพูด, ถ้อยคำ. | วิประลาป, วิปลาป | (วิปฺระลาบ, วิบปะ-) น. การพูดเพ้อ, การพูดพรํ่า | สัลลาป- | (สันลาปะ-) น. การพูดจากัน. | สากัจฉา | น. การพูดจา, การปรึกษา. | เสรีภาพ | น. ความสามารถที่จะกระทำการใด ๆ ได้ตามที่ตนปรารถนาโดยไม่มีอุปสรรคขัดขวาง เช่น เสรีภาพในการพูด เสรีภาพในการนับถือศาสนา, ความมีสิทธิที่จะทำจะพูดได้โดยไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น. | โหยกเหยก | (โหฺยกเหฺยก) ว. ไม่อยู่กับร่องกับรอย, ไม่แน่นอน, (ใช้แก่การพูด), เช่น พูดจาโหยกเหยก | อมพระมาพูด | ใช้ในการพูดโดยอ้างพระหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประกอบเป็นพยาน มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ต่อให้อมพระมาพูดก็ไม่เชื่อ. | อาลปน์, อาลปนะ | (อาลบ, อาละปะนะ) น. การพูด, การสนทนา, การเรียก, การทักทาย | โฮกฮาก | ว. อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียงซึ่งไม่น่าฟัง, มักใช้เข้าคู่กับคำ กระโชก เป็น กระโชกโฮกฮาก. |
| palilalia | อาการพูดซ้ำเร็ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | palilogia | อาการพูดซ้ำซาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, gag | กฎหมายลิดรอนเสรีภาพ (ในการพูด การเขียน และการร้องทุกข์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | lingual titubation; dysphemia; stammering; stuttering | การพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | logorrhea; logorrhoea; verbomania | อาการพูดไม่หยุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | logorrhoea; logorrhea; verbomania | อาการพูดไม่หยุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | slurred speech; speech, clipped; speech, scamping | อาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stuttering; dysphemia; stammering; titubation, lingual | การพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | scamping speech; speech, clipped; speech, slurred | อาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stammering; dysphemia; stuttering; titubation, lingual | การพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | staccato speech | อาการพูดทีละพยางค์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | stomatolalia | การพูดเสียงจมูกบี้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, clipped; speech, scamping; speech, slurred | อาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, incoherent | อาการพูดไม่ปะติดปะต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, jumbled | อาการพูดคละคำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, scamping; speech, clipped; speech, slurred | อาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, slurred; speech, clipped; speech, scamping | อาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | speech, staccato | อาการพูดทีละพยางค์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | oxylalia; tachylalia | การพูดเร็ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | oesophageal speech; esophageal speech | การพูดด้วยลมช่องหลอดอาหาร [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | aphrasia | ภาวะเสียการสื่อการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | aside | การพูดป้อง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] | area, Wernicke's second motor speech; field, Wernicke's; zone, Wernicke's | ศูนย์ประสานการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | jumbled speech | อาการพูดคละคำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | bradylalia | อาการพูดช้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | bilingualism | การพูดได้สองภาษา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] | mutism | ๑. การพูดไม่ได้๒. การไม่ยอมพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | clipped speech; speech, scamping; speech, slurred | อาการพูดคำคละละเลือน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | dysphemia; stammering; stuttering; titubation, lingual | การพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | dysarthria | อาการพูดไม่เป็นความ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | glossolalia | อาการพูดฟังไม่รู้เรื่อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | gag law | กฎหมายลิดรอนเสรีภาพ (ในการพูด การเขียน และการร้องทุกข์) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | gag law | กฎหมายลิดรอนเสรีภาพ (ในการพูด การเขียน และการร้องทุกข์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | free speech; freedom of speech | เสรีภาพในการพูด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | freedom of speech; free speech | เสรีภาพในการพูด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | field, Wernicke's; area, Wernicke's second motor speech; zone, Wernicke's | ศูนย์ประสานการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | esophageal speech; oesophageal speech | การพูดด้วยลมช่องหลอดอาหาร [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] | echolalia; echophrasia | อาการพูดเลียน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | echophrasia; echolalia | อาการพูดเลียน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | incoherent speech | อาการพูดไม่ปะติดปะต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | zone, Wernicke's; area, Wernicke's second motor speech; field, Wernicke's | ศูนย์ประสานการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | verbigeration | อาการพูดหรือเขียนซ้ำ ๆ อย่างไร้ความหมาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | verbomania; logorrhea; logorrhoea | อาการพูดไม่หยุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | titubation, lingual; dysphemia; stammering; stuttering | การพูดติดอ่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | tachylalia; oxylalia | การพูดเร็ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | uraniscolalia | การพูดเสียงเพดานโหว่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Wernicke's field; area, Wernicke's second motor speech; zone, Wernicke's | ศูนย์ประสานการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Wernicke's second motor speech area; field, Wernicke's; zone, Wernicke's | ศูนย์ประสานการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Wernicke's zone; area, Wernicke's second motor speech; field, Wernicke's | ศูนย์ประสานการพูด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| integration | บูรณาการ, การรวมเข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, บูรณาการ มี ๒ ความหมาย <p>ความหมายที่ ๑ คือ ทำให้เป็นเนื้อเดียวกันโดยรวมหรือผสมผสานส่วนต่าง ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การสอนภาษาแบบบูรณาการ หมายถึง การรวมทักษะการพูด ฟัง อ่าน เขียน ไว้ในวิชาเดียวกัน, หลักสูตรแบบบูรณาการสำหรับภิกษุสามเณร เป็นหลักสูตรที่รวมหลักสูตรธรรมศึกษา บาลีศึกษา และสามัญศึกษา ให้เป็นหลักสูตรเดียว <p>ความหมายที่ ๒ หมายถึงเชื่อมหรือประสานกับสิ่งอื่นหรือหน่วยงานอื่น เช่น โรงเรียนหลายแห่งบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ที่มีรากฐานจากความเป็นไทยและนำไปสู่การ พัฒนาประเทศที่ยั่งยืน [การจัดการความรู้] | Augmentative and Alternative Communicate | อุปกรณ์ช่วยสื่อสารแบบพกพาสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด , อุปกรณ์ขนาดเล็ก มีปุ่มที่เก็บเสียงที่บันทึกล่วงหน้าได้ ในประเทศไทยมีผลงานวิจัยภายใต้โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตามพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชื่อ โอภา สามารถบันทึกได้ ๖๐ ข้อความ และเรียกใช้โดยการกดปุ่ม อุปกรณ์มี ๑๕ ปุ่ม และมีปุ่มเลือกชุดข้อความได้ ๔ ชุด และมีโหมดสแกนข้อความที่ทำงานคู่กับสวิตช์เดี่ยวใช้กดเลือกข้อความ [Assistive Technology] | Augmentative and Alternative Communication Program | ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด, ซอฟต์แวร์ช่วยในการสื่อสารสำหรับผู้ที่มีปัญหาในการพูด โดยใช้รูปภาพหรือข้อความเป็นรูปแทนการสื่อความหมาย เมื่อเลือกรูปแทนแล้ว โปรแกรมจะเล่นเสียงที่บันทึกไว้ของรูปแทนดังกล่าวออกมา โปรแกรมชนิดนี้พัฒนาขึ้นในประเทศไทย ชื่อ "ปราศรัย" ทำหน้าที่เป็นเสมือนกล่องที่บรรจุเสียงพูดที่ใช้ในการสนทนาไว้อย่างไม่จำกัดจำนวน โดยจัดเก็บเสียงเป็นแฟ้มเสียงไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ [Assistive Technology] | Extemporaneous speaking | การพูดโดยไม่ได้ตระเตรียม [TU Subject Heading] | Freedom of speech | เสรีภาพในการพูด [TU Subject Heading] | Public speaking | การพูดในชุมนุมชน [TU Subject Heading] | Self-talk | การพูดกับตนเอง [TU Subject Heading] | Speech | การพูด [TU Subject Heading] | Speech anxiety | ความวิตกกังวลในการพูด [TU Subject Heading] | Speech disorders | การพูดผิดปกติ [TU Subject Heading] | Speech therapy | การรักษาการพูดผิดปรกติ [TU Subject Heading] | Speech, Alaryngeal | การพูดโดยไม่ใช้กล่องเสียง [TU Subject Heading] | Speech, Esophageal | การพูดโดยใช้หลอดอาหาร [TU Subject Heading] | Verbal self-defense | การพูดป้องกันตัว [TU Subject Heading] | Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Aphasia | อะฟาเซีย, อาการ; อะฟาเซีย; อะฟาซิอา; ความผิดปกติเกี่ยวกับภาษา; ความผิดปกติของการใช้ภาษาพูด; พูดไม่ได้; พูดไม่ได้หรือเขียนไม่ได้สาเหตุจากสมอง; การขาดอำนาจบังคับในการพูด; ความผิดปกติเกี่ยวกับการใช้ภาษา; ความผิดปกติเกี่ยวกับภาษา; การเสียหน้าที่ของศูนย์ภาษา; อะฟาเสีย [การแพทย์] | Articulatory Disorders | พูดไม่ชัด, การพูดไม่ชัด [การแพทย์] | Communicative Disorders | ปัญหาเกี่ยวกับการติดต่อความพิการเกี่ยวกับการพูด [การแพทย์] | Digressive | การพูดนอกเรื่อง [การแพทย์] | Dysarthria | พูดไม่ชัด, ลิ้นแข็ง, อาการพูดลำบาก, พูดลำบาก, ความผิดปกติเกี่ยวกับการพูด, การพูดตะกุกตะกัก [การแพทย์] | Efficiency, Functional | จังหวะการพูดที่เหมาะสมและพูดได้นานพอที่ใช้เป็น [การแพทย์] | Encholalia | การพูดตามคนอื่น [การแพทย์] | Incoherence | พูดเรื่องเดียวไม่ต่อเนื่องกัน การพูดเพ้อเจ้อ [การแพทย์] | Language Development | ภาษา, วิวัฒนาการ;, การพัฒนาการทางภาษา; พัฒนาการทางภาษา; ความสามารถในการพูดสื่อความหมายให้เข้าใจ; พัฒนาการด้านภาษา [การแพทย์] | Linguistic Criteria | หลักเกณฑ์ตามลักษณะการพูดและการออกเสียง [การแพทย์] | Motor Speech | กล้ามเนื้อเกี่ยวกับการพูด [การแพทย์] |
| - She is making a political speech. | - - เธอคือการพูดทางการเมือง In the Name of the Father (1993) | Suddenly, I'm starting to wonder whether I belong in this conversation. | แล้วอยู่ๆฉันก็เริ่มสงสัย ว่าฉันสมควรที่จะมาอยู่ในการพูดคุยครั้งนี้หรือเปล่า The Joy Luck Club (1993) | There were no facts to confront. Nothing to offer any hope. | ทำให้ครอบครัวแตกสลาย ไม่มีใครต้องการพูดถึงอีก Deep Throat (1993) | I don't wanna talk about it on this line. | ผมไม่ต้องการพูดเรื่องนี้ ทางโทรศัพท์ Squeeze (1993) | But if I wanted to talk to one of those UFO nuts, where would I go? | แล้วถ้าผมต้องการพูดคุยกับใคร ที่ในสมองมีแต่ UFO หละ... . ..ผมควรไปที่ไหน ? Squeeze (1993) | Please, I need to talk to you. | ได้โปรด ผมต้องการพูดกับคุณ Junior (1994) | -What've we been talkin' about? | -What've เราได้รับการพูดถึงเกี่ยวกับ? Pulp Fiction (1994) | Look, just 'cause I wouldn't give no man a foot massage don't make it right... for Marsellus to throw Antwan off a building into a glass motherfuckin' house, fuckin' up the way the nigger talks; | ดูเพียงเพราะฉันจะไม่ให้ใครนวดเท้าไม่ทำให้มันถูกต้อง ... สำหรับ Marsellus ที่จะโยน Antwan ออกอาคารเป็น motherfuckin 'บ้านแก้ว ไอ้ขึ้นวิธีการพูดคุยนิโกร; Pulp Fiction (1994) | - Stop talking to me. Start talking to her! | - หยุดพูดคุยกับฉัน เริ่มต้นการพูดคุยกับเธอ! Pulp Fiction (1994) | No talking now! | ไม่มีการพูดคุยตอนนี้! Pulp Fiction (1994) | Feel like talking? | รู้สึกเหมือนการพูดคุย? The Shawshank Redemption (1994) | "Freedom of speech is objectionable." | "สิทธิในการพูด ไร้สาระสิ้นดี" The Great Dictator (1940) | What's there to talk about? | สิ่งที่มีการพูดคุยเกี่ยวกับ? 12 Angry Men (1957) | It's like talkin' into a dead phone. | มันก็เหมือนกับการพูดลงในโทรศัพท์ของผู้ตาย 12 Angry Men (1957) | He did not remember when he'd first started to talk aloud when he was by himself. | เขาไม่ได้จำได้ว่าเมื่อเขาได้ เริ่มต้นครั้งแรก ในการพูดคุยดัง ๆ เมื่อเขาได้ ด้วยตัวเอง The Old Man and the Sea (1958) | In a strict metaphorical way of speaking, as it were. | การพูดตามที่มันเป็น How I Won the War (1967) | Cut your throats next time. Talking of throats, my wife. | การพูดของคอภรรยาของฉัน ฉันเอาเธอ How I Won the War (1967) | - My wife is young. | ภรรยาของฉันเป็นหนุ่มสาว ถ้าคุณได้มีการพูดอะไร How I Won the War (1967) | You have been talking to the Tattaglia family...right? | คุณได้รับการพูดคุยกับครอบครัว Tattaglia ... ใช่มั้ย? The Godfather (1972) | You've got to talk to Sonny, to the Caporegimes, Tessio, fat Clemenza. | คุณได้มีการพูดคุยกับซันนี่เพื่อ Caporegimes, Tessio ไขมันเคลเมน The Godfather (1972) | I saw a man lying on the bed and a coffin in the middle of the room | ฉันเห็นการพูดเท็จผู้ชายบนเตียง... ...และโลงศพใน middle of ห้อง Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | - My sister is. - Oh man, cut out the shit talk. | น้องสาว ของฉันคือ โอ้ คน ตัด ออกจาก การพูดคุย อึ I Spit on Your Grave (1978) | I love that talk | ผมรักการพูดแบบนั้น The Blues Brothers (1980) | That's one way of saying it. | นั่น เป็นวิธีหนึ่ง ในการพูดเช่นนั้น. Indiana Jones and the Raiders of the Lost Ark (1981) | The prime minister said the talks were both constructive and frank. | ท่านนายกฯกล่าวว่าการพูดคุย เป็นไปอย่างสร้างสรรค์และจริงใจ Gandhi (1982) | It has given him power and the freedom to speak. | มันทำให้เขามีอำนาจ และเสรีภาพในการพูด Gandhi (1982) | He'd like to speak. | เขาต้องการพูด Idemo dalje (1982) | That is correct. I enjoy talking about Hal. | ฉันสนุกกับการพูดคุยเกี่ยวกับ แฮล 2010: The Year We Make Contact (1984) | Diagnostics on voice recognition and speech synthesis centers has been completed. | จำนวนหนึ่งการทดสอบ การ วินิจฉัยของเสียง การรับรู้และการพูดศูนย์การ สังเคราะห์ ได้รับการเสร็จ 2010: The Year We Make Contact (1984) | Now you've got to talk quickly. | ตอนนี้คุณมีการพูดคุยได้อย่าง รวดเร็ว 2010: The Year We Make Contact (1984) | Just seems to me that you seem to suffer from what we call "pressure of speech." | ก็แค่ผมคิดว่า คุณดูเหมือนจะมีปัญหา จากสิ่งที่เรียกว่า "ความกดดันในการพูด" Clue (1985) | If we were in the land of Oz, your talking wouldn't be strange at all. | ถ้าเราอยู่ที่ออส การพูดได้ของเธอจะไม่แปลกเลย Return to Oz (1985) | This is America. We have free speech. | นี่คืออเมริกา เรามีเสรีภาพในการพูด An American Tail (1986) | I want to close by saying... a vote for HonestJohn... is a vote for freedom! | ผมขอจบมันลง ด้วยการพูดว่า โหวตให้จอห์นผู้ซื่อสัตย์ หมายถึงโหวตให้เสรีภาพ ! An American Tail (1986) | Talking in the street is OK, if you have to. | การพูดคุยในถนนก็โอเคถ้าคุณมีการ The Russia House (1990) | Why don't you just start talking and let's see how it goes? | ทำไมคุณไม่เพียงแค่เริ่มต้นการพูดคุยและขอดูว่ามันไป? The Russia House (1990) | And speaking of which, we better get going. | และการพูดของที่เราดีขึ้นได้รับไป Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | Yeah, I know it sounds like a funky club for podiatrists but I've been speaking with Japanese- Americans in the past few days who say that our crime wave is reminiscent of a secret band of ninja thieves who once operated in Japan. | ใช่ฉันรู้ว่ามันเสียงเหมือนสโมสรขี้ขลาดสำหรับเท้า ... ... แต่ฉันได้รับการพูดคุยกับ Japanese - ชาวอเมริกันในช่วงไม่กี่วันที่ผ่านมา ... Teenage Mutant Ninja Turtles (1990) | The more a man's got to say, the more complicated his music gets. | คนส่วนใหญ่ ใช้วิธีพูดออกมาตรงๆ แต่เขาใช้วิธีที่ซับซ้อนกว่า ในการพูด. The Young Indiana Jones Chronicles (1992) | Or so my master used to say. | หรือเพื่อให้เจ้านายของฉันที่ใช้ในการพูด Princess Mononoke (1997) | Have you lost even the power of speech? | คุณสูญเสียแม้กระทั่งอำนาจในการพูดหรือไม่ Princess Mononoke (1997) | After some more awkward small talk... | หลังจากการพูดคุยที่ไม่ค่อยจะราบลื่นเท่าไหร่... Christmas in August (1998) | Let me start by saying I was very impressed... with that investigative piece that Dutton did... on pesticides in our supermarkets. | ให้ฉันได้เริ่มด้วยการพูด / ว่าฉันประทับใจมากๆ.. กีบการสืบสวน / บางส่วนที่ดัทตัน ทำ... on pesticides in our supermarkets. Never Been Kissed (1999) | She´s going to lead us in our sex discussion. | ซึ่งจะนำเราเข้าสู่การพูดคุยเรื่องเพศ Never Been Kissed (1999) | Your appearance... your conversation... | สภาพเธอ วิธีการพูด Pola X (1999) | Speeches can be tricky. What happened? | การพูดต่อหน้าคนเป็นเรื่องยาก เกิดอะไรขึ้น Maid in Manhattan (2002) | He wasn't known for his speaking abilities. | เราไม่เก่งด้านการพูดนี่ Maid in Manhattan (2002) | - You got a speech, so I get a speech. | - คุณมีการพูดเพื่อให้ฉันได้รับการพูด Showtime (2002) | - l need to talk to Morpheus. - Believe me, Niobe, he needs you. | ฉันต้องการพูดกับมอร์เฟียส / แน่นอนเลยไนโอบี เขาต้องการคุณมากๆ The Matrix Reloaded (2003) | A way of saying: | คือการพูดว่า The Matrix Revolutions (2003) |
| การพูด | [kān phūt] (n) EN: speech FR: parole [ f ] ; expression [ f ] | การพูดคุย | [kān phūtkhui] (n) EN: discussion FR: discussion [ m ] | การพูดลับหลัง | [kān phūt laplang] (n, exp) EN: gossip | การพูดมาก | [kān phūt māk] (n, exp) FR: garrulité [ f ] (vx) | การพูดเพื่อธุรกิจ | [kān phūt pheūa thurakit] (n, exp) EN: business speaking | การพูดปด | [kān phūt pot] (n, exp) EN: lie | การพูดประจบ | [kān phūt prajop] (n, exp) FR: adulation [ f ] | การพูดซ้ำเติม | [kān phūt samtoēm] (n, exp) EN: incrimination | การพูดเท็จ | [kān phūt thet] (n, exp) EN: lie | การพูดถึง | [kān phūttheung] (n) EN: mention | การพูดโทรศัพท์ | [kān phūt thōrasap] (n, exp) EN: telephoning ; phoning ; making a telephone call ; making or receiving a call FR: communication téléphonique [ f ] | การพูดโต้ตอบ | [kān phūt tōtøp] (n, exp) EN: retort | การพูดย้ำ | [kān phūt yam] (n, exp) FR: anaphore [ f ] | เสรีภาพแห่งการพูด | [sērīphāp haeng kān phūt] (n, exp) EN: freedom of speech FR: liberté d'expression [ f ] ; liberté de parole [ f ] | เสรีภาพในการพูด | [sērīphāp nai kān phūt] (n, exp) EN: freedom of speech FR: liberté d'expression [ f ] ; liberté de parole [ f ] |
| schmooze | (vi) การพูดคุยกับผู้อื่นในลักษณะคุยเก่ง, ร่าเริง, หรือเป็นมิตรมากๆ เช่น ในงานเลี้ยง เดิมคำนี้มักจะมีความหมายในเชิงลบ สื่อถึงคนที่คุยเก่ง แต่อาจเพื่อหาประโยชน์บางอย่างให้ตัวเอง แต่ในปัจจุบันก็มีความหมายในทางกลางๆ ไม่ได้เชิงลบเสมอไป ดูบทความอธิบายคำว่า schmooze ที่ https://dict-blog.longdo.com/whats-all-this-schmoozing-about-in-english/ |
| apostrophe | (n) การพูดกับบุคคลในจินตนาการ, See also: การพูดกับบุคคลที่ล่วงลับไปแล้ว | backbiting | (n) การนินทาลับหลัง, See also: การพูดให้ร้าย, การลอบกัด, Syn. calumny, slander | badinage | (n) การพูดเล่น, See also: การพูดตลก, Syn. badinage, joke | baloney | (n) การพูดคุยไร้สาระ (คำสแลง), See also: คำพูดไร้สาระ, Syn. boloney | banter | (n) การล้อเล่น, See also: การพูดหยอกเย้า, การเย้าแหย่ | blarney | (n) การพูดยกยออย่างไม่จริงใจ, See also: ประจบสอพลอ, Syn. flattery | brag | (n) คำพูดอวดดี, See also: การพูดอวดดี, Syn. boast | breath | (n) การพูดเป็นนัยๆ | buck | (n) การพูดเรื่อยเปื่อย (Anglo-Indian) | bunkum | (n) การพูดหรือเขียนไร้สาระ | barge into | (phrv) ขัดคอ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ขัดจังหวะ การพูด | be in order | (phrv) ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ (โดยเฉพาะการพูดอย่างเป็นทางการ), See also: ถูกกฎข้อบังคับ, Syn. be out of | birds and the bees | (idm) การสืบพันธุ์ของมนุษย์ (คำเลี่ยงในการพูดถึงเรื่องเพศสัมพันธ์) | by word of mouth | (idm) ด้วยการพูดมากกว่ากระทำ | cadence | (n) ทำนองเสียงในการพูด, Syn. intonation | cant | (n) การพูดอย่างไม่จริงใจ (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับศาสนาหรือศีลธรรม), Syn. insincere talk, hypocrisy | causerie | (n) การพูดคุย, Syn. chat | chat | (n) การพูดคุยกันเล่นๆ, See also: การคุยเล่น, การพูดคุย, Syn. confab, confabulation | chat show | (n) รายการทีวีที่มีการพูดคุยกับแขกรับเชิญ, Syn. talk show | chitchat | (n) การคุยเล่น, See also: การพูดคุยกันเล่นๆ, Syn. gab, gabfest, small talk | claptrap | (n) การพูดหรือเขียนเพื่อยกยอ, Syn. empty talk, bombast | colloquialism | (n) คำหรือวลีที่ใช้ในการพูดที่ไม่เป็นทางการ, Syn. expression, informality, language | confabulation | (n) การพูดคุย, Syn. chat, confab | conversation | (n) การสนทนา, See also: การพูดคุย, Syn. talk, communication | conversationalist | (n) คนที่ช่างสนทนา, See also: ผู้ที่ชอบการพูดคุย, ผู้ที่มีทักษะในการสนทนา, Syn. conversationist | conversationist | (n) คนที่ช่างสนทนา, See also: ผู้ที่ชอบการพูดคุย, ผู้ที่มีทักษะในการสนทนา, Syn. conversationalist | converse | (n) การสนทนา, See also: การพูดคุย, Syn. conversation | enlarge on | (phrv) ขยายความ (ด้วยการพูดหรือเขียน), See also: สาธยาย, อธิบายให้ละเอียดมากขึ้น, Syn. elaborate on | enlarge upon | (phrv) ขยายความ (ด้วยการพูดหรือเขียน), See also: สาธยาย, อธิบายให้ละเอียดมากขึ้น, Syn. elaborate on | dalliance | (n) การเกี้ยวพาราสี, See also: การพูดจาเกี้ยว, การพูดแทะโลม | declamation | (n) การแสดงสุนทรพจน์อย่างฉะฉาน, See also: การพูดหรืออ่านอย่างฉะฉาน | diffuseness | (n) (การพูดหรือเขียน)การเยิ่นเย้อ, See also: การพูดน้ำท่วมทุ่ง | digression | (n) การพูดนอกเรื่อง, See also: การเขียนนอกเรื่อง, การเบี่ยงเบน, Syn. departure, detour, tangent | drawl | (n) การพูดเนิบๆ, See also: การพูดลากเสียง, Syn. burr, brogue | effusion | (n) การปล่อยความรู้สึกออกมาโดยการพูดหรือเขียน, See also: การปล่อยอารมณ์ที่ควบคุมไว้ออกมาโดยการพูดหรือเขียน, Syn. gush, outburst, outpouring | elocution | (n) ศิลปของการพูดในที่ชุมชน | eloquent | (adj) ซึ่งมีวาทศิลป์, See also: ซึ่งพูดเป็น, พูดดี, ซึ่งมีความสามารถในการพูด, Syn. expressive, persuasive | euphonic | (adj) เกี่ยวกับเสียงที่น่าฟัง (โดยเฉพาะในการพูดหรือการออกเสียง), Syn. euphonious, melodious | expatiate | (vt) ขยายความโดยการพูดหรือเขียน, Syn. dilate, enlarge | extemporization | (n) การพูดหรือแสดงโดยไม่ได้ตระเตรียมมาก่อน, Syn. ad-libbing, impromptu | falsehood | (n) การพูดเท็จ, See also: การหลอกลวง, การโกหก, การทำมารยา, Syn. dishonesty, mistatement, prevarication, Ant. fact, truth | fencing | (n) การพูดเลี่ยง, See also: การพูดหลบหลีก | gab | (n) การพูดเรื่องไร้สาระ, See also: การพร่ำไม่หยุด, การพูดเรื่อยเจื้อย | gabfest | (n) การพูดคุยอย่างเป็นกันเอง, See also: การแลกเปลี่ยนข่าวสาร, การสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ, Syn. conversation | gag | (n) สิ่งปิดปากไม่ให้มีเสียงลอดออกมา, See also: ผ้าปิดปาก, สิ่งที่ใช้อุดปาก, การจำกัดการพูด | guff | (n) การพูดอวดดี (คำสแลง), Syn. gibberish, nonsense, hot air | gush | (n) การพูดยกยอมากไป, See also: การพูดพล่าม, Syn. jet, spray, spout, flow | hint | (n) การพูดเป็นนัย, See also: การแย้ม, การพูดเปรย, การบอกใบ้, การเสนอแนะเป็นนัยๆ, Syn. clue, indication, signal | go so far as to say | (idm) เสี่ยงในการพูดบางอย่าง | small talk | (idm) การพูดคุยเล็กน้อยอย่างเป็นทางการ |
| abracadabra | (แอบราคะแดบ' บระ) n. คาถายันตร์, การพูดที่ไร้ความหมาย | ad lib | (แอดลิบ' แอด' ลิบ) การแสดงสด, การพูดกลอนสด | allolalia | การพูดที่บกพร่องเนื่องจากศูนย์ควบคุมการพูดบกพร่อง | ambages | (แอมเบ' เจซ) n. ทางวกวน, การพูดจาอ้อมค้อม (roundabout ways) | amphibolic | (แอมฟิบอล' ลิค) adj. ไม่แน่นอน, มีความหมายสองนัย, การพูดจาคลุมเคลือ (uncertain) | amphibology | (แอมฟิบอล' โลจี) n. การที่มีความหมายสองนัย, ความหมายที่คลุมเคลือ, ประโยคที่มีความหมายสองนัยฐ การพูดจาเหลวไหล. -amphibolical, amphibolous adj. | anarthria | (แอน' นาเธรีย) n. ภาวะไร้สมรถภาพในการพูด (loss of articulate speech) | anticlimax | (แอนทีไคล' แมคซฺ) n. เหตุการณ ์ (ข้อสรุป, บทความ, การพูด, เนื้อหา) ที่สำคัญน้อยกว่าที่คาดหมายอย่างกระทันหัน, การเปลี่ยนความเข้มข้นหรือความสำคัญของเรื่องราวดังกล่าวอย่างทันที. -anticlimac- | apostrophe | (อะพอส' ทระฟี) n. เครื่องหมายย่อ (ซ) , การพูดกับผู้ที่ไม่อยู่หรือล่วงลับไปแล้ว. -a-postrophic adj. | articulation | (อาร์ทิคคิวเล'เชิน) n. การต่อกัน, การเชื่อมประกบ, กระบวนการพูดได้อย่างชัดเจน, ข้อต่อ, ปล้อง, ระดับที่ชัดเจน. -articulatory adj., Syn. joint | babble | (แบบ'เบิล) vt., vi. พูดไม่ชัด, พูดพล่าม, พูดไม่เป็นสาระ, พูดจ้อ, เปิดเผยความลับ n. การพูดพล่ามหรือไม่เป็นสาระ, ถ้อยคำไม่เป็นสาระ | babbling | (แบบ'บลิง) n. การพูดพล่าม, การพูดไม่เป็นสาระ, การพูดไม่ชัด adj. ซึ่งพูดพล่ามหรือไม่ชัด | bleat | (บลีท) { bleated, bleating, bleats } n., v. (ร้อง) เสียงร้องแพะ ๆ (แพะ, แกะ, ลูกวัว) , ร้องคร่ำครวญ, การพูดโง่ ๆ, See also: bleater n. ดูbleat | bullshit | (บูล'ชิท) n. ความไร้สาระ, การพูดความจริง. interj. คำอุทานแสดงความไม่เชื่อความไม่เห็นด้วย, Syn. nonsense | bur | (เบอร์) { burred, burring, burs } n. เปลือกผลไม้ที่เป็นหนาม, สิ่งเกาะติด, คนที่ยากจะสลัดให้หลุดไปได้, ก้างติดคอ, เสียงตัว "r" ในลำคอ, การพูดอยู่ในลำคอ vt. ขจัดเอาหนามออก, เอาเสี้ยนออก, Syn. rough | by-talk | n. การพูดจาเล็กน้อยหรือไม่เกี่ยวข้อง | cadence | (แคด'เดินซฺ) { cadenced, cadencing, cadences } n. ท่วงทำนองดนตรี, จังหวะในการพูด, จังหวะ, ท่วงทำนอง vt. ให้จังหวะ, ทำเป็นจังหวะ, See also: cadent, cadential adj., Syn. beat | cant | (แคนทฺ) n. ข้อความเท็จ, คำพูดเท็จ, คำพูดปากหวานก้นเปรี้ยว, ถ้อยคำพิเศษที่ใช้เฉพาะในหมู่ชนหนึ่ง ๆ , ภาษาวิชาชีพ, การพูดเป็นเพลง, ความเอียง vi. พูดแบบปากหวานแต่ก้นเปรี้ยว, พูดเป็นเพลง, Syn. hypocrisy | circumlocution | n. การพูดอ้อมค้อม, การพูดซ้ำซาก, See also: circumlocutory adj. ดูcircumlocution circumlocutionist n. ดูcircumlocution | clamjamfry | (แคลมแจม'ฟรี) n. ฝูงชน, สามัญชน, การพูดที่ไม่จริงใจ | clatter | (แคลท'เทอะ) { clattered.clattering, clatters } vi., n. (เสียง) ดังกระทบ, เคลื่อนที่ดังโกรกเกรก, หัวเราะกิ๊ก ๆ , พูดเร็ว, พูดไม่หยุด vt.ทำให้เกิดเสียงกระทบ, การพูดนินทา, การพูดเร็ว, การพูดฉอด, See also: clattery adj. ดูclatter | comeback | n. การกลับสู่ตำแหน่งหรือฐานะเดิม, การพูดย้อนที่ฉลาด, Syn. return | coquetry | (โค'คิทรี) n. นิสัยยั่วสวาท, การพูดจาเกี้ยว, การเกี้ยว, Syn. flirtation, dalliance | cross talk | n. การพูดสอดแทรก, คำพูดสอดแทรก, การทะเลาะกัน | dalliance | (แดล'ลิเอินซฺ) n. ความอืดอาด, การปล่อยเวลาให้หมดเปลืองไปเปล่า ๆ , การพูดจาเกี้ยว, Syn. amour | declamation | (เดคคละเม'เชิน) n. การแสดงสุนทรพจน์แบบโผงผาง, พูดชุมชน, การพูดที่ครึกโครม, การคุยโว, การท่องออกเสียง, See also: declamatory adj. ดูdeclamation | drone | (โดรน) n. ผึ้งตัวผู้, กาฝาก, เครื่องบินไร้คนขับที่ควบคุมด้วยวิทยุทางไกล, เสียงหึ่ง ๆ คล้ายผึ้ง, ขลุ่ยที่มีเสียงต่ำ, การพูดเสียงต่ำ, เสียงพึมพำที่น่าเบื่อ, คนที่พูดเสียงที่น่าเบื่อ v. (ทำ) เสียงหึ่ง ๆ คล้ายผึ้ง, ขลุ่ยที่มีเสียงต่ำ, การพูดเสียงต่ำ, เสียงพึมพำที่น่าเบื่อ, ค | elliptic | (อิลิพ'ทิเคิล) adj. ซึ่งเป็นรูปไข่, เกี่ยวกับการพูดหรือการเขียนที่ย่อเกินไป, คลุมเครือ., See also: ellipticalness n. | elliptical | (อิลิพ'ทิเคิล) adj. ซึ่งเป็นรูปไข่, เกี่ยวกับการพูดหรือการเขียนที่ย่อเกินไป, คลุมเครือ., See also: ellipticalness n. | elocution | (เอลละคิว'เชิน) n. วิธีการพูดหรืออ่านออกเสียง, การศึกษาเกี่ยวกับวิธีการพูดในที่ชุมนุม, See also: elocutionary adj. ดูelocution elocutionist n. ดูelocution | eloquence | (เอล'ละเควินซฺ) n. การพูดคล่อง, การมีคารมคมคาย, สำนวนคมคาย, Syn. oratory | fencing | (เฟน'ซิง) n. การฟันดาบ, ศิลปะการฟันดาบ, การพูดหลบหลีก, รั้ว, วัสดุสำหรับทำรั้ว | fleer | (เฟลียร์) vi., n. (การ) หัวเราะเยาะ, เยาะเย้ย, ยั่วเย้า, ดูถูก, เหยียดหยาม n. การพูดเยาะเย้ย, การแสดงสีหน้าที่ดูถูก, การดูถูกข่มเหงผู้หลบหนี, ผู้หนี, See also: fleeringly adv., Syn. mock | forensic | (ฟอเรน'ซิค) adj. (เกี่ยวกับ) กฎหมาย, ศาลยุติธรรม, การเล่นสำนวนโวหาร, See also: forensics n. วิชาเกี่ยวกับศิลปะแห่งการพูดหรือเขียนเพื่อจูงใจคน forensicality n. forensicsally adv. | gabble | (แกบ'เบิล) { gabbled, gabbling, gabbles } vi. พูดพร่ำ, พูดฉอด ๆ , (ไก่) ร้องเสียงกระต๊าก ๆ vt. พูดฉอด ๆ n. การพูดพร่ำ, การพูดอย่างเร็ว ๆ ที่ไร้สาระ, Syn. chatter, babble, prattle | gag | (แกก) { gagged, gagging, gags } vt., n. ปิดปาก, อุดปาก, ใช้เครื่องถ่างปาก, จำกัดการพูด, พูดโดยไม่มีบท, สอดแทรกนอกบท vi. หายใจไม่ออก, พูดตลก, สอดแทรกบทตลก, พูดตลก. n. เครื่องถ่างปาก, สิ่งที่ใช้อุดปาก, การจำกัดเสรีภาพในการพูด, เรื่องตลก, กลอนสด, การพูดโดยมีบท คำที่มีความ | gag law n. | กฏจำกัดเสรีภาพการพูด, กฎหมายปิดปาก | gag rule | กฏจำกัดเสรีภาพการพูด, กฎหมายปิดปาก | galimatias | n. การพูดสับสน, การพูดพร่ำและเร็วจนฟังไม่ค่อยรู้เรื่อง | gallantry | n. ความกล้าหาญ, ความชอบช่วยเหลือคนอื่น, การชอบเอาอกเอาใจสตรี, การกระทำหรือการพูดที่กล้าหาญ, Syn. heroism, courage, courtesy, politeness | garbage | (การ์'บิจฺ) n. ขยะ, มูลฝอย, เศษสิ่งของ, สิ่งที่ไร้ค่า, ของเลว, การพูดปด, การพูดที่ไร้สาระ, Syn. refuge, rubbish | garrulity | (กะรู'ลิที) n. การพูดมาก, การพูดแบบน้ำท่วมทุ่ง, Syn. talkativeness, wordiness | generalisation | n. ลักษณะทั่วไป, หลักการหรือกฎเกณฑ์ทั่วไป, การพูดคลุม, การลงความเห็น, การวางหลักเกณฑ์, Syn. generality, majority | generalization | n. ลักษณะทั่วไป, หลักการหรือกฎเกณฑ์ทั่วไป, การพูดคลุม, การลงความเห็น, การวางหลักเกณฑ์, Syn. generality, majority | gibberish | (จิบ'เบอริช) n. การพูดหรือเขียนที่ไร้สาระ | grandiloquence | n. คำพูดที่โอหัง, การพูดที่โอหัง | guff | (กัฟ) n. การพูดที่อวดดี | hanky-panky | n. การหลอกลวง, นิสัยไม่ดี, ความโง่, นิสัยขี้เล่น, การพูดเล่น., Syn. hankey-pankey | hogwash | n. อาหารหมู, ของที่ไร้ค่า, การพูด, การเขียนหรืออื่น ๆ ที่ไม่มีความหมาย | hoopla | (ฮู'พละ) n. ความโกลาหล, ความอึกทึกครึกโครม, การพูดหรือข้อเขียนที่บิดเบือนความจริง |
| advocacy | (n) การพูดสนับสนุน, การแก้ต่าง, ทนาย | allegation | (n) การพูดพล่อย, การกล่าวหา, ข้อกล่าวหา, ข้ออ้าง | allusion | (n) การพาดพิง, การพูดถึง, การหมายถึง | articulation | (n) การพูดชัดแจ้ง, การเชื่อม, การประกบ, ปล้อง, ข้อต่อ | aside | (n) การพูดป้องปาก | babble | (n) การพูดพล่อย, การพูดพล่าม, การพูดจ้อ, เสียงอึกทึก | badinage | (n) การพูดล้อเลียน, การพูดเย้าแหย่ | bluff | (n) ตลิ่งชัน, ผาชัน, ศพ, การพูดลวง | blurt | (n) การพูดโพล่ง | brag | (n) การคุยโว, การโม้, การพูดอวด | bull | (n) วัวตัวผู้, ช้างพลาย, สัตว์ตัวผู้, การโกหก, การพูดเกินจริง | chatter | (n) การพูดพล่อย, การพูดไร้สาระ, การพูดเหลวไหล | circumlocution | (n) การพูดน้ำท่วมทุ่ง, การพูดวกวน | conversation | (n) การสนทนา, การปฏิสันถาร, การติดต่อ, การพูดคุยกัน | declamation | (n) การพูดในที่ชุมนุมชน, ปาฐกถา, การแสดงสุนทรพจน์ | deliverance | (n) การพูด, การนำส่ง, การปลดปล่อย, อิสรภาพ, การแถลงการณ์, การคลอดลูก | delivery | (n) การพูดจา, การกล่าวสุนทรพจน์, การส่งมอบ, การคลอดลูก | digression | (n) ความวกวน, ข้อปลีกย่อย, การพูดนอกประเด็น | discourse | (n) การสนทนา, การบรรยาย, การอภิปราย, การพูด, ปาฐกถา | elocution | (n) ศิลปะในการพูด, วิชาการพูด, การอ่านออกเสียง | elocutionist | (n) ผู้ชำนาญในการพูด, ผู้ชำนาญในการออกเสียง | eloquence | (n) ความมีคารมคมคาย, โวหารดี, การพูดเก่ง, การพูดคล่องแคล่ว | equivocation | (n) การพูดสองแง่สองง่าม, การพูดอ้อมค้อม, การพูดกำกวม | exaggeration | (n) การคุยโว, การพูดเกินจริง, การพูดโอ้อวด | fencing | (n) การล้อมรั้ว, การพูดหลบหลีก, การฟันดาบ | fib | (n) การพูดปด, การโกหก, คำเท็จ, ความผิด | gabble | (n) การพูดเร็ว, การพูดฉอด, การพูดพร่ำ | gag | (n) การอุดปาก, การปิดปาก, การจำกัดเสรีภาพในการพูด | generalization | (n) การพูดคลุม, การกล่าวอย่างกว้างๆ, ลักษณะทั่วไป | gibber | (n) การพูดพล่อยๆ, การพูดไม่ชัด, การพูดตะกุกตะกัก | harangue | (n) การพูดจ้อ, การพูดโอ้อวด, การด่าว่า | hint | (n) ข้อแนะ, การบอกใบ้, การพูดเปรย | hobble | (n) การเดินกะเผลก, การพูดตะกุกตะกัก, ความไม่ราบรื่น | hyperbole | (n) การขยายความ, การพูดเกินจริง, การเขียนเกินเลย | insinuation | (n) การลอบเข้าไป, การพูดสอดแทรก, การพูดแนะ | interjection | (n) การอุทาน, คำอุทาน, การพูดสอด | irony | (n) การพูดอย่างใจอย่าง, คำประชดประชัน | jabber | (n) การส่งเสียงเจี๊ยวจ๊าว, การพูดไม่เป็นสาระ, การพูดรัว | jerk | (n) อาการกระตุก, การพูดตะกุกตะกัก, การสะบัด, การเหวี่ยง, การกระชาก | jest | (n) การพูดตลก, การพูดล้อ, การพูดหยอก | lie | (n) คำเท็จ, คำโกหก, การพูดโกหก, การพูดเท็จ | moonshine | (n) แสงจันทร์, เรื่องเหลวไหล, การพูดไร้สาระ, เหล้าเถื่อน | parlance | (n) วิธีการพูด, ภาษาเฉพาะ, การพูดจา, สำนวน | patter | (n) เสียงวิ่งตั๊กๆ, เสียงดังแปะๆ, เสียงกุกกัก, การพูดเร็ว | periphrase | (n) การพูดเลี่ยง, การพูดอ้อมค้อม, การพูดหลบหลีก | pleasantry | (n) การหยอกล้อ, การล้อเล่น, การพูดตลก | prate | (n) การพูดเพ้อเจ้อ, การพูดพร่ำ, การพูดจ้อ, การพูดเรื่อยเปื่อย | prattle | (n) การพูดเพ้อเจ้อ, การพูดพร่ำ, การพูดจ้อ, การพูดเรื่อยเปื่อย | prevarication | (n) การพูดหลบหลีก, การกลับกลอก, การพูดเลี่ยง, การโกหก | quibble | (n) การพูดหลบหลีก, การพูดเลี่ยง, การพูดตลบตะแลง |
| Hedge | (n, vi) [ Linguistics: Pragmatics ] n. คำบ่งชี้ความไม่แน่ใจ คำบ่งชี้การพูดออกตัว การพูดออกตัว โดยใช้ คำ วลี หรือประพจน์เพื่อป้องกันตัวของผู้พูดในกรณีที่พูดผิด ไม่มั่นใจ เช่น วันนี้ฝนอาจจะตก คำว่า อาจจะ คือ hedge ชนิดหนึ่งที่บ่งชี้ว่าผู้พูดมีความไม่มั่นใจ มีความกำกวม ซึ่งฝนจะตกหรือไม่ตกผู้พูดก็ไม่ได้พูดผิด เพราะคำว่า อาจจะ มีความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิด 50/50 v. พูดออกตัว พูดกำกวม พูดป้องกันตัว, See also: softener, downtoner, understatement, weakener, tentativeness, stance m, Syn. mitigator | hellon't | [[ เหอะ ลอนท์ ]] เป็นการพูดแบบเสียดสีเพื่อบอกว่า " ลาก่อน " คำนี้ไม่ค่อยเป็นที่นิยมเท่าไร OMFG, he is here, I will say him "hellon't, see you later" โอ้พระเจ้าเขาอยู่ที่นี่ ฉันจะบอกเขาว่า " สวัสดีเจอกันใหม่นะ " "hellon't baby, I really need to go" "สวัสดีที่รัก ฉันต้องไปแล้วจริงๆ" | insinuate | said in an indirect way, especially something unpleasant การพูดจาเสียดสี | moonspeak | (slang) การพูดภาษาที่คนอื่นไม่เข้าใจ ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) |
| 早口言葉 | [はやくちことば, hayakuchikotoba] (vt) การพูดเร็วๆจนลิ้นพันกัน, ลิ้นพันกันจากการพูดเร็วๆ, ลิ้นพันกัน | なんちゃって | [なんちゃって, nanchatte] (phrase) อธิบาย: เป็นคำใช้ล้อเลียน หรือเวลาต้องการพูดล้อเล่น ติดตลก แปลได้หลายอย่าง เช่น ไม่ใช่ซะกะหน่อย ซะอย่างงั้น กลายเป็นงั้นไป ฯลฯ ตัวอย่างการใช้ ใช้ต่อท้ายประโยคหรือบทพูด เพื่อจะบอกว่าสิ่งที่พูดมาทั้งหมดโม้ หรือโกหก | 比喩 | [ひゆ, hiyu] การพูดเปรียบเทียบ การอุปมาอุปไมย | 台詞 | [せりふ, serifu] (n) (สพีชฺ) n. การพูด, วิธีการพูด, คำพูด, คำบรรยาย, คำสุนทรพจน์, วิชาเกี่ยวกับการพูด, ข่าวลือ, ภาษาชนชาติ, ภาษา., S. utterance | へりくつ | [へりくつ, herikutsu] (n) การพูดเล่นลิ้น เล่นลิ้น | ギクシャク | [ぎくしゃく, gikushaku] (adv) ไม่ไหลลื่น, ตะกุกตะกัก (เรื่องราว, การพูด, ท่าทาง, ฯลฯ) | 戻ってきたのは | [もってきたのは, mottekitanoha] (n) การพูดไม่ออก, การเป็นใบ้ชั่วคราว (จากความตะลึง) |
| 過言 | [かごん, kagon] TH: การพูดเกินจริง EN: exaggeration | 過言 | [かごん, kagon] TH: การพูดมากไป EN: saying too much |
| süß | (adj) น่ารัก(ท่าทางกิริยา การพูด), See also: hübsch | auf die Nerven gehen | กวนประสาท, รบกวน, สร้างความรำคาญ เช่น Deine Rederei geht mir langsam auf die Nerven. การพูดของเธอเริ่มกวนประสาทฉัน | Stil | (n) |der, pl. Stile| สไตล์หรือลักษณะวิธีการพูดหรือเขียนเฉพาะบุคคล เช่น Sie hat einen lebendigen Stil beim Sprechen. เธอคนนี้มีวิธีการพูดที่มีชีวิตชีวา |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |