ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ธิบดี, -ธิบดี- |
ปฏิบัติราชการแทน | (exp) (ตำแหน่งต่ำกว่า)...for...(ตำแหน่งสูงกว่า) เช่น "รองอธิบดีกรมสรรพากร ปฏิบัติราชการแทนอธิบดี" เขียนว่า "Deputy Director-General of the Revenue Department for the Director-General" |
| ธิบดี | (n) leader, See also: chief, ruler, prince, master, principal, manager, boss, overseer, Syn. หัวหน้า, Ant. ลูกน้อง, Example: พระองค์ทรงเป็นธิบดีของปวงประชา, Count Unit: คน | อธิบดี | (n) director-general, Example: อธิบดีกรมตำรวจสั่งกวาดล้างอาชญากรรมทั่วกรุงเทพ, Count Unit: คน, Thai Definition: ตำแหน่งหัวหน้ากรมในราชการ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อธิบดี | (n) director-general, Example: อธิบดีกรมตำรวจสั่งกวาดล้างอาชญากรรมทั่วกรุงเทพ, Count Unit: คน, Thai Definition: ตำแหน่งหัวหน้ากรมในราชการ, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ธราธิบดี | (n) king, See also: monarch, master, sovereign, potentate, emperor, overlord, imperator, Syn. ธราธิป, พระเจ้าแผ่นดิน, กษัตริย์, พระราชา, Count Unit: พระองค์, Notes: (สันสกฤต) | รองอธิบดี | (n) deputy director, Example: มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่า รองอธิบดีผู้หนึ่งทำงานหากินกับสำนักพิมพ์บางแห่ง, Count Unit: ตำแหน่ง | เทพาธิบดี | (n) Siva, See also: king of god, Syn. พระอิศวร, Count Unit: องค์, Thai Definition: เจ้าแห่งเทวดา, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | ประธานาธิบดี | (n) president, Syn. ผู้นำ, ผู้ปกครอง, ประมุข, Example: ประธานาธิบดีถูกลอบสังหารโดยกลุ่มผู้ปฏิวัติ, Count Unit: คน, Thai Definition: ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ | อธิบดีผู้พิพากษา | (n) chief judge, Example: เขาดำรงตำแหน่งอธิบดีผู้พิพากษา, Thai Definition: หัวหน้าผู้พิพากษา |
|
| ทานาธิบดี | น. เจ้าของทาน, ผู้เป็นใหญ่ในการให้, เช่น ขอกุศลผลบุญจงบังเกิดแก่ทานาธิบดีในการทอดกฐินครั้งนี้. | ทานาธิบดี | ดู ทาน ๑, ทาน-. | เทพาธิบดี | น. เจ้าแห่งเทวดา, พระอิศวร. | เทพาธิบดี | ดู เทพ ๑, เทพ-. | ธราธิบดี, ธราธิป | น. พระเจ้าแผ่นดิน. | ประธานาธิบดี | (ปฺระทานาทิบอดี, ปฺระทานาทิบบอดี) น. ประมุขของประเทศที่ปกครองโดยระบอบสาธารณรัฐ. | โลกาธิบดี | (-ทิบอดี, -ทิบบอดี) น. ผู้เป็นใหญ่ในโลก. | โลกาธิบดี | ดู โลก, โลก-. | อธิบดี | (อะทิบอดี, อะทิบบอดี) น. ผู้เป็นใหญ่, ผู้ปกครอง, หัวหน้า, เช่น อธิบดีสงฆ์ อธิบดีผู้พิพากษา | อธิบดี | ตำแหน่งหัวหน้ากรมในราชการ. | อธิบดี | (อะทิบอดี, อะทิบบอดี) ว. มีความเจริญสวัสดิมงคล ทางโหราศาสตร์นิยมให้ประกอบการมงคลต่าง ๆ ในวัน ยาม ฤกษ์ ราศี และดิถีที่เป็นอธิบดี ทั้งนี้ตลอดปีนั้น ๆ, ตรงข้ามกับ โลกาวินาศ. | กรมนา | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาเกษตราธิบดีฯ หรือเจ้าพระยาพลเทพฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือตราพระพิรุณทรงนาคและตราอื่น ๆ รวม ๙ ดวง. | กรมพระคลัง | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาพระคลัง เจ้าพระยาโกษาธิบดีฯ หรือเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราชฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือ ตราบัวแก้ว. | กรมวัง | เสนาบดีตำแหน่งตามทำเนียบเดิม คือ เจ้าพระยาธรรมาธิกรณ์หรือเจ้าพระยาธรรมาธิบดีฯ, ตราประจำตำแหน่ง คือ ตราเทพยดาขี่โคนนทิกร. | กาลโยค | (กาละ-) น. การกำหนด วัน ยาม ฤกษ์ ราศี ดิถี ของแต่ละปี เป็น ธงชัย อธิบดี อุบาทว์ โลกาวินาศ. | ขึ้นแท่น | โดยปริยายหมายความว่า ได้รับการยกย่องหรือได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งที่สูง (ใช้ในความประชด) เช่น เขาขึ้นแท่นไปเป็นอธิบดีแล้วเลยเข้าพบยาก. | คลังสินค้าทัณฑ์บน | น. สถานที่ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติและกำหนดให้เป็นสถานที่ตรวจและเก็บของซึ่งมีผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ต้องชำระอากรขาเข้า. | คั่ว ๒ | ก. คอยกิน (ใช้ในการเล่นไพ่ผ่องไทยหรือไพ่ผ่องจีนเป็นต้น), โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น สองคนนี้คั่วกันมาหลายปี ก็ยังไม่ได้แต่งงานกัน เขาคั่วตำแหน่งอธิบดีอยู่. | คำนับ ๑ | น. คำที่ต้องนับถือ, หลักฐาน, เช่น ธก็ให้โกษาธิบดีลำดับคำนับนี้ไว้ (ม. คำหลวง นครกัณฑ์). | จินดามณี | ชื่อตำราแบบเรียนหนังสือไทยโบราณ เช่น จินดามณีฉบับพระโหราธิบดีแต่งในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จินดามณีฉบับไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ในรัชกาลสมเด็จพระบรมโกศ จินดามณีฉบับกรมหลวงวงษาธิราชสนิทแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์. | ดีมิดี, ดีไม่ดี | คำแสดงความไม่แน่ใจ, อาจได้อาจเสีย, เสี่ยงได้เสี่ยงเสีย, เช่น ดีไม่ดีเขาอาจได้เป็นอธิบดี. | นฤพาน | (นะรึ-) ก. ตาย (ใช้แก่พระมหากษัตริย์บางพระองค์ เท่าที่ปรากฏในเอกสารสมัยอยุธยา) เช่น ครั้งนั้นสมเด็จพระรามาธิบดีเจ้าเสด็จนฤพาน (พงศ. กรุงเก่า). | น้อง ๆ | ว. จวนจะเป็น, ใกล้จะเป็น, เกือบจะเป็น, เช่น น้อง ๆ อธิบดีเข้าไปแล้ว. | ยกหยิบ | ก. หยิบยก เช่น จะยกหยิบธิบดีเป็นที่ตั้ง (นิ. ภูเขาทอง). | รอง ๑ | ว. เป็นที่ ๒ โดยตำแหน่ง เช่น รองอธิบดี รองอธิการบดี, ถัดลงมาโดยอายุหรือตำแหน่ง เช่น ตำแหน่งรองลงมา, ด้อยกว่า เช่น เป็นรอง. | รักษาการ | ก. ปฏิบัติหน้าที่แทนชั่วคราว เช่น รองอธิบดีรักษาการแทนอธิบดี. | เรา | ส. สรรพนามบุรุษที่ ๑ เป็นคำแทนตัวผู้พูด จะเป็นคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ ถ้าผู้พูดเป็นคนคนเดียว อาจพูดแทนคนอื่น ๆ รวมทั้งตัวเองด้วย เช่น เราทุกคนเป็นคนไทย หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะเสมอกัน เช่น เรามีความเห็นอย่างนี้ เธอมีความเห็นอย่างไร หรืออาจพูดกับผู้ที่มีฐานะต่ำกว่า เช่น อธิบดีพูดกับนักการว่า ปีนี้เราจะขึ้นเงินเดือนให้ ๒ ขั้น, สรรพนามบุรุษที่ ๒ เป็นคำใช้สำหรับผู้มีอำนาจหรือผู้ใหญ่พูดกับผู้น้อย เช่น เจ้าหน้าที่ถามผู้ต้องหาว่า เราจะรับสารภาพไหม. | โลกาวินาศ | ว. สูญสิ้นความเจริญสวัสดิมงคล ทางโหราศาสตร์ห้ามประกอบการมงคลต่าง ๆ ในวัน ยาม ฤกษ์ ราศี และดิถีที่เป็นโลกาวินาศ ทั้งนี้ตลอดปีนั้น, ตรงข้ามกับ อธิบดี. | วางท่า | ก. ทำท่าไว้ยศ เช่น วางท่าเป็นอธิบดี, วางปุ่ม ก็ว่า. | สาธารณรัฐ | น. ประเทศหรือการปกครองที่มีประธานาธิบดีเป็นประมุข เช่น สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี. | สาสน, สาสน-, สาสน์, สาส์น | จดหมายของประมุขของประเทศหรือประมุขสงฆ์ที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, ถ้าเป็นจดหมายของพระมหากษัตริย์ เรียกว่า พระราชสาส์น, ถ้าเป็นจดหมายของประธานาธิบดี เรียกว่า อักษรสาส์น, เขียนเป็น อักษรสาสน หรือ อักษรสาสน์ ก็ได้, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราช เรียกว่า สมณสาสน์, ถ้าเป็นจดหมายของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า เรียกว่า พระสมณสาสน์. | อักษรสาส์น | (อักสอนระสาด, อักสอนสาด) น. จดหมายของประธานาธิบดีหรือประมุขของประเทศซึ่งมีชื่อเป็นอย่างอื่นที่ใช้ในการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ, เขียนเป็น อักษรสาสน (อ่านว่า อักสอนสาน) ก็ได้. | ไอศวรรย์ | สมบัติแห่งพระราชาธิบดี, ใช้ว่า ไอศุริย หรือ ไอศูรย์ ก็มี. | ไอศุริยสมบัติ | น. สมบัติแห่งพระราชาธิบดี. |
| | Presidential candidates | ผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดี [TU Subject Heading] | Presidents | ประธานาธิบดี [TU Subject Heading] | Presidents' spouses | คู่สมรสประธานาธิบดี [TU Subject Heading] | ASEAN-Australia Forum | การประชุมอาเซียน-ออสเตรเลีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกๆ 18 - 24 เดือน โดยหัวหน้าคณะ ผู้แทนของออสเตรเลียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนจะเป็นระดับเจ้าหน้าที่ อาวุโส (ปลัดกระทรวงฯ) และเป็นประธานร่วมของการประชุม เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างกันในทุกด้าน [การทูต] | ASEAN-India Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-อินเดีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยอินเดียและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับอินเดีย [การทูต] | Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] | ASEAN-New Zealand Joint Management Committee | คณะกรรมการบริหารร่วมอาเซียน-นิวซีแลนด์ ประกอบด้วยผู้แทนระดับอธิบดีของอาเซียนและนิวซีแลนด์ ประชุมกัน ปีละครั้ง เพื่อทบทวนติดตามและนำเสนอโครงการความร่วมมือระหว่างกัน [การทูต] | ASEAN-Pakistan Joint Sectoral Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมือเฉพาะด้านอาเซียน-ปากีสถาน เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน โดยปากีสถานและประเทศผู้ประสานงานของอาเซียนสลับกันเป็นเจ้าภาพ เพื่อหารือและกำกับดูแลความร่วมมือระหว่างอาเซียนกับปากีสถาน [การทูต] | ASEAN-Russia Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-รัสเซีย เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุก ๆ 18-24 เดือน มีคณะทำงาน 2 คณะ คือ (1) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ (2) ด้านเศรษฐกิจ [การทูต] | ASEAN Standing Committee | คณะกรรมการประจำอาเซียน " ประกอบด้วยอธิบดีกรมอาเซียนของทุกประเทศสมาชิก มีหน้าที่ ควบคุม ดูแล ติดตามการดำเนินงานของกลไกและกิจกรรมต่าง ๆ ของอาเซียน ปกติจะประชุมปีละ 6 ครั้ง เป็นการประชุมในนามของ รัฐมนตรีต่างประเทศ ในช่วงกลางระหว่างการประชุมประจำปีของ รัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน " [การทูต] | ASEAN-Canada Joint Cooperation Committee | คณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมืออาเซียน-แคนาดา เป็นการประชุมระดับอธิบดี จัดขึ้นทุกปี เพื่อทบทวน ติดตามและขยายความร่วมมือระหว่างกันในด้านต่าง ๆ [การทูต] | Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] | East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] | Eisenhower Doctrine | ลัทธิไอเซนฮาวร์ เมื่อวันที่ 5 มกราคม ค.ศ. 1957 ประธานาธิบดีไอเซนฮาวร์ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งมีความวิตกห่วงใยในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่ออันตรายในภูมิภาคตะวันออกกลาง ได้อ่านสารพิเศษต่อที่ประชุมร่วมระหว่างสภาผู้แทนกับวุฒิสภาขอร้องให้รัฐสภา สหรัฐฯ ลงมติรับรองโครงการช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและทางทหาร เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติของบรรดาประเทศในภูมิภาคตะวันออกกลาง ให้มีความมั่นคงยิ่งขึ้น ดังนั้น ในการสนองตอบสารพิเศษดังกล่าว รัฐสภาสหรัฐฯ ได้ผ่านข้อมติร่วมกันเมื่อวันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1957 มอบให้ประธานาธิบดีมีอำนาจให้ความร่วมมือและอำนวยความช่วยเหลือแก่ชาติหรือ กลุ่มชาติต่างๆ ในภูมิภาคตะวันออกกลาง ซึ่งต้องการความช่วยเหลือเช่นนั้น ในการที่จะพัฒนาพลังทางเศรษฐกิจเพื่อรักษาไว้ซึ่งเอกราชแห่งชาติตน และให้จัดโครงการช่วยเหลือทางทหารแก่ชาติต่างๆ ในภาคนั้นซึ่งต้องการความช่วยเหลือดังกล่าว ทั้งได้มอบอำนาจให้ประธานาธิบดีสามารถใช้กองทัพสหรัฐฯ เข้าช่วยเหลือชาติเหล่านั้นที่แสดงเจตนาขอความช่วยเหลือ เพื่อต่อต้านการรุกรานจากประเทศใด ๆ ที่อยู่ใต้อำนาจควบคุมของคอมมิวนิสต์ระหว่างประเทศ [การทูต] | Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] | International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] | Introducer of Ambassadors | หมายถึง เจ้าหน้าที่แนะนำเอกอัครราชทูต ในนครหลวงของบางประเทศจะมีเจ้าหน้าที่โดยเฉพาะ ซึ่งรับผิดชอบการติดต่อกับเอกอัครราชทูตซึ่งกำหนดจะยื่นสารตราตั้ง ให้เดินทางจากทำเนียบเอกอัครราชทูตไปยังทำเนียบของประมุขแห่งรัฐ และจะเป็นผู้เบิกตัว หรือแนะนำเอกอัครราชทูตผู้นั้นต่อประมุขของรัฐในพิธียื่นสารตราตั้ง ในนครหลวงของอีกบางประเทศ เจ้าหน้าที่แนะนำตัวเอกอัครราชทูตจะมีตำแหน่งเรียกอย่างอื่นคือ Master of Ceremonies ส่วนในประเทศอังกฤษ ณ พระราชสำนักแห่งเซนต์เจมส์ ผู้ที่ทำหน้าที่เช่นนี้จะเรียกว่า Her Majesty?s Marshal of the Diplomatic Corps ส่วนในสหรัฐอเมริกา ผู้กระทำหน้าที่นี้คืออธิบดีกรมพิธีการทูต (Chief of Protocol) [การทูต] | Ministry of Foreign Affairs's Spokesman (MFA's Spokesman) | โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งอธิบดีกรมสารนิเทศทำหน้าที่โดยตำแหน่ง [การทูต] | The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] | Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] | Plan Puebla-Panama | สมาชิก เม็กซิโก เบลิซ กัวเตมาลา ฮอนดูรัส เอลซัลวาดอร์ นิการากัว คอสตาริกา และปานามา วัตถุประสงค์ ริเริ่มโดยประธานาธิบดี Vicente Fox ของเม็กซิโก เมื่อปี พ.ศ. 2543 เพื่อแสวงหาความร่วมมือและให้การสนับสนุนด้านเงินทุนแก่ประเทศภูมิภาค อเมริกากลางในการเชื่อมโยงเครือข่ายคมนาคมและสาธารณูปโภค เช่น ถนน สายส่งไฟฟ้า ท่อก๊าซ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจจากเม็กซิโกลงไปยังประเทศทางตอนใต้ ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศร่วมกัน และเพื่อแก้ไขปัญหาการอพยพของแรงงานผิดกฎหมายจากประเทศในแถบอเมริกากลางเข้า สู่เม็กซิโก หมายเหตุ Puebla เป็นชื่อเมืองทางตะวันตกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และเป็นจุดเริ่มต้นโครงการ ซึ่งสิ้นสุดที่ปานามา [การทูต] | Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] | protocol | 1. พิธีการทูต 2. พิธีสาร " 1. พิธีการทูต หมายถึง หลักปฏิบัติ หรือมารยาททางการทูต (etiquette) ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันในนานาประเทศจนกลายเป็นรูปแบบที่ใช้กันในงานพิธีการ หรือรัฐพิธีต่าง ๆ รวมถึงเรื่องเอกสิทธิ์ ความคุ้มกัน ลำดับอาวุโส ฯลฯ ทั้งนี้ บุคคลซึ่งเป็นหัวหน้ารับผิดชอบด้านพิธีการทูต เรียกว่า Chief of Protocol สำหรับประเทศไทย คือ อธิบดีกรมพิธีการทูต ส่วนเจ้าหน้าที่พิธีการทูต เรียกว่า protocol official 2. พิธีสาร เป็นความตกลงระหว่างประเทศอย่างหนึ่ง โดยมากเป็นพิธีสารต่อท้ายสนธิสัญญาหรืออนุสัญญา หรือพิธีสารแก้ไขเพิ่มเติมสนธิสัญญาหรืออนุสัญญานั้น " [การทูต] | suite of honour | คณะผู้ติดตามเกียรติยศ - สำหรับการเยือนอย่างเป็นทางการระดับประมุขของรัฐ จะประกอบด้วย ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ที่ประมุขของรัฐจัดให้มาประจำประมุขของรัฐผู้มาเยือน - สำหรับการเยือนอย่างเป็นทางการระดับหัวหน้ารัฐบาล จะประกอบด้วย รัฐมนตรีเกียรติยศ เอกอัครราชทูตไทยประจำประเทศผู้มาเยือน อธิบดีกรมพิธีการทูต พร้อมทั้งนายทหารเกียรติยศ ในกรณีที่ผู้มาเยือนมีคู่สมรส ก็จะเพิ่มคู่สมรสของคณะผู้ติดตามเกียรติยศ และนายตำรวจหญิงประจำ ตลอดการเยือน [การทูต] | Termination of Consular Office | การยุติลงของการหน้าที่ทางการกงสุล กล่าวคือ หน้าที่ของหัวหน้าคณะในสถานที่ทำการทางกงสุลจะยุติลงเนื่องจาก 1. วายชนม์2. รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับ3. รัฐผู้รับเพิกถอนอนุมัติบัตร (Exequatur)4. การหน้าที่ของผู้นั้นได้ถึงกำหนดครบวาระหรือยุติลง5. เกิดสงครามระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับไม่เหมือนกับกรณีคณะผู้แทนทางการทูต สถานที่ทำการทางกงสุลนั้น ภาระหน้าที่จะไม่ยุติลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนกษัตริย์หรือประธานาธิบดีของ รัฐผู้ส่งหรือรัฐผู้รับ ข้อ 25 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาบัญญัติไว้ว่า ?การหน้าที่ของบุคคลในสถานที่ทำการกงสุลจะยุติลงก) เมื่อรัฐผู้ส่งได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้รับว่า การหน้าที่ของบุคคลดังกล่าวได้ยุติลงแล้วข) เมื่อมีการเพิกถอนอนุมัติบัตรค) เมื่อรัฐผู้รับได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้ส่งว่า รัฐผู้รับได้เลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล [การทูต] | visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] | white tie | ชุดราตรีสโมสร " เสื้อสูทหางยาวสีดำ กางเกงสีดำมีผ้าผูกคอหูกระต่าย (bow-tie) สีขาว เสื้อเชิ้ตสีขาว แถบดิ้นไหมสีดำ ใช้ในโอกาสงานกลางคืนที่จัดอย่างเป็นทางการ (งานราตรีสโมสร-formal evening entertainments) เช่น งานพระราชทานเลี้ยงกระยาหารค่ำเพื่อเป็นเกียรติแก่ประธานาธิบดี ซึ่งมาเยือนไทยอย่างเป็นทางการ งานแสดงอุปรากร งานเต้นรำ " [การทูต] |
| Maybe there is some glory in saving a president, but just anybody? | ช่วยชีวิตประธานาธิบดีอาจมีศักดิ์ศรี แต่ถ้าคนเดินดิน? The Bodyguard (1992) | I'd call that a step up from the president. | ดีกว่าประกบประธานาธิบดีแยะนี่ The Bodyguard (1992) | You saw the photos in there. Budahas received a presidential commendation. | คุณเห็นรูปนั่นไหม Budahas ได้รับคำชมเชยจากประธานาธิบดี Squeeze (1993) | The Presidency! | ประธานาธิบดี Blazing Saddles (1974) | President | ท่านประธานาธิบดี Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | President, take as your lawful spouse His Excellency's daughter, Tatiana | ท่านประธานาธิบดีเลือกที่จะแต่งงานกับทาเทียน่า ลูกสาวของท่านเอกอัครราชทูต Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | My story will interest you all especially our dear President; | เรื่องราวของฉันจะสนใจท่าน... ...แด่ของเราโดยเฉพาะประธานาธิบดี; Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Dear President | แด่ประธานาธิบดี Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Let's follow Signora Maggi's example, giving our dear President the joy of seeing his dream come true | ให้'ของปฏิบัติตามมาดามตัวอย่างของ Maggi , \ Ngiving แด่ของเราประธานาธิบดี... ...ความปีติยินดีของเห็น dream come ของเขา . ถูกต้อง Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | I refer, as you will have guessed to our illustrious President | ฉันอ้างอิง, เพราะคุณจะได้คาดเดา... ...เพื่อประธานาธิบดีมีชื่อเสียงของเรา Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Dear President, three votes to one | แด่ประธานาธิบดี, สามการออกเสียงให้สิ่งนั้น Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | The President wishes to be first, he is the most randy | ประธานาธิบดีปราถนา Nhe แรก, \คือแถบหนังในรองเท้าบริเวณสันเท้าส่วนมาก Salò, or the 120 Days of Sodom (1975) | Lowell Wilson has personally gotten down on his knees with three US Presidents. | โลเวล วิลสันเขาคุกเข่าลงด้วยตัวเอง กับประธานาธิบดีสหรัฐ 3 ท่าน Oh, God! (1977) | My agency will go military the president's got his finger on the button and you want me to tell him we want to hitch a ride with those same Russians. | หน่วยงานของฉันจะกลายเป็น ส่วนหนึ่งของ ทหาร ฉันได้เป็นประธานาธิบดี ด้วยนิ้วของเขา ทรงตัวที่ปุ่ม 2010: The Year We Make Contact (1984) | It's getting worse here. | มันเลวร้ายลงที่นี่ ประธานาธิบดีจ่าหน้า 2010: The Year We Make Contact (1984) | By direct presidential order, the existence of that monolith was kept secret. | ตามคำสั่งของประธานาธิบดี โดยตรงการดำรงอยู่ ของหินใหญ่ก้อนเดียวที่ถูกเก็บ เป็นความลับ ดังนั้น? 2010: The Year We Make Contact (1984) | As a result, by direct presidential order, the three of you must leave the Leonov. | เป็นผลให้ตามคำสั่งของ ประธานาธิบดีโดยตรง ทั้งสามคุณต้องออกจาก ลีอ นอฟ 2010: The Year We Make Contact (1984) | They will record that the next day the president of the United States looked out the White House window and the premier of the Soviet Union looked out the Kremlin window and saw the new distant sun in the sky. | พวกเขาจะบันทึกว่าในวัน ถัดไป ประธานาธิบดีของ สหรัฐอเมริกา มองออกไปนอกหน้าต่าง ทำเนียบขาว 2010: The Year We Make Contact (1984) | ladies and gentlemen, as of this afternoon, the undersecretary for south American affairs emphatically denies any and all intervention in the current realignment of top positions in the paraguayan air force. | บ่ายวันนี้ อธิบดีกรมกิจการอเมริกาใต้ ได้ยืนยันการปฏิเสธ ว่าไม่มีการเข้าแทรกแซงการแต่งตั้ง Spies Like Us (1985) | the United States would never-- if the president-- that's how it will always be. | สหรัฐอเมริกา จะไม่ปฏิเสธ คำร้องขอของประธานาธิบดี ตามนั้น ชัดเจนมั้ยครับ? Spies Like Us (1985) | "you'll thank me." that's it. the Dushanbe road... where we're supposed to meet our contacts... | "นายจะขอบใจฉัน..." นั่นไง ถนน Dushanbe ที่เราจะได้รับการติดต่อครั้งต่อไป เรามีอำนาจดำเนินการเต็มที่ ตราบเท่าที่ประธานาธิบดีเห็นชอบ Spies Like Us (1985) | we'd better call the president. | - เราต้องแจ้งประธานาธิบดี Spies Like Us (1985) | and we should never forget the words of president john f. kennedy who said, "ask not what your country can do for you, but what you can do for your country." | และเราไม่ควรลืมวาทกรรม ของอดีตประธานาธิบดี John F. Kennedy Spies Like Us (1985) | the president must know that this attack was not initiated by the Soviet union. | ประธานาธิบดีต้องรับทราบ ว่าการโจมตีครั้งนี้ สหภาพโซเวียตไม่ได้เป็นฝ่ายเริ่ม Spies Like Us (1985) | sac-com confirms all defense systems commitment ready. we have verification. the president is aboard the airborne command center. | SAC-Com ยืนยัน ระบบตอบโต้ทั้งหมดพร้อมรบ ประธานาธิบดีขึ้นบิน บน Air Force One แล้ว Spies Like Us (1985) | I'm sure it will only be a matter of minutes before the president commits to total release. | อีกแค่ไม่กี่นาที ประธานาธิบดีจะสั่งตอบโต้เต็มรูปแบบ Spies Like Us (1985) | I demand you place me in immediate communication with the president! | - ผมขอติดต่อประธานาธิบดี เดี๋ยวนี้! Spies Like Us (1985) | That was before President Kennedy was shot... before the Beatles came... when I couldn't wait to join the Peace Corps... and I thought I'd never find a guy as great as my dad. | ก่อนที่ประธานาธิบดีเคเนดี้ จะถูกลอบสังหาร... ก่อนที่วง เดอะบีทเทิล จะเกิด... ตอนนั้นฉันแทบรอไม่ไหวที่จะเข้า ร่วมอาสาสมัคร พัฒนาประเทศ... Dirty Dancing (1987) | I can be elected president. | อาจได้เป็นประธานาธิบดี Good Will Hunting (1997) | If so, we will arrange a pardon for her signed by the President of the United States. | ถ้าทำได้ เราจะขอประธานาธิบดี อภัยโทษให้เธอโดยไม่ถูกเนรเทศ The Jackal (1997) | Item 4: at 1:05 p.m. Director Brown is scheduled to meet the First Lady at a diplomatic reception at the White House, regarding to a New Hope Hospital opening. | เวลาบ่ายโมง 5 นาที ผู้อำนวยการบราวน์จะไปพบ ภรรยาประธานาธิบดีที่ไวท์เฮ้าส์ เพื่อปรึกษาเรื่องพิธีเปิดตึก โรงพยาบาลนิวโฮป The Jackal (1997) | We're garding the wrong person. He's after the First Lady. | นี่ไง ภรรยาประธานาธิบดี The Jackal (1997) | They're on alert, but she's going to the podium! I guess it's all on us! | เขาพร้อมอยู่ แต่เรารับผิดชอบ ท่านภริยาประธานาธิบดี The Jackal (1997) | Ladies and Gentlemen, it gives me a great pleasure to introduce the First Lady of the United States. | ท่านผู้มีเกียรติทุกท่าน ผมมีความยินดีอย่างยิ่งที่จะเชิญ... ภรรยาท่านประธานาธิบดีสหรัฐครับ The Jackal (1997) | The agent, who saved the First Lady. | ผมเป็นผู้ช่วยชีวิตภรรยาประธานาธิบดี The Jackal (1997) | Or if it's election night and you want to celebrate, because some fudge-packer was elected the first queer president. | หรือคุณอยากจะฉลอง คืนวันเลือกตั้ง... ...เพราะว่าคู่ขาคุณชนะการเลือกตั้ง ได้เป็นประธานาธิบดีกะเทยคนแรก As Good as It Gets (1997) | You should run for President in 2000. | เธอควรจะลงหาเสียงเป็นประธานธิบดีนะ Dark Harbor (1998) | Happy birthday Mister President happy birthday to you. | แฮปปี้ เบิร์ธเดย์ ท่าน ประธานธิบดี แฮปปี้ เบิร์ธเดย์ Dark Harbor (1998) | Thais have so much respect for their monarch that up until Rama III changed the law no one could utter His Majesty's name. | คนไทยเคยเคารพราชวงศ์มาก... ...นั่นจนกระทั่งสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3 ได้เปลี่ยนกฏหมาย โดยในตอนนั้นไม่มีใครสามารถเอ่ยนามพระองค์ได้ด้วยซ้ำ Brokedown Palace (1999) | Mr. President, I'm entrusting you with my soon-to-be-naked wife. | ท่านประธานาธิบดี ผมขอปฏิญาณตนด้วย ภรรยาของผม ผู้ซึ่งกำลังจะเปลือย The Story of Us (1999) | I'm sure she was. Did she fuck a President? | ฉันก็ว่ายังงั้นแหละ เํธอเคยนอนกับประธานาธิบดีหรือเปล่าล่ะ? The Story of Us (1999) | A monarch who fails to keep his word is uncivilized, unenlightened and ungrateful. | พระราชาธิบดีที่ไม่รักษาคำพูดของเขาจะไม่พัฒนา ไม่มีความรู้ และน่าสะอิดสะเอียน. Anna and the King (1999) | What's next? - The President's visit. | -การมาเยือนของประธานาธิบดีสหรัฐ Love Actually (2003) | Oh, shut up. (Cheering) (Press) Mr President! | โอเค เงียบดีกว่า ท่านประธานาธิบดี Love Actually (2003) | Mr President, welcome. | ยินดีต้อนรับครับท่านประธานาธิบดี Love Actually (2003) | Mr President, has it been a good visit? | ท่านประธานาธิบดี ได้ให้เกียรติมาเยี่ยมเยียน Love Actually (2003) | A relationship based on the President taking what he wants and casually ignoring all those things that really matter to, erm... | ความสัมพันธ์ที่อ้างมาจาก ท่านประธานาธิบดีได้สิ่งที่ท่านต้องการ แต่ก็เพิกเฉย ไม่ใส่ใจ กับหลายๆสิ่งที่สำคัญต่อ... Love Actually (2003) | And the President should be prepared for that. (Press clamouring) Mr President! | และท่านประธานาธิบดี ก็ควรจะทำด้วยเช่นกัน ท่านประธานาธิบดี! Love Actually (2003) | I came in and he slinked towards me and there was a fire and he's the President of the United States and nothing happened, I promise. | ฉันเข้าไปแล้วเขาก็เดินมาหาฉัน แล้วมันก็เลยเริ่มจะยุ่ง แล้วเขาเป็นประธานาธิบดีสหรัฐด้วย แต่ไม่มีอะไรจริงๆนะคะ Love Actually (2003) | Arrival of President Kim Dae Jung in Pyungyang | ประธานาธิบดี Kim Dae Jung ถึงเปียงยาง Oldboy (2003) |
| อธิบดี | [athibødī] (n, exp) EN: director-general (administration) FR: directeur général (de l'administration) [ m ] | อธิบดีตำรวจ | [athibødī tamrūat] (n, exp) FR: chef de la police [ m ] | การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา | [kān leūaktang prathānāthibødī Saharat Amērikā] (xp) EN: United States presidential election FR: élections présidentielles américaines [ fpl ] | ประธานาธิบดี | [prathānāthibødī] (n) EN: president (of a republic) FR: président (d'un pays) [ m ] ; président de la république [ m ] | ประธานาธิบดี | [prathānāthibødī] (adj) EN: presidential FR: présidentiel | ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา | [prathānāthibødī khøng Saharat Amērikā] (n, exp) EN: President of the United-States of America FR: président des États-Unis d'Amérique [ m ] | สมเด็จพระรามาธิบดีที่หก | [Somdēt Phra Rāmā Thibodī thī Hok] (n, prop) EN: His Majesty King Rama VI FR: Sa Majesté le roi Rama VI | ทำเนียบประธานาธิบดี | [thamnīep prathānāthibødī] (n, exp) FR: palais présidentiel [ m ] |
| | Air Force One | (n) เครื่องบินสำหรับประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา | Chief Executive | (n) ประธานาธิบดีของประเทศสหรัฐอเมริกา | electoral vote | (n) คะแนนเสียงที่ผู้แทนรัฐลงให้เพื่อเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิดีของสหรัฐอเมริกา | Inauguration Day | (n) วันประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาสาบานตนเข้ารับตำแหน่ง (20 ม.ค.) | Lincoln, Abraham | (n) ประธานาธิบดีคนที่ 16 ของประเทศสหรัฐอเมริกา | Lord Chancellor | (n) อธิบดีศาลสูงสุด, Syn. Lord High Chancellor | Lord High Chancellor | (n) อธิบดีศาลสูงสุด, Syn. Lord Chancellor | Monroe | (n) ประธานาธิบดีมอนโร (คนที่ห้า) ของอเมริกา | Mr.President | (n) ท่านประธานาธิบดี | national convention | (n) การประชุมพรรคเพื่อเลือกผู้สมัครเลือกตั้งประธานาธิบดี | presidency | (n) ตำแหน่งประธานาธิบดี, See also: ี, Syn. position, chairmanship | presidency | (n) งานรับผิดชอบของประธานาธิบดี | president | (n) ประธานาธิบดี | president-elect | (n) ผู้ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีแต่ยังไม่ได้เข้ารับตำแหน่ง | presidential | (adj) เกี่ยวกับประธานาธิบดี | presidentship | (n) ทำเนียบประธานาธิบดี | Prez | (n) ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา | Van Buren, Martin | (n) ประธานาธิบดีคนที่ 8 ของอเมริกา (ค.ศ 1837-1841) | veep | (n) รองประธานาธิบดี (คำสแลง) | vice president | (n) รองประธานาธิบดี, See also: รองประธานบริษัท | Vice President | (n) รองประธานาธิบดี | vice-president | (n) รองประธาน, See also: รองประธานาธิบดี, Syn. administrator | White House | (n) ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน ดี ซี, Syn. Executive Mansion |
| attorney general | อธิบดีกรมอัยการ | chief executive | n. ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา | chief justice | n. หัวหน้าผู้พิพากษา, อธิบดีศาล, See also: chiefjusticeship n. | chief of police | n. อธิบดีกรมตำรวจ | commander in chief | (-อินชีฟ) n. ผู้บัญชาการทหารสุงสุด, จอมทัพ, แม่ทัพ, ประธานาธิบดี -pl. (commanders in chief) | commissary | (คอม'มิเซอรี) n. ร้านขายอาหารและเสบียง, ที่จ่ายเสบียง, รองหัวหน้า, commissar, รองอธิบดีตำรวจ, รองนายกเทศมนตรี | commissioner | (สคะมิช'เชินเนอะ) n. ผู้ได้รับมอบหมายอำนาจหน้าที่, ผู้ตรวจการณ์, กรรมาธิการ, กรรมการ, หัวหน้ากรม, อธิบดี | director general | n. อธิบดี | electoral vote | คะแนนเสียงที่ลงโดยผู้แทนรัฐ (electoral college) ในการเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา | inauguration day | วันเข้ารับตำแหน่งเป็นทางการของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (วันที่ 20 มกราคม หลังจากได้รับเลือกตั้ง) | lord advocate | n. อธิบดีกรมอัยการ | lord chancellor | n. อธิบดีศาลสูงสุด, ประธานสภาขุนนาง | lord high chancellor | n. อธิบดีศาลสูงสุด, ประธานสภาขุนนาง | presidency | (เพรส'ซิเดินซี) n. ตำแหน่งประธาน, ตำแหน่งประธานาธิบดี, ตำแหน่งนายก | president | (เพรส'ซิเดินทฺ) n. ประธาน, นายก, ประธานาธิบดี, ประมุข, ประธานบริษัท, อธิการบด' (ของมหาวิทยาลัยอเมริกา) , คณบดี (ของมหาวิทยาลัยในอังกฤษ), Syn. chairman | president-elect | (เพรส'ซิเดินทฺ'-) n. ประธานาธิบดีที่ได้รับการเลือกตั้งแต่ยังไม่ได้เข้าดำรงตำแหน่ง | solicitor general | n. (ในอังกฤษ) ตำแหน่งรองอธิบดีกรมอัยการ, , See also: Solicitor General n. ในอเมริกา รองอธิบดีกรมอัยการ | vice president | รองประธาน, รองประธานาธิบดี, See also: vice presidency n. vice-presidency n. vice-presidential adj., Syn. vice-president. | white house | n. ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน , รัฐบาลสหรัฐอเมริกา |
| commissioner | (n) ข้าหลวง, เจ้าหน้าที่, อธิบดี, ผู้ตรวจการ, กรรมาธิการ, กรรมการ | presidency | (n) ตำแหน่งประธานาธิบดี, ตำแหน่งประธาน | president | (n) ประธานาธิบดี, ประธาน, ประมุข, ผู้อำนวยการ, ผู้จัดการใหญ่ | presidential | (adj) เกี่ยวกับประธานาธิบดี, เกี่ยวกับประธาน |
| creep | (n) คณะกรรมการการเลือกตั้งประธานาธิบดี (สมัยนิกสัน), Syn. Committee for the Re-Election of the President Nixon's 1972 campaign organizatio | director-general | อธิบดี | presidency | (n) ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดี | road map | [โร๊ด แมป] (n) แนวทางการดำเนินการ eg. "the president said he had a road map for normalizing relations with Vietnam" "ท่านประธานธิบดี บอกว่า เขามีแนวทางดำเนินการเพื่อให้ความสัมพันธ์กับ ประเทศเวียตนาม กลับมาเหมือนเดิม", See also: วิธีการ, วิธี, Syn. แนวปฏิบัติ | RSV | (abbrev) ไวรัส RSV หรือ Respiratory Syncytial Virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ส่วนบนจนถึงส่วนล่าง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) และอาจทำให้ปอดอักเสบติดเชื้อได้ (Pneumonia) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กที่มีโรคประจำตัว คลอดก่อนกำหนด ฯลฯ อาการเริ่มแรกเหมือนไข้หวัด คือ มีไข้ ไอ น้ำมูกไหล แต่จะมีไอมาก เสมหะเยอะและเหนียวข้น หายใจหอบเหนื่อย หน้าอกบุ๋ม อาจมีเสียหงายใจดังวี๊ดๆ ซึม ไม่กินน้ำ หงุดหงิด กระวุนกระวาย มีสีเขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก หรือ ปลายมือปลายเท้า เนื่องจากร่างกายขาดออกซิเจน หากมีอาการดังกล่าว ควรไปพบแพทย์ ที่มา: เอกสารแผ่นพับจากโรงเรียนอนุบาลชนานันท์ เรียบเรียงโดยก้านแก้ว จากการสัมภาษณ์ เรืออากาศเอกแพทย์หญิงหฤทัย กมลาภรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
| 大統領 | [だいとうりょう, daitouryou] (n) ประธานาธิบดี |
| 大統領選 | [だいとうりょうせん, daitouryousen] การเลือกตั้งประธานาธิบดี | 大統領選挙 | [だいとうりょうせんきょ, daitouryousenkyo] การเลือกตั้งประธานาธิบดี |
| Präsident | (n) |der, pl. Präsidenten| ประธานาธิบดี, ประธาน, See also: die Präsidentin | Abend für Abend | เย็นแล้วเย็นเล่า, วันแล้ววันเล่า เช่น Abend für Abend wiederholen Radio und Fernsehen die Wahlspots der vier Präsidentschaftskandidaten. วิทยุและโทรทัศน์ถ่ายทอดโฆษณาผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีซ้ำไปซ้ำมา |
|
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |