ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ภาร*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ภาร, -ภาร-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
trade terms[เทรด เทอมส] (n) "ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า
โบ้ย[โบ้ย] (vt, slang) การโยนงานหรือภาระหน้าที่ให้ผู้อื่นทำ ตัวอย่าง จู่ๆเขาก็โบ้ยงานมาให้ฉันทำ ทั้งๆที่มันไม่ใช่หน้าที่เลย

Longdo Dictionary ภาษา ญี่ปุ่น (JP) - ญี่ปุ่น (JP) (UNAPPROVED version -- use with care )
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
พันธกิจ[ミッション] (n, org) กิจการหรืองานที่มีภาระรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติให้บรรลุผล

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ภาร(n) burden, See also: charge, duty, business, important affair, Syn. ภาระ, Thai Definition: ธุระที่หนัก, การงานที่หนัก, Notes: (บาลี)
ภาร(n) duty, Syn. ี่หน้าที่, ภาระ, ธุระ, Thai Definition: หน้าที่ที่ต้องรับเอา, หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ, Notes: (บาลี)
ภาร(adj) heavy, See also: loaded, Syn. หนัก, Ant. เบา, Thai Definition: ที่มีน้ำหนักมาก, Notes: (บาลี)
ภาร(n) heavy thing, See also: load, Syn. ของหนัก, Thai Definition: ของที่มีน้ำหนักมาก, Notes: (บาลี)
ภาระ(n) burden, See also: responsibility, charge, duty, task, obligation, Syn. ภารกิจ, หน้าที่, ภาระหน้าที่, Example: เขาอยากจะปลดเปลื้องภาระของเขาให้น้องชายทำแทนเสียที, Thai Definition: หน้าที่การงานหรือธุระที่จำเป็นต้องรับผิดชอบ
ภารา(n) town, See also: city, Syn. พารา, เมือง, ธานี, นคร
ภารดี(n) speech, See also: words, eloquence, language, utterance, Syn. ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา, Thai Definition: คำที่กล่าวออกมา
ภารตี(n) goddess, See also: goddess Surasawadee, Thai Definition: ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี
สมภาร(n) abbot, Syn. เจ้าวัด, เจ้าอาวาส, Ant. ลูกวัด, Count Unit: รูป
สมภาร(n) abbot, Ant. พระลูกวัด, ลูกวัด, Example: กุลบุตรทั้งหลานที่ต้องการเรียนหนังสือ บิดามารดาจะนำไปฝากไว้กับสมภารเจ้าวัดให้รับใช้พระสงฆ์, Count Unit: รูป, Thai Definition: พระที่เป็นเจ้าอาวาส, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
สมภาร(n) accumulated good deeds, See also: acquired merit, Thai Definition: บุญที่สะสมไว้, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
ภารโรง(n) janitor, See also: watchman, caretaker, Syn. นักการภารโรง, นักการ, Example: แม้ภารโรงจะเป็นเพียงลูกจ้าง แต่สิทธิพิเศษต่างๆ ที่ภารโรงและครอบครัวได้นั้น ไม่แตกต่างจากข้าราชการประจำเท่าไร, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้รักษาและทำความสะอาดสถานที่
ภารธุระ(n) task, See also: business, Example: เมื่อเวลาท่านรัฐมนตรีมาถึง เขาจะต้องเอาภารธุระกับเรื่องนี้อย่างใกล้ชิด, Thai Definition: การงานที่รับทำ, กิจการที่ขวนขวายประกอบ
รับภาระ(v) shoulder, See also: undertake, assume, take on, bear, Syn. แบกรับ, แบกภาระ, Example: นกคุ่มอืดตัวเมียมีขนาดใหญ่กว่าตัวผู้ ดังนั้นตัวผู้จึงต้องรับภาระในการเลี้ยงและดูแลลูกแทนตัวเมีย
สัมภาระ(n) luggage, See also: baggage, bags, gear, cases, impedimenta, paraphernalia, suitcases, Example: เขาต้องใช้เวลาถึง 2 วัน ในการย้ายบ้าน เพราะมีสัมภาระมากมาย, Thai Definition: สิ่งของต่างๆ ซึ่งสะสมรวบรวม หรือจัดเตรียมไว้ เพื่อภาระต่างๆ, Notes: (บาลี/สันสกฤต)
หมดภาระ(v) be free from obligation, See also: be free from one's duty, Syn. พ้นภาระ, Ant. มีภาระ, รับภาระ, Example: ตอนนี้แม่หมดภาระในการเลี้ยงดูลูกๆ แล้ว เพราะต่างก็มีเหย้ามีเรือนกันไปหมด, Thai Definition: ไม่มีหน้าที่ที่ต้องทำอีกแล้ว
ภารตวิทยา(n) Indian study, See also: study of India, Example: ท่านสนใจในด้านภารตวิทยาเพราะท่านเคยไปอยู่ที่อินเดียมานาน, Thai Definition: วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น, Notes: (สันสกฤต)
ภาระจำยอม(n) servitude, Example: ทางเดินภายในตลาดปีนังคือภาระจำยอมซึ่งชาวบ้านใช้ร่วมกันมากกว่า 20 ปีแล้ว, Thai Definition: ข้อผูกพันอันเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์จำต้องยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิบางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินนั้น เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์อื่น, Notes: (กฎหมาย)
ทัพสัมภาระ(n) timber or wood for building a house or vehicle, See also: wooden materials necessary as supporting or building a vehicle or house, Thai Definition: วัสดุสำหรับก่อสร้าง, ส่วนประกอบที่อาจประกอบเป็นยวดยานหรือบ้านเรือน
ผู้รับภาระ(n) one carrying a burden, See also: one who shoulders a burden, responsibility, burden bearer, Syn. คนรับภาระ, ผู้แบกภาระ, คนแบกภาระ, Ant. ผู้โยนภาระ, Example: รัฐบาลเป็นผู้รับภาระในเรื่องอาหาร เรื่องเครื่องนุ่งห่มแก่นักโทษที่อยู่ในความคุ้มครองดูแล, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่รับงานหนักตามหน้าที่ที่ผู้อื่นมอบให้
ภารยทรัพย์(n) servitude property, Example: ตึกทั้งแถบนี้เป็นภารยทรัพย์ที่ตามกฎหมายคุณต้องรับผิดชอบ, Thai Definition: อสังหาริมทรัพย์ที่ผู้เป็นเจ้าของจะต้องรับภาระบางอย่างที่เกิดจากภาระจำยอม, Notes: (กฎหมาย)
ภาระติดพัน(n) obligation, See also: responsibility, Example: กองมรดกมีภาระติดพันที่จะต้องบำรุงมูลนิธิหลายแห่ง, Thai Definition: ความผูกพันที่จะต้องกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ภาระผูกพัน(n) obligation, See also: charge, Example: ในปีนี้ฐานะเงินคงคลังของประเทศเหลือเพียง 103, 635 ล้านบาท และในจำนวนนี้มีภาระผูกพันที่จะต้องใช้อีกประมาณ 6 หมื่นกว่าล้านบาท, Thai Definition: เรื่องที่ต้องรับผิดชอบต่อเนื่องไป
ภาระหน้าที่(n) duty, See also: obligation, Example: อาจารย์หนุ่มหนักใจต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นับแต่ได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชา, Thai Definition: กิจที่ต้องทำที่รับเอาไว้
แบ่งเบาภาระ(v) lighten the load, See also: share the work, Example: รัฐบาลน่าจะหาแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำมาปล่อยกู้ให้เกษตรกร เพื่อแบ่งเบาภาระให้ชาวไร่ที่ต้องลงทุนเพาะปลูกในฤดูกาลต่อไป, Thai Definition: ช่วยทำให้ภาระหนักที่รับไว้เบาลง
แบ่งเบาภาระ(v) lighten the load, See also: share the work, Example: รัฐบาลน่าจะหาแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำมาปล่อยกู้ให้เกษตรกร เพื่อแบ่งเบาภาระให้ชาวไร่ที่ต้องลงทุนเพาะปลูกในฤดูกาลต่อไป, Thai Definition: ช่วยทำให้ภาระหนักที่รับไว้เบาลง
แบ่งเบาภาระ(v) lighten the load, See also: share the work, Example: รัฐบาลน่าจะหาแหล่งเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำมาปล่อยกู้ให้เกษตรกร เพื่อแบ่งเบาภาระให้ชาวไร่ที่ต้องลงทุนเพาะปลูกในฤดูกาลต่อไป, Thai Definition: ช่วยทำให้ภาระหนักที่รับไว้เบาลง
พระราชภารกิจ(n) royal, Syn. ภารกิจ, ธุระ, ภาระ, กิจ, กรณียกิจ, Example: รัชกาลที่ 3 ทรงมีพระราชภารกิจในการทำนุบำรุงบ้านเมืองทั้งด้านเศรษฐกิจและการพัฒนา, Thai Definition: งานที่จำต้องทำ, Notes: (ราชา)
ปฏิบัติภารกิจ(v) do one's task, See also: perform one's mission, perform one's duty, carry out one's duty, discharge one's duty, Syn. ปฏิบัติหน้าที่, ทำหน้าที่, Example: ทหารกำลังปฏิบัติภารกิจป้องกันชายแดนจาการลุกล้ำอธิปไตยของประเทศเพื่อนบ้าน
ข้าวของสัมภาระ(n) belongings, See also: stuff, materials, Syn. ข้าวของเครื่องใช้, Example: รถสองแถวสีแดงวันนี้บรรทุกผู้โดยสารและข้าวของสัมภาระอื่นๆ เนืองแน่น
ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์(n) charge on immovable property, Thai Definition: ข้อผูกพันที่ผู้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับการชำระหนี้เป็นคราวๆ จากอสังหาริมทรัพย์ที่ตกอยู่ในภาระติดพัน หรือได้ใช้และถือเอาซึ่งประโยชน์แห่งทรัพย์สินตามที่ระบุไว้, Notes: (กฎหมาย)

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
เจ้าไม่มีศาล สมภารไม่มีวัดน. ผู้ไม่มีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง.
ทัพสัมภาระ(ทับพะ-) น. สิ่งหรือเครื่องอันเป็นส่วนประกอบที่จะคุมกันเข้าเป็นเรือน เรือ รถ หรือเกวียน เป็นต้น.
บพิตรพระราชสมภารส. คำที่พระสงฆ์เรียกพระมหากษัตริย์ มักใช้ในการถวายพระธรรมเทศนา.
บุญญาธิสมภารน. บุญที่ได้สั่งสมไว้มากยิ่ง.
ปราคภาร(ปฺราก-) น. เงื้อมภูเขา.
ปัพภาระน. เงื้อมเขา.
ผลักภาระก. ทำให้พ้นตัวไป.
โพธิสมภารน. บุญบารมีของพระมหากษัตริย์.
ภาร, ภาร-, ภาระ ๑(พาน, พาระ-) น. ของหนัก, นํ้าหนัก
ภาร, ภาร-, ภาระ ๑ธุระที่หนัก, การงานที่หนัก
ภาร, ภาร-, ภาระ ๑หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่มีภาระในการเลี้ยงดูลูก ครูมีภาระในการอบรมสั่งสอนศิษย์, ความรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่ตายหมด พี่ต้องรับภาระส่งเสียเลี้ยงดูน้อง.
ภาร, ภาร-, ภาระ ๑(พาน, พาระ-) ว. หนัก.
ภารกิจ(พาระ-) น. งานที่จำต้องทำ.
ภารธุระ(พาระทุระ, พานทุระ) น. การงานที่รับทำ, กิจการที่ขวนขวายประกอบ.
ภารโรง(พาน-) น. ผู้รักษาและทำความสะอาดสถานที่.
ภาระจำยอมน. ข้อผูกพันอันเป็นเหตุให้เจ้าของอสังหาริมทรัพย์จำต้องยอมรับกรรมบางอย่างซึ่งกระทบถึงทรัพย์สินของตน หรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิบางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินนั้น เพื่อประโยชน์แก่อสังหาริมทรัพย์อื่น เช่น ทางภาระจำยอม.
ภาระติดพันน. ความผูกพันที่จะต้องกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์น. ข้อผูกพันที่ผู้รับประโยชน์มีสิทธิได้รับการชำระหนี้เป็นคราว ๆ จากอสังหาริมทรัพย์ที่ตกอยู่ในภาระติดพัน หรือได้ใช้และถือเอาซึ่งประโยชน์แห่งทรัพย์สินตามที่ระบุไว้.
ภารดี(พาระ-) น. ถ้อยคำ, คำพูด, ภาษา.
ภารต, ภารต-(พารด, พาระตะ-) น. ชาวอินเดีย
ภารต, ภารต-คนแสดงละคร.
ภารตวิทยาน. วิชาที่เกี่ยวกับประเทศอินเดีย มีศาสนา ปรัชญา วัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ภาษา วรรณคดี เป็นต้น.
ภารตี(-ระ-) น. ชื่อหนึ่งของพระสุรัสวดี.
ภารยทรัพย์(พาระยะซับ) น. อสังหาริมทรัพย์ที่ตกอยู่ในภาระจำยอม, คู่กับ สามยทรัพย์.
ภารยา(พาระ-, พานระ-) น. ภรรยา.
ภาระ ๑ดู ภาร, ภาร-.
ภาระ ๒, ภารา ๑น. ชื่อมาตราชั่งนํ้าหนักมคธ ๒๐ ตุลา เป็น ๑ ภาระ.
ภารา ๒น. พารา, เมือง.
มหาภารตะ(มะหาพาระตะ) น. ชื่อบทประพันธ์มหากาพย์เรื่องใหญ่เรื่องหนึ่งของอินเดีย, คู่กับ รามายณ คือ รามเกียรติ์.
ลูกสมภารหลานเจ้าวัดน. ลูกเจ้านาย, ลูกผู้มีอำนาจ, มีความหมายทำนองเดียวกับ ลูกท่านหลานเธอ.
สกฏภาระ(-พาระ) น. ของบรรทุกเกวียน.
สมภาร(-พาน) น. พระที่เป็นเจ้าอาวาส.
สัมภาระ(สำพาระ) น. สิ่งของต่าง ๆ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้และเสบียงซึ่งสะสมรวบรวมหรือจัดเตรียมไว้เพื่อภาระต่าง ๆ เช่น เตรียมสัมภาระสำหรับไปต่างจังหวัด
สัมภาระการเกื้อหนุน, การเลี้ยงดู.
เสภารำน. เสภาทรงเครื่องที่มีตัวละครออกมารำประกอบการขับ.
อังสภาระน. ของแบก.
กรรมาธิการ(กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ.
กระโถนท้องพระโรงน. ผู้ที่ต้องรองรับภาระงานหรืออารมณ์ของผู้อื่นอยู่คนเดียว.
กลฉ้อฉล(กน-) น. การใช้อุบายหลอกลวงด้วยการแสดงข้อความอันเป็นเท็จ หรือการจงใจปิดบังซ่อนเร้นข้อความจริงเพื่อให้ผู้อื่นหลงผิดจนเข้าทำนิติกรรม หรือจนคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งยอมรับข้อกำหนดอันเป็นภาระอันหนักขึ้นกว่าที่คู่กรณีฝ่ายนั้นจะยอมรับโดยปรกติ.
การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่น. การดำเนินการพัฒนาที่ดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปที่ดินใหม่ ปรับปรุงหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่วมรับภาระและกระจายผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับรัฐ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านต่าง ๆ.
ครูบาน. ครูผู้สอนกุลบุตร หมายถึง สมภาร, คำใช้เรียกพระเถระผู้เป็นที่เคารพนับถือ ซึ่งมักจะมีอายุ ๕๐ ปีขึ้นไป.
เครื่องหลังน. สัมภาระที่ทหารหรือนักเดินทางเป็นต้นนำติดตัวไป โดยผูกรัดไว้ข้างหลัง.
ช่วยแบ่งเบาภาระ เช่น ช่วยเลี้ยงน้อง
เดือดร้อนก. เป็นทุกข์กังวลไม่เป็นสุข เช่น พอพ่อป่วยครอบครัวก็เลยเดือดร้อน, เป็นภาระ เช่น งานนี้ฉันเลยเดือดร้อนต้องทำแทนเขา.
ตกหนักก. รับทุกข์, รับเคราะห์, รับภาระหรือหน้าที่หนัก.
ตัดช่องน้อยแต่พอตัวก. ด่วนตายไปก่อนโดยทิ้งภาระไว้ภายหลัง
ทรัพยสิทธิ(ซับพะยะสิด) น. สิทธิเหนือทรัพย์สินที่จะก่อตั้งขึ้นได้แต่ด้วยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เช่น กรรมสิทธิ์ สิทธิอาศัย ภาระจำยอม.
ทำงนน. ภาระ.
ธนาคารแห่งประเทศไทยน. ธนาคารกลางที่มีวัตถุประสงค์ในการดำเนินภารกิจอันพึงเป็นงานของธนาคารกลาง เพื่อดำรงไว้ซึ่งเสถียรภาพทางการเงินและเสถียรภาพของระบบสถาบันการเงินและระบบการชำระเงิน, (ปาก) ธนาคารชาติ หรือ แบงก์ชาติ.
บรรทุกโดยปริยายหมายความว่า รับภาระ เช่น บรรทุกงานไว้มาก.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
proof, burden ofหน้าที่นำสืบ, ภาระการพิสูจน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
preloadingการให้ภาระก่อน [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
predial servitudeหน้าที่ตามภาระจำยอม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
legal easementภาระจำยอมโดยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
load deviceอุปกรณ์เพิ่มภาระ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
load profileโพรไฟล์ภาระ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
load๑. บรรจุ๒. ภาระ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
loadภาระ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
load๑. บรรจุ๒. ภาระ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
local land chargesภาระติดพันที่ดินส่วนท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
land chargesภาระติดพันที่ดิน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
res sua nemini servit (L.)ภาระจำยอมย่อมไม่มีในที่ดินของตนเอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
state council๑. สภาแห่งรัฐ๒. สภารัฐมนตรี (จีน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
servient propertyภารยทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
servitudeภาระจำยอม [ ดู easement ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
servitudeภาระจำยอม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
servitude, involuntaryการจำยอมรับภาระ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
subtaskภารกิจย่อย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
standard of proofภาระการพิสูจน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
onerousมีภาระผูกพันเกินควร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
onerous contractสัญญาที่มีภาระผูกพันเกินควร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
overloadภาระเกิน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
overload protectionการกันภาระเกิน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
overload relayรีเลย์กันภาระเกิน [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
onus probandi (L.)ภาระการพิสูจน์, หน้าที่นำสืบ [ ดู burden of proof ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
onerous termข้อกำหนดที่มีภาระผูกพันเกินควร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
obligorผู้มีภาระผูกพัน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕]
assembly, constituentสภาร่างรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
accountabilityภาระรับผิดชอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
accountabilityภาระความรับผิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
quasi-easementคล้ายภาระจำยอม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Bharahut schoolสกุลศิลปะภารหุต [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
building load profileโพรไฟล์ภาระอาคาร [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
burden of obligationภาระแห่งหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
burden of proofหน้าที่นำสืบ, ภาระการพิสูจน์ [ ดู onus probandi ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
mission๑. ภาระหน้าที่, ภารกิจพิเศษ๒. คณะทูต, คณะผู้แทน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
mission๑. ภาระหน้าที่, ภารกิจพิเศษ (ก. ทั่วไป)๒. คณะทูต, คณะผู้แทน (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
multitasking system; multitaskระบบหลายภารกิจ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
multitasking system; multitaskระบบหลายภารกิจ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
multitask; multitasking systemระบบหลายภารกิจ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
multitask; multitasking systemระบบหลายภารกิจ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
multitasking environmentสิ่งแวดล้อมหลายภารกิจ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
council, state๑. สภาแห่งรัฐ๒. สภารัฐมนตรี (จีน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
charge on immovable propertyภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
chargesค่าภาระติดพัน [ ดู encumbered charge และ value of the charge ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
cooling loadภาระการทำให้เย็น [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
cooling loadภาระการทำความเย็น [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
cooling load factorแฟกเตอร์ภาระการทำความเย็น [ปรับอากาศ ๗ มี.ค. ๒๕๔๕]
constituent assemblyสภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
constituent assemblyสภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
ถวายพระพรลากระทำภายหลังจากที่พระสงฆ์สวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ เสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์รูปที่ ๒ จะต้องเป็นผู้กล่าวถวายพระพรลา ซึ่งมีข้อความดังต่อไปนี้ คือ "ขอถวายพระพร เจริญพระราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคล พระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวง ขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร" [ศัพท์พระราชพิธี]
Import charge and surchargeค่าภาระและค่าธรรมเนียมพิเศษสินค้าเข้า [เศรษฐศาสตร์]
Investment commitmentภาระผูกพันในการลงทุน [เศรษฐศาสตร์]
Load๑. บรรจุ ๒. ภาระ, ๑. บรรจุ ๒. ภาระ [คอมพิวเตอร์]
Task related monitoringการเฝ้าสังเกตตามภารกิจ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างเร่งด่วนสำหรับการบริหารจัดการในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์]
Taskภารกิจ [การจัดการความรู้]
Monitoringการเฝ้าสังเกต, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี หรือ การเปื้อนของสารกัมมันตรังสีจากการตรวจวัด เพื่อประเมินหรือควบคุมการรับรังสี แบ่งเป็น 2 แบบ คือ <br>1. การเฝ้าสังเกตตามจุดตรวจ ได้แก่ การเฝ้าสังเกตตามรายบุคคล สถานที่ปฏิบัติการ ต้นกำเนิดรังสี และสิ่งแวดล้อม</br> <br>2. การเฝ้าสังเกตตามความมุ่งหมาย ได้แก่ การเฝ้าสังเกตเป็นประจำ หรือตามภารกิจที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นกรณีพิเศษ</br> [นิวเคลียร์]
taskภารกิจ, Example: งานอย่างใดอย่างหนึ่งที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ดำเนินการให้เสร็จปกติ มักจะหมายถึงงานในภาวะการทำงานแบบ multiprogramming หรือ multitasking [คอมพิวเตอร์]
ภารกิจงานที่จำต้องทำ, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ภาระกิจ [คำที่มักเขียนผิด]
BOD loadingภาระบีโอดี, Example: ปริมาณของน้ำเสียที่เข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียหรือลงสู่แหล่งน้ำค่ากำหนดในการออกแบบระบบบำบัด มีหน่วยเป็นกก. บีโอดี/ม3 - วัน หรือ กก. บีโอดี/ม2 - วัน [สิ่งแวดล้อม]
Baggage handlingการขนถ่ายสัมภาระ [TU Subject Heading]
Educational accountabilityภาระรับผิดชอบทางการศึกษา [TU Subject Heading]
Load factor designการออกแบบตัวประกอบภาระ [TU Subject Heading]
Mahabharataมหาภารตะ [TU Subject Heading]
Public servitudesภาระจำยอม [TU Subject Heading]
Task analysisการวิเคราะห์ภาระกิจ [TU Subject Heading]
Tax incidenceภาระทางภาษีอากร [TU Subject Heading]
Loadingภาระ (บรรทุก), Example: อัตราการรับหรืออัตราการป้อนสารมลพิษต่อหนึ่ง หน่วยพื้นที่ หรือปริมาตรของถังบำบัด [สิ่งแวดล้อม]
Activated Sludge Loadingภาระแอกทิเวเต็ดสลัดจ์, ภาระเอเอส, ภาระสลัดจ์ไวงาน, Example: ปริมาณบีโอดีต่อวันต่อน้ำหนักจุลินทรีย์ มีหน่วยเป็น กก.บีโอดี/วัน-กก. จุลินทรีย์ หรือ วัน -1 [สิ่งแวดล้อม]
BOD Loadingภาระบีโอดี, Example: ค่ากำหนดในการออกแบบระบบบำบัด มีหน่วยเป็น กก.บีโอดี/ม3-วัน หรือ กก. บีโอดี/ม2-วัน [สิ่งแวดล้อม]
Incidence of Taxภาระภาษี, Example: ผลกระทบของการจัดเก็บภาษีที่มีต่อบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งบุคคลที่จ่ายภาษีหรือไม่ก็ได้ เช่น พ่อค้าเป็นผู้จ่ายภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ภาระสุดท้ายของภาษีนั้นตกอยู่กับผู้บริโภคสินค้านั้น หรือบริษัทที่จ่ายภาษีเงินได้นิติบุคคลต่างๆ โดยการขึ้นราคาสินค้าที่ตนผลิตออกจำหน่าย หรือลดค่าจ้างที่ควรจ่ายให้แก่พนักงาน [สิ่งแวดล้อม]
Loading Factorสัดส่วนภาระ, Example: อัตราส่วนระหว่างค่าเฉลี่ยของภาระกับภาระสูง สุดในช่วงเวลาหนึ่ง [สิ่งแวดล้อม]
Loading Rateอัตราภาระ, Example: อัตราการป้อนปริมาณสารมลพิษเข้าระบบ [สิ่งแวดล้อม]
Organic Loading Rateอัตราภาระอินทรีย์, Example: อัตราการป้อนสารอินทรีย์ต่อขนาดระบบบำบัด มีหน่วยเป็น กก./ม3-วัน หรือ กก./ม2-วัน [สิ่งแวดล้อม]
Ambassadorเอกอัครราชทูต - Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary : เอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม หมายถึง เอกอัครราชทูตที่รัฐผู้ส่งแต่งตั้งไปยังรัฐผู้รับ โดยมอบหมายอำนาจให้ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนของรัฐผู้ส่ง ในกรณีที่เอกอัครราชทูตมิได้มีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้รับ เรียกว่า Non-resident Ambassador - Ambassador-Designate : ว่าที่เอกอัครราชทูตประจำรัฐผู้รับ หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต แต่ยังมิได้ยื่นสาส์นตราตั้งต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ - Ambassador-at-Large : เอกอัครราชทูตผู้แทนพิเศษ หมายถึง ผู้แทนพิเศษของกระทรวงการต่างประเทศที่มีสิทธิและสถานะเทียบเท่าเอกอัคร ราชทูตผู้ซึ่งได้รับมอบหมายให้ดูแลงานและกิจการเฉพาะกิจ หรือเฉพาะเรื่องในต่างประเทศเป็นครั้งคราว - Ambassador attached to the Ministry of Foreign Affairs : เอกอัครราชทูตประจำกระทรวงการต่างประเทศ หมายถึง บุคคล ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูต มีภารกิจดูแลกิจการภายในของกระทรวงการต่างประเทศ ตามที่ได้รับมอบหมายจากปลัดกระทรวงการต่างประเทศ - Resident Ambassador : เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทย หมายถึง เอกอัครราชทูตของไทยที่ได้รับการแต่งตั้งให้ประจำต่อประมุขแห่งรัฐผู้รับ แต่ยังคงมีถิ่นพำนักอยู่ในรัฐผู้ส่ง เอกอัครราชทูตผู้มีถิ่นพำนักในประเทศไทยนี้ จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่ในรัฐผู้รับเป็นครั้งคราว [การทูต]
Amnesty Internationalองค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต]
Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Missionการเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต]
comprehensive plan of actionแผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบ เป็นแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยอย่างสมบูรณ์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศต้นเหตุ ประเทศที่ต้องแบกรับภาระ สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบนี้เป็นการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการป้องกันปัญหา การให้ความช่วยเหลือผู้หนีภัย โดยจัดที่พักพิงชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรม การส่งตัวกลับเมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นเหตุกลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และการหาที่พักพิงให้แก่ผู้หนีภัยในประทศที่สาม [การทูต]
Congress of Viennaเป็นการประชุมระหว่างประเทศที่สำคัญในยุโรป ได้จัดให้มีขึ้นหลังจากเสร็จสงครามนโปเลียน (กันยายน ค.ศ. 1814 ? มิถุนายน ค.ศ. 1815) ประเทศที่ร่วมการประชุมมี ออสเตรีย อังกฤษ ฝรั่งเศส รัฐสันตะปาปา ปรัสเซีย และรัสเซีย ภาระหน้าที่สำคัญของการประชุม คือ การปักปันเขตแดนกันใหม่ และจัดให้ราชวงศ์เก่าแก่กลับฟื้นคืนมาใหม่ ทั้งในประเทศฝรั่งเศส สเปน อิตาลี และเยอรมนี สหภาพแห่งนอร์เวย์ และสวีเดน สหภาพแห่งเบลเยี่ยม และฮอลแลนด์ พร้อมทั้งกำหนดให้สวิตเซอร์แลนด์ มีฐานะเป็นประเทศเป็นกลางถ้ามองในแง่การทูต ผลสำเร็จสำคัญที่สุดจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาคือ ข้อมติกำหนดลำดับอาวุโสของคณะผู้แทนทางการทูต โดยถือหลักอาวุโสไม่ว่าในตำแหน่งใด แทนที่จะถือตามสถานภาพและความสำคัญของกษัตริย์อย่างแต่ก่อน รวมทั้งจัดประเภทของนักการทูต ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 ประเภท (ตามระเบียบที่วางขึ้นใหม่ต่อมาในการประชุม ณ Aix-la-Chapelle ได้แก่1) เอกอัครราชทูต (Ambassadors) ตัวแทนขององค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal legates) และหัวหน้าคณะทูตของสมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncios)2) ผู้แทนทางการทูตผู้มีอำนาจพิเศษ (Envoys Extra-ordinary) และเอกอัครราชทูตผู้มีอำนาจเต็ม (Ministers Plenipotentiary) อินเตอร์นันสิโอของสมเด็จพระสันตะปาปา3) อัครราชทูตผู้มีถิ่นประจำ (Ministers Resident)4) อุปทูต (Chargé d?affaires)คองเกรสแห่งเวียนนายังวางระเบียบเกี่ยวกับเรื่องการจัดลำดับ อาวุโสของบุคคลในคณะทูต ซึ่งชาติต่าง ๆ ได้ลงนามรับรองในสนธิสัญญาพาหุภาคีเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว [การทูต]
Consulข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต]
Consular Fees and Chargesค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต]
Consular Officeบุคคลรวมทั้งหัวหน้าของที่ทำการทางกงสุล ซี่งได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในฐานะกงสุลโดยได้รับ ภาระหน้าที่ทางกงสุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลมีอยู่ 2 ประเภทคือ 1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลอาชีพ (Career Consular Office)2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consular Office) [การทูต]
Diplomatic Pouchถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต]
Diplomatic Privilege of Accommodationมาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต]
Duration of Diplomatic Privileges and Immunitiesระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต]
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articlesการยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต]
Exemption from Taxation of Diplomatic Agentการยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต]
exactionsข้อเรียกบังคับ หรือภาระเรียกบังคับ ใช้ในเรื่องของการเรียกเก็บภาษี [การทูต]
Exercise by Diplomatic Missions of Consular functionsการปฏิบัติหน้าที่กงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูต ตามข้อ 70 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ว่า1. บทของอนุสัญญานี้ใช้แก่ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูตด้วย เท่าที่บริบทจะอำนวยให้2. ชื่อของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในแผนกกงสุล หรือมิฉะนั้นได้รับภาระให้ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลของคณะผู้แทนนั้น จะต้องแจ้งไปยังกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่กระทรวงนั้นที่แต่งตั้งไว้3. ในการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุล คณะผู้แทนทางการทูตอาจติดต่อกับก. เจ้าหน้าที่ท้องที่ของเขตกงสุลนั้นข. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางของรัฐผู้รับ ถ้าหากกระทำได้ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และจารีตประเพณีของรัฐผู้รับ หรือตามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง4. เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตที่อ้างถึงในวรรค 2 ของข้อนี้ จะยังคงอยู่ในบังคับแห่งกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางการทูต [การทูต]
Freedom of Communicationเสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต]
Functions of Diplomatic Missionภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
International Force in East Timorกองกำลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อมติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติที่ 1264 (1999) เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2542 มีภารกิจหลัก 3 ประการ คือ ฟื้นฟูสันติภาพและเสถียรภาพในติมอร์ตะวันออก ป้องกันและสนับสนุนงานของเจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติ และอำนวยความสะดวกในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม กองกำลังนานาชาติปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกจนถึงวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2543 [การทูต]
Marshall Planแผนการมาร์แชล ในโอกาสวันประสาทปริญญาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ฮาร์วาร์ดในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 1947 ยอร์ช ซี.มาร์แชล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ สมัยนั้น ได้กล่าวอยู่ตอนหนึ่งในสุนทรพจน์ว่า?สหรัฐอเมริกาควรจะทำทุกอย่างเท่าที่จะ สามารถกระทำได้ เพื่อช่วยให้ดินแดนต่าง ๆ ในโลกได้กลับคืนสู่ภาวะปกติทางเศรษฐกิจ เพราะหากปราศจากภาวะดังกล่าว โลกก็จะไม่มีเสถียรภาพที่สถาพร นโยบายของสหรัฐฯ มิได้มุ่งจะเป็นปฏิปักษ์ต่อประเทศใดหรือลัทธิใด หากมุ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อความหิวโหย ความยากจน ความสิ้นหวัง และความยุ่งเหยิง การที่จะให้สหรัฐอเมริการับภาระในการจัดวางโครงการแต่ฝ่ายเดียว เพื่อช่วยให้ทวีปยุโรปสามารถช่วยตนเองทางเศรษฐกิจขึ้นใหม่ นับว่ายังไม่เหมาะสมและถูกต้องนัก ควรจะให้เป็นภาระหน้าที่ของชนชาวยุโรปทั้งหลายเอง บทบาทของสหรัฐฯ ควรจะเป็นเพียงผู้เสนอให้ความความช่วยเหลือฉันมิตร ในการร่างโครงการช่วยเหลือทวีปยุโรป และให้ความสนับสนุนแก่โครงการนั้น ตราบที่โอกาสจะเอื้ออำนวยต่อการกระทำเช่นนั้นได้?จากสุนทรพจน์ข้างต้น พอจะเข้าใจจุดประสงค์สำคัญของสหรัฐอเมริกาได้ไม่ยากว่า ไม่ต้องการให้ทวีปยุโรป ซึ่งกำลังอ่อนแอโดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจหลังจากเสร็จสงครามใหม่ ๆ ต้องตกไปอยู่ใต้อำนาจครอบงำของฝ่ายคอมมิวนิสต์นั่นเอง [การทูต]
New World Orderระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต]
Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunitiesบุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต]
Team Thailandทีมประเทศไทย หมายถึง รูปแบบของการทำงานที่เป็นเอกภาพของหน่วยราชการไทยในการปกป้อง รักษา และส่งเสริมผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ ตลอดจนเพื่อช่วยประหยัดงบประมาณ ขจัดความซ้ำซ้อน ลดการทำงานที่ไม่จำเป็นให้หมดไป และช่วยให้มีการประสานงานระหว่างหน่วยงานมากยิ่งขึ้น อันจะช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพ และเพิ่มประสิทธิผลของการทำงาน แนวคิดเรื่องทีมประเทศไทยเป็นการสร้างวัฒนธรรมใหม่ในการทำงานของหน่วยงานไทย ในต่างประเทศ โดยเน้นให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภารกิจในต่างประเทศทำงานร่วมกัน อย่างมีเอกภาพ ไม่ซ้ำซ้อน มีทิศทางเดียวกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันบนพื้นฐานของแผน งานรวมที่เป็นเอกภาพ (unified work plan) มีสำนักงานที่เป็นเอกภาพ (unified structure) และมีกรอบการประสานงานที่เป็นเอกภาพ (unified command) โดยมีกระทรวงการต่างประเทศซึ่งรับผิดชอบภาพรวมของการดำเนินความสัมพันธ์กับ ต่างประเทศทำหน้าที่เป็นหัวหน้าทีมในการประสานงาน ทั้งนี้ เป็นไปตามนโยบายการปฏิรูประบบราชการในต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 29 กันยายน 2541 [การทูต]
Termination of Mission of Diplomatic Agentภารกิจของผู้แทนทางการทูตหรือหัวหน้าคณะทูตจะสิ้น สุดลง 1. ระยะเวลาที่ผู้แทนทางการทูตได้รับแต่งตั้งให้ประจำอยู่ในประเทศผู้รับได้ครบ กำหนดตามวาระ2. เมื่อวัตถุประสงค์ของภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติได้สัมฤทธิผลเรียบ ร้อยแล้ว3. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากต้องโยกย้ายไปที่อื่น หรือลาออก หรือเนื่องจากครบเกษียณอายุ4. ถูกเรียกตัวกลับเนื่องจากไม่เป็นที่พอใจของรัฐบาลของตน หรือกระทำตามคำขอร้องของรัฐบาลของประเทศผู้รับ ซึ่งเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่5. เนื่องจากการเสด็จสวรรคตของพระมหากษัตริย์ของประเทศตน หรือประเทศที่ตนได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงาน6. หากตัวเขาเองได้กระทำการอันเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศบางอย่าง หรือเนื่องจากเกิดเหตุการณ์บางอย่างที่คาดไม่ถึง และมีลักษณะร้ายแรงจริง ๆ ตัวเขาเองจะต้องรับผิดชอบในการตัดความสัมพันธ์7. เมื่อรัฐบาลผู้รับ ซึ่งตัวเขาได้รับแต่งตั้งให้ประจำทำงานอยู่นั้น แล้วจะด้วยเหตุผลอย่างใดก็ตาม ได้แจ้งให้เขาเดินทางออกไปจากประเทศในทันที โดยไม่ต้องระให้รัฐบาลของตนเรียกตัวกลับ8. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่งของผู้แทนทางการทูต ดังเช่น ได้รับเลื่อนตำแหน่งจากอัครราชทูตขึ้นเป็นเอกอัครราชทูต9. เนื่องจากเกิดสงครามขึ้นระหว่างรัฐทั้งสอง10. เนื่องจากถูกถอดจากตำแหน่ง หรือสละราชบัลลังก์ของประมุขของประเทศใดประเทศหนึ่ง 11. เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงในประเทศใดประเทศหนึ่ง จากระบบพระมหากษัตริย์เป็นระบบสาธารณรัฐ หรือเป็นระบบสาธารณรัฐอันมีประมหากษัตริย์ทรงอยู่ใต้กฎหมาย12. เนื่องจากรัฐใดรัฐหนึ่งของทั้งสองรัฐต้องสูญสภาวะในการเป็นรัฐเหตุผลข้างต้น ทั้งหมดนี้ เป็นทรรศนะของเซอร์เออร์เนสท์ ซาทาว ซึ่งได้ให้ไว้ในหนังสือของท่าน ชื่อว่า ?A Guide to Diplomatic Practice? ฉบับเรียบเรียงใหม่ครั้งที่ 4 โดยเซอร์เนวิลล์ แบลนด์ [การทูต]
Termination of Consular Officeการยุติลงของการหน้าที่ทางการกงสุล กล่าวคือ หน้าที่ของหัวหน้าคณะในสถานที่ทำการทางกงสุลจะยุติลงเนื่องจาก 1. วายชนม์2. รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับ3. รัฐผู้รับเพิกถอนอนุมัติบัตร (Exequatur)4. การหน้าที่ของผู้นั้นได้ถึงกำหนดครบวาระหรือยุติลง5. เกิดสงครามระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับไม่เหมือนกับกรณีคณะผู้แทนทางการทูต สถานที่ทำการทางกงสุลนั้น ภาระหน้าที่จะไม่ยุติลงเนื่องจากมีการเปลี่ยนกษัตริย์หรือประธานาธิบดีของ รัฐผู้ส่งหรือรัฐผู้รับ ข้อ 25 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาบัญญัติไว้ว่า ?การหน้าที่ของบุคคลในสถานที่ทำการกงสุลจะยุติลงก) เมื่อรัฐผู้ส่งได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้รับว่า การหน้าที่ของบุคคลดังกล่าวได้ยุติลงแล้วข) เมื่อมีการเพิกถอนอนุมัติบัตรค) เมื่อรัฐผู้รับได้บอกกล่าวไปยังรัฐผู้ส่งว่า รัฐผู้รับได้เลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล [การทูต]
Loadน้ำหนักบรรทุก, โหลด ปริมาณ น้ำหนักบรรทุก บรรจุ ภาระ [พลังงาน]

ตัวอย่างประโยค จาก Open Subtitles  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
You want to ruin my practice?คุณต้องการจะทำลายภาระกิจผมใช่ไหม? Basic Instinct (1992)
Your practice?ภาระกิจคุณ? Basic Instinct (1992)
Julie has enough to do as it is and all of her homework.จูลี่มีภาระเยอะแล้ว รวมถึงการบ้านที่ต้องทำด้วย The Cement Garden (1993)
It's not fair to leave it all up to her.คงไม่ยุติธรรมถ้าจะยกภาระทั้งหมดให้เธอ The Cement Garden (1993)
It's illegal to carry it, but-but that doesn't matter, 'cause get a load of this.มันผิดกฎหมายที่จะดำเนินการ แต่ แต่ที่ไม่ได้เรื่องเพราะได้รับภาระนี้ Pulp Fiction (1994)
I don't want to be a burden or a nuisance. It's-ฉันไม่ต้องการที่จะเป็นภาระหรือรำคาญ It's- Pulp Fiction (1994)
Always volunteering for difficult missions, both in the swarming mountains and the maze-like Casbah, he was, and a ways will be, an example for everyone who ever met him.เขามักจะอาสาในภารกิจที่ยากลำบาก ไม่ว่าจะขึ้นเขา ลงห้วยดั่งคาสบาฮ์ Wild Reeds (1994)
I hate being young. It's a huge burden.ฉันเกลียดการเป็นเด็ก มันเป็นภาระที่หนักหนา Wild Reeds (1994)
I understood the obligation the Lord spoke of to share one's blessings with those less fortunate.ผมเข้าในภาระพระวาจาของพระเป็นเจ้า ในการแบ่งปันความรักให้ผู้ที่ด้อยกว่า Don Juan DeMarco (1994)
Yeah, uh-huh.ใช่ อะ-ฮะ รับภาระ Pinocchio (1940)
Your valet has unpacked for you, I suppose?ฉันว่าเด็กรับใช้ของคุณคงยังไม่ได้ เเกะสัมภาระให้คุณเลยสิท่า Rebecca (1940)
But our luggage. Go down and tell the porter to take everything out of the car.เเต่สัมภาระของเราล่ะ ลงไปบอกเด็กให้เอาของลงจากรถ Rebecca (1940)
Dear, I'll go down and see that your luggage is brought back.ที่รัก ผมจะลงไปข้างล่าง เเละเอาสัมภาระคุณกลับขึ้นมานะ Rebecca (1940)
Nobody has to prove otherwise. The burden of proof's on the prosecution.ไม่มีใครมีที่จะพิสูจน์เป็นอย่างอื่น ภาระการพิสูจน์อยู่ในการดำเนินคดี 12 Angry Men (1957)
Get a load of this guy.- Hey, Deong รับภาระของผู้ชายคนนี้ The Ugly American (1963)
Members of the Citizens' Council, I am a simple soldier.ท่านสมาชิกสภาราษฎร ผมเป็นเพียงทหารน้อยธรรมดา Beneath the Planet of the Apes (1970)
It is therefore our holy duty to put our feet upon it, to enter it, to put the marks of our guns and our wheels and our flags upon it!เพราะฉะนั้นจึงเป็นภาระอันศักดิ์สิทธิ์ ที่เราจะขจัดความกลัว ที่มีมานาน Beneath the Planet of the Apes (1970)
I was sent here on a rescue mission.ถูกส่งมาในภารกิจกู้ภัย Beneath the Planet of the Apes (1970)
Gentlemen, affairs of state must take precedent over the affairs of state.ผมต้องไปปฎิบัติภารกิจต่อ Blazing Saddles (1974)
Oh, Lord do we have the strength to carry on this mighty task in one night?โอ้ พระเจ้า เราจะมีกำลังฝ่าฟันภารกิจยิ่งใหญ่ ในคืนนี้ไหม Blazing Saddles (1974)
Because our bomb mission had been so secret no distress signal had been sent.เพราะภารกิจทิ้งระเบิดเราลับมาก... เลยไม่มีการส่งสัญญาณเตือน Jaws (1975)
A janitor who sleeps all night tied up on a cross.ภารโรงนอนทั้งคืน ผูกมัดกับไม้กางเขน Oh, God! (1977)
The Rev. Willie Williams is on the road for God to the tune of 100, 000 miles a year.บาทหลวงวิลลี่ วิลเลี่ยมส์ กำลังปฏิบัติภารกิจของพระเจ้า ทั่วพื้นที่ปีละนับแสนๆ ไมล์ Oh, God! (1977)
They got enough to do, just being themselves.เขามีภาระกับตัวเองมากพออยู่แล้ว Oh, God! (1977)
I'm gonna send you on a mission, Matthew, a very important mission.ฉัน เมตร จะ ส่ง ไปปฏิบัติภารกิจ ที่แมทธิว ภารกิจ ที่สำคัญมาก I Spit on Your Grave (1978)
Get a load of that!รับภาระของว่า! Mad Max (1979)
He went all to pieces on a particular mission.มีภารกิจหนึ่งที่เขาล้มเหลวอย่างหนัก Airplane! (1980)
They're not gonna catch us.พวกเขาจะไม่จับเรา เราได้รับภารกิจมาจากพระเจ้า The Blues Brothers (1980)
We're on a mission from God.เราได้รับภารกิจมาจากพระเจ้า The Blues Brothers (1980)
- Forget it. No way. - We're on a mission from God.ลืม ไม่มีทาง เราได้รับภารกิจมาจากพระเจ้า The Blues Brothers (1980)
You see, we're on a mission from God.คุณเชื่อ เรามีภารกิจมาจากพระเจ้า The Blues Brothers (1980)
We're on a mission from God.เราได้รับภารกิจมาจากพระเจ้า The Blues Brothers (1980)
This mission is over, Rambo. Do you understand me?ภารกิจครั้งนี้เสร็จแล้ว แรมโบ้ คุณเข้าใจผม First Blood (1982)
This mission is over!ภารกิจครั้งนี้เสร็จแล้ว First Blood (1982)
Even if His Majesty could waive all other considerations he has a duty to the millions of his Muslim subjects who are a minority in this realm.แม้ว่าพระองค์จะยกเลิกข้อพิจารณาอื่นได้ แต่ก็ยังมีภาระกิจกับชาวมุสลิมนับล้าน ซึ่งเป็นส่วนน้อยของประเทศนี้ Gandhi (1982)
-From the looks of the luggage, yes.- ดูจากสัมภาระก็น่าจะใช่ Gandhi (1982)
And I would emphasize that I think our first duty is to recognize that there is not one India but several.และข้าพเจ้าขอเน้นว่า ภาระกิจแรกของเราคือ ต้องตระหนักว่ามิใช่มีเพียงอินเดียเดียว แต่หลากหลาย Gandhi (1982)
You were responsible for the Discovery mission.คุณมีความรับผิดชอบ สำหรับภารกิจดิสคัเฟอรี 2010: The Year We Make Contact (1984)
You go tell the president, I'll go on the mission.คุณไปบอกประธาน ฉันจะไปปฏิบัติภารกิจ 2010: The Year We Make Contact (1984)
You are authorized to observe other aspects of our mission.คุณมีสิทธิ์ที่จะสังเกตเห็น ด้านอื่น ๆ ของภารกิจของเรา 2010: The Year We Make Contact (1984)
We have no other obligation.เราไม่มีภาระผูกพันอื่น ๆ 2010: The Year We Make Contact (1984)
Has the mission been completed?ได้ปฏิบัติภารกิจเสร็จเรียบร้อย แล้ว? 2010: The Year We Make Contact (1984)
The mission has been completed and you've carried out your program very well.ภารกิจเสร็จเรียบร้อยแล้วและ คุณ ได้ดำเนินการโปรแกรมของคุณ ได้เป็นอย่างดี 2010: The Year We Make Contact (1984)
Discovery's mission to Jupiter was in the advanced planning stages when the first monolith was found on the moon and sent its signal to Jupiter.ภารกิจดิสคัเฟอรีของดาว พฤหัสบดีอยู่แล้ว ในขั้นตอนการวางแผนขั้นสูง เมื่อ เสาหินขนาดเล็กเป็นครั้งแรกที่ พบใน 2010: The Year We Make Contact (1984)
We know how sensitive he is to mission objectives and now you're telling me to program him for the destruction of the Discovery as well as his own destruction.เรารู้วิธีการที่สำคัญเขาเป็นคนที่ จะปฏิบัติภารกิจ วัตถุประสงค์และตอนนี้คุณ กำลังบอกฉัน ในการเขียนโปรแกรมเขา สำหรับการทำลายของ 2010: The Year We Make Contact (1984)
If the crew was killed, he was capable of carrying out the mission on his own initiative.เขามีความสามารถในการ ดำเนินการ ภารกิจในความคิดริเริ่มของเขา เอง เขาจะ 2010: The Year We Make Contact (1984)
The mission is proceeding normally.ภารกิจคือการดำเนินการ ตามปกติ 2010: The Year We Make Contact (1984)
Is the mission in jeopardy?การทำเช่นนี้ เป็นภารกิจตกอยู่ ในอันตรายหรือไม่? 2010: The Year We Make Contact (1984)
Have I fulfilled the mission objectives properly?ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์ของภารกิจถูกต้อง หรือไม่ 2010: The Year We Make Contact (1984)
No. It is better for the mission if you leave.ไม่มันจะดีกว่าสำหรับการ ปฏิบัติภารกิจ 2010: The Year We Make Contact (1984)

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
แบกภาระ[baēk phāra] (v, exp) EN: shoulder a burden ; shoulder the responsibility
แบ่งเบาภาระ[baengbao phāra] (v, exp) EN: lighten the load ; share the work
บำเพ็ญภารกิจ[bamphen phārakit] (v, exp) EN: perform a task  FR: accomplir une tâche
การผลักภาระ[kān phlakphāra] (n) EN: incidence
การผลักภาระภาษี[kān phlakphāra phāsī] (n, exp) EN: incidence of taxation
ข้าวของสัมภาระ[khāokhøng sampāra] (n, exp) EN: belongings ; stuff ; materials
นักการภารโรง[nakkān phānrōng] (n, exp) EN: janitor
หน้าที่สัมภาร[nāthī samphāra] (n, exp) EN: fatigue duty
ปฏิบัติภารกิจ[patibat phārakit] (v, exp) EN: do one's task ; perform one's mission ; perform one's duty ; carry out one's duty ; discharge one's duty
ภารโรง[phānrōng] (n) EN: janitor ; custodian  FR: concierge [ m, f ] ; gardien [ m ] ; gardienne [ f ]
ภารธุระ[phānthura] (v) EN: concern ; business ; attention
ภาระ[phāra] (n) EN: load ; charge ; burden  FR: charge [ f ] ; contenu [ m ]
ภาระ[phāra] (n) EN: responsibility ; duty ; burden ; task  FR: charge [ f ] ; responsabilité [ f ] ; attribution [ f ]
ภาระจำยอม[phārājamyøm] (n) EN: servitude
ภาระการพิสูจน์[phāra kān phisūt] (n, exp) EN: burden of proof
ภารกิจ[phārakit] (n) EN: affair ; duty ; task ; function ; mission  FR: mission [ f ] ; fonction [ f ] ; tâche [ f ] ; mandat [ m ]
ภาระหนัก[phāra nak] (n, exp) FR: accablement [ m ]
ภาระหน้าที่[phāranāthī] (n) EN: duty ; charge
ภาระผูกพัน[phāra phūkphan] (n, exp) EN: obligation
ภาระรับผิดชอบ[phāra rapphitchøp] (n, exp) EN: accountability
ภาระติดพัน[phāratitphan] (n) EN: responsibility ; obligation  FR: responsabilité [ f ]
ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์[phāratitphan nai asanghārimsap] (n, exp) EN: charge on immovable property
ภาษาตระกูลภารตะ-ยุโรป[phāsā trakūn Phānta-Yurōp] (n, exp) FR: langues indo-européennes [ fpl ]
ผู้รับภาระ[phūrapphāra] (n) EN: one carrying a burden ; one who shoulders a burden ; responsibility ; burden bearer
รับภาระ[rap phāra] (v, exp) EN: assume the responsibility ; shoulder
สัมภาร[samphāra] (n) EN: luggage ; personal luggage ; baggage ; bags ; gear ; cases ; impedimenta ; paraphernalia ; suitcases ; supplies ; goods and chattels ; materials ; belongings  FR: équipement [ m ] ; fourniture [ f ] ; affaires personnelles [ fpl ] ; bagages [ mpl ]
สภาร่างรัฐธรรมนูญ[saphā rāng ratthathammanūn] (n, exp) EN: Constituent Assembly  FR: assemblée constituante [ f ]
สมภาร[somphān] (n) EN: abbot (of a monastery)  FR: abbé [ m ] ; chef de la pagode [ m ]
สมภาร[somphān] (n) EN: accumulated good deeds
สมภารหญิง[somphān ying] (n, exp) FR: abbesse [ f ]
ที่รับสำภาระ[thī rap samphāra] (n, exp) EN: baggage claim  FR: livraison des bagages [ f ]

English-Thai: Longdo Dictionary
travel light(vt) พกของมาน้อย, ไม่เป็นภาระ, ไม่คิดมาก, See also: be relatively free of responsibilities or deep thoughts, Syn. take little baggage

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
accept(vi) รับภาระ, See also: รับช่วง, รับเอา
accept(vt) รับภาระ, See also: รับช่วง, รับเอา
acquit(vt) ทำให้ปราศจากข้อผูกพัน, See also: ทำให้ปราศจากภาระ
beast of burden(n) สัตว์ที่ใช้บรรทุกสัมภาระ, Syn. bearer, donkey, laborer
bounden(adj) ซึ่งผู้มัดหรือเป็นภาระรับผิดชอบ
boxcar(n) รถไฟบรรทุกสัมภาระ
burden(n) ภาระ, Syn. strain
burden(vt) เป็นภาระ
burdensome(adj) ที่เป็นภาระ, Syn. onerous
business(n) หน้าที่, See also: ธุระ, ภารกิจ, กิจธุระ, กิจ, งาน, หน้าที่การงาน, Syn. task
ball and chain(idm) ภาระสำคัญ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ภาระหน้าที่ในการงาน
be off one's hands(idm) เลิกรับผิดชอบ, See also: หมดภาระ, หยุดรับภาระ, Syn. be on
be on(phrv) รับหน้าที่, See also: รับภาระ, รับผิดชอบ
be upon(phrv) รับหน้าที่, See also: รับภาระ, รับผิดชอบ
bear down on(phrv) ตกเป็นภาระของ, See also: เป็นหน้าที่ของ, ตกอยู่กับ
bear down upon(phrv) ตกเป็นภาระของ, See also: เป็นหน้าที่ของ, ตกอยู่กับ
burden with(phrv) รับภาระ
charge(vt) ทำให้รับหน้าที่, See also: ทำให้แบกรับภาระหน้าที่, มอบหมายให้
charge(n) ภาระ, See also: ความรับผิดชอบ, Syn. burden
charge(vt) รับภาระ
custodian(n) ภารโรง, Syn. janitor
commit to(phrv) มอบ (ภาระหน้าที่, ความไว้วางใจ, คน) ให้อยู่ในอำนาจของ, See also: มอบให้, มอบหมายให้, ส่งให้, Syn. confide to, consign to
disburden of(phrv) ปลดออกจากหน้าที่, See also: เป็นอิสระจากภาระหน้าที่
ease someone out(idm) หมดภาระ, See also: หมดหน้าที่, ปลดออก
encumber with(phrv) กีดขวาง, See also: กั้นขวางด้วย, ถ่วงด้วย, ทำให้เป็นภาระด้วย
fall on(phrv) เป็นหน้าที่ของ, See also: เป็นภาระของ
fall upon(phrv) เป็นหน้าที่ของ, See also: เป็นภาระของ
fling off(phrv) หนีรอดจาก, See also: หลุดพ้น, หมดภาระ, เป็นอิสระจาก สิ่งที่ไม่ต้องการ, Syn. chuck off, shake off, throw off
dean(n) เจ้าคณะ (ทางศาสนา), See also: เจ้าอาวาส, สมภาร, Syn. the head of the College of Cardinals, the high-rank priest in the Church of England or the Roman Catholic Church
debark(vi) ยกสัมภาระที่บรรทุกลง (คำทางการ), See also: ปลง, ยกลง, Syn. disembark, unload
disburden(vt) ทำให้ภาระหมดไป, See also: เปลื้องภาระ, Syn. unburden
emissary(n) นักการทูต, See also: ทูต, ตัวแทนที่ส่งออกไปปฏิบัติภารกิจ, Syn. consul, envoy, representative
encumbrance(n) สิ่งกีดขวาง, See also: สิ่งที่เป็นภาระ, Syn. burden, hindrance, impediment
get out(phrv) ปฏิบัติหน้าที่, See also: รับภาระ, Syn. call out
give to(phrv) ยอมรับภาระ (ที่ทำให้ยากจะเป็นอิสระในอนาคต)
go through(phrv) (บางสิ่ง) ผ่านมือ (เพราะภาระหน้าที่)
millstone about one's neck(idm) ภาระ, See also: อุปสรรค
immunity(n) การพ้นจากภาระรับผิดชอบ, See also: การรอดพ้นจากการลงโทษ, Syn. examption, freedom
lade with(phrv) แบกรับ (สิ่งที่หนัก, ภาระหนัก), Syn. load down
load down(phrv) แบกภาระหนัก, Syn. bow down, lade with, load with, weigh down, weight down
load with(phrv) ทำให้รับภาระหนักด้วย, Syn. load down
janitor(n) ภารโรง, See also: คนทำความสะอาด, นักการ, Syn. caretaker, doorkeeper
labor(n) ภาระ, See also: งาน, หน้าที่, Syn. task
labour(n) ภาระ, See also: งาน, หน้าที่, Syn. task
laden(adj) มีภาระหนัก, Syn. burdened, afflicted
lightness(n) การไม่มีภาระหนัก
load(vt) ทำให้หนักใจ, See also: เป็นภาระหนัก, Syn. weight, encumber, Ant. disburden
load(n) ภาระ, See also: หน้าที่, ความรับผิดชอบ, Syn. weight, encumbrance
Mahabharata(n) มหาภารตะ, See also: มหากาพย์ของอินเดีย
matter(n) สิ่งที่ต้องทำ, See also: ภารกิจ, งาน, ธุรกิจ, Syn. affair, business, chore, errand

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
absorb(แอบซอร์บ, -ซอร์บ') vt. ดูด, รับเอา, ซึม, ทำให้หมกมุ่น, ทำให้สนใจ, กลืน, รับภาระ
accoutrements(อะคู' เทอเมืนทฺ) n. สัมภาระของทหาร (ไม่รวมเสื้อผ้าและอาวุธ)
assignation(แอสซิกเน'เชิน) n. การนัดพบ, การมอบหมาย, ภาระหน้าที่, การบ้านจากโรงเรียน, การโอน (สิทธิ์, ทรัพย์สิน, ดอกเบี้ย, ฯลฯ) , การบรรยาย, Syn. rendezvous, engagement
atlas(แอท'เลิส) n., (pl. atlases, atlantes) สมุดแผนที่, ชุดรวมแผนภาพและตาราง, กระดูกสันหลังส่วนคอที่ค้ำศีรษะ, ชื่อเทพเจ้ากรีกที่ค้ำฟ้าอยู่, คนที่แบกภาระหนักมาก, ชื่อขีปนาวุธขนาดยักษ์ของอเมริกา (book of maps)
bear(แบร์) { bore, borne/born, bearing, bears } vt., vi. ค้ำ, รับ, พยุง, หนุน, แบก, รับภาระ, พบ, ทรงไว้, อดทน, ทาน, ทน, มี, ออกลูก, มีลูก, มีความรู้สึก, ถือ, พัด, พา, กด, ดัน, ให้, แสดง, ไปทาง, วางท่าทาง n. หมี, คนหยาบคาย, คนงุ่มง่าม, ชื่อดาวที่อยู่ทางทิศเหนือ (Great Bear ดาวจระเข้, Little B
blame(เบลม) { blamed, blaming, blames } vt. กล่าวโทษ, ตำหนิ, ประณาม, นินทา, กล่าวร้าย, โยนความผิดให้ -Phr. (be to blame ควรถูกตำหนิ, ควรรับผิดชอบ) n. การตำหนิ, ความรับผิดชอบ, ภาระ, See also: blamer n. blameful adj. ดูblame blameless adj. ดูblame -Conf. put
bounden(เบา'เดิน) adj. จำต้อง, มีภาระหน้าที่, Syn. bound
burden(เบอร์'เดิน) n. ภาระ, น้ำหนักที่แบก vt. บรรจุอย่างหนัก, ทำให้ยุ่งยาก
burdensome(เบอ'เดินเซิม) adj. ยากลำบาก, ยุ่งยาก, เป็นภาระ, Syn. arduous
business(บิซ'ซิเนส) n. ธุรกิจ, การค้า, เรื่องที่ยากลำบาก, เรื่องที่ถือว่าสำคัญและเอาจริงเอาจัง, ธุระ, สถานการณ์, ภาระหน้าที่, การงาน -Id. (mean business) เอาจริง adj. เกี่ยวกับธุรกิจการค้า
caretaker(แคร์'เทเคอะ) n. คนดูแลควบคุม, ภารโรง, คนเฝ้า, Syn. custodian
carry(แค'รี) { carries, carrying, carries } vt. ขนส่ง, แบก, ลำเลียง, หอบ, หาบ, อุ้ม, ยก, ถือติดตัว, นำติดตัว, นำไปสู่, สะพาย, บรรทุก, ส่ง, แพร่กระจาย, ออกข่าว, ประกอบด้วย, สนับสนุน, ค้ำจุน, ผลักดัน, ยืดได้, รับภาระ, วางตัว, ปฏิบัติ, ยกยอด, โอน, มีไว้ในร้าน. vi. ถือติดตัว, มีกำลังดัน, ดัน, ถู เลขทดตัวทดหมายถึง ค่าที่เกิดจากการบวกตัวเลขตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปในหลักเดียวกัน แล้วได้ผลมากกว่าหรือเท่ากับเลขฐาน ซึ่งจะนำไปบวกกับเลขในหลักถัดไป
char(ชาร์) v. เผาไม้จนเกรียม, เผาไหม้จนเป็นถ่าน, ทำงานบ้าน, ทำงานเล็ก ๆ น้อย ๆ -n. สิ่งที่ไหม้จนเกรียม, ถ่าน, ถ่านไม้, ภารโรงหญิง, งานบ้าน.
charge(ชาร์ดจฺ) vt. บรรจุ, ประจุ, อัดไฟ, ทำให้เต็ม, วางเงื่อนไข, สั่ง, ตักเตือน, แนะนำ, กล่าวหา, ฟ้องร้อง, เรียกเก็บเงิน, โจมตี, เป็นภาระ บันทึกเป็นหนี้ -vi. พุ่งเข้าไป, พุ่งไปข้างหน้า, โจมตี, เรียกเก็บ, หมอบลง (ตามคำสั่ง) -n. การอัดประจุไฟฟ้า, กระแสไฟที่อัด, ปริมาณดินระเบิด, ภาระ
commissariat(คอมมิแซ'เรียท) n. กองตรวจงานในรัสเซีย, วิธีการส่งอาหาร/อุปกรณ์/สัมภาระและอื่น ๆ ไปยังกองทัพ, กองเสบียง, กองเกียกกาย, กรมตำรวจ
cumbersome(คัม'เบอเซิม) adj. ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก, เป็นภาระ, อุ้ยอ้าย, หนัก, ไม่สะดวก, Syn. clumsy
cumbrance(คัม'บรันซ) n. ความลำบาก, ความยุ่งยาก, การรบกวน, ภาระ
devoir(ดิวาร์') n. มารยาท, ความสุภาพ, ความเคารพ, ภารกิจ, หน้าที่
disavow(ดิสอะเวา') vt. บอกปัด, ไม่ยอมรับ, ปฏิเสธ (การรับภาระ) ., See also: disavowal n. ดูdisavow
disburdenvt. ปลดเปลื้องภาระ vi.เอาของบรรทุกลง, See also: disburdenment, n.
discharge(ดิสชาร์จ') vi., vt., n. (การ) ปล่อย, เอาลง, ขับออก, ทำให้พ้นหน้าที่ความรับผิดชอบหรืออื่น ๆ , ปลดจากประจำการ, ปลดจากงาน, ปล่อยกระแสไฟฟ้า, หนังสือหลักฐานการปลดจากภาระหน้าที่, การชำระสะสาง, See also: discharger n. ดูdischarge, Syn. unl
duty(ดิว'ที) n. ภาษี, อากร, หน้าที่, ภาระหน้าที่, ประสิทธิภาพของเครื่อง
easy(อี'ซี) adj., adv. ง่าย, ง่ายดาย, ไม่ลำบาก, สะดวกสบาย, ไม่เข้มงวด, ผ่อนผัน, ไม่เป็นภาระ, สบายอกสบายใจ, ไม่แน่น, ไม่รัด, ไม่เร่งรีบ n. การหยุดพักชั่วคราว. -Phr. (take it easy, go easy ตามสบาย, ไม่ต้องทำงานหนัก), Syn. light, Ant. difficult
efficient(อิฟิช'เชินทฺ) adj. ซึ่งมีประสิทธิภาพ, มีความสามารถ, มีผลต่อ, ซึ่งรับภาระได้อย่างสบาย
exonerate(อิคซอน'เนอเรท) vt. ทำให้ฟื้นจากความผิด, ปลดเปลื้องภาระ, See also: exoneration n. exonerative adj., Syn. acquit
fulfillmentn. การทำให้บรรลุผล, การบรรลุผล, การปฏิบัติภารกิจ, การทำให้พอใจ, การทำให้สมบูรณ์.
fulfilmentn. การทำให้บรรลุผล, การบรรลุผล, การปฏิบัติภารกิจ, การทำให้พอใจ, การทำให้สมบูรณ์.
function(ฟังคฺ'เชิน) หน้าที่, การปฏิบัติงาน, ภาระกิจ, งาน, พิธี, บทบาท, ประสิทธิภาพ, การชุมนุมใหญ่, (คณิตศาสตร์) จำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น, ฟังค์ชัน. vi. ปฏิบัติหน้าที่, กระทำ, ใช้ตำแหน่งหน้าที่, Syn. perform, work, do
gear(เกียร์) n., vt. (ใส่) ล้อฟันเฟือง, เฟือง, เกียร์, เครื่องสวม, เครื่องขี่ม้า, เครื่องมือ, อุปกรณ์, เสื้อผ้า, ยุทธสัมภาระ, เสื้อเกราะ vi. สวมใส่พอดี, ใส่ได้พอดี. adj. อัศจรรย์, ดีเยี่ยม
heavy(เฮฟ'วี) adj. หนัก, ขนาดหนัก, ใหญ่มาก, เพียบ, หนา, ดก, อุ้ยอ้าย, จำนวนมาก, มาก, สำคัญมาก, ลึกซึ้ง, รุนแรง (พายุ) , เป็นภาระมาก, ดีมาก
heavy-laden(เฮฟ'วีเลเดิน) adj. บรรทุกหนัก, เพียบ, เหนื่อยมาก, มีภาระมาก, ทุกข์มาก
incubus(อิน' คิวบัส) n., (pl. -bi, -buses) ผีที่เข้ามานอนทับคนที่กำลังหลับ (โดยเฉพาะผีผู้ชายที่เข้าร่วมประเวณีกับผู้หญิงที่กำลังหลับ) , สิ่งที่ครอบงำจิตใจ, ภาระที่หนัก
incumbent(อินคัม' เบินทฺ) adj. ซึ่งดำรงตำแหน่ง, ซึ่งมีหน้าที่, เป็นภารกิจ, ซึ่งวาง, พิงหรือขดอยู่ -n. ผู้ดำรงตำแหน่งหน้าที่, See also: incum- bently adv., Syn. obligatory, lying
janitor(แจน'นิเทอร์) n. ภารโรง, คนดูแลอาคาร, See also: janitorial adj. ดูjanitor
janitress(แจน'นิเทรส) n. ภารโรงหญิง
job(จอบ) { jobbed, jobbing, jobs } n. งาน, ชิ้นงาน, งานจ้าง, งานเหมา, งานปลีกย่อย, ภาระหน้าที่, ตำแหน่งงาน, เรื่องราว, ขบวนการทำงาน, รถยนต์ (แสลง) adj. เกี่ยวกับ, งานหรือธุรกิจเฉพาะอย่าง, ซื้อ ขายหรือจัดการด้วยกัน -Phr. (on thejob ตื่นเต้น, เฝ้าสังเกต) vi. ทำงานเป็นชิ้น ๆ , ทำง
job descriptionn. ลักษณะงาน, ภาระหน้าที่ของงานที่ทำ
laden(เลด'เดิน) adj. มีภาระหนัก, บรรจุของไว้มาก vt. บรรทุก, แบกภาระ
liability(ไลอะบิล'ลิที) n. หนี้, หนี้เงิน, หนี้สิน, ความรับผิดชอบ, ภาระหน้าที่, ด้านลูกหนี้ของบัญชี, ข้อเสียเปรียบ, ความโน้มเอียง, Syn. accountability
lightness(ไลทฺ'นิส) n. ความสว่าง, การมีสีอ่อน, การมีสีซีด, ความเบา, ความแคล่วคล่อง, การไม่มีภาระ, ความเบิกบานใจ, ความอ่อนช้อย, ความเก๋, ความเลินเล่อ,
load(โลด) { loaded, loading, loads } n. ของบรรทุก, น้ำหนักบรรทุก, ระวางน้ำหนักบรรทุก, ภาระ, สิ่งที่เป็นภาระ, น้ำหนักถ่วง, ปริมาณงาน, ปริมาณไฟฟ้าที่ผลิตได้, อุปกรณ์รับไฟฟ้า, ปริมาณเหล้าที่ทำให้มึนเมา v. บรรทุก, ใส่, ถ่วง, บรรจุ, มอบให้อย่างมากมาย, ลำเอียง, เพิ่มกำลังไฟฟ้า, เพิ่ม adv. มาก, มากมาย
militarise(มิล'ลิทะไรซ) vt. จัดให้มีกำลังทางทหาร อาวุธและสัมภาระต่าง ๆ
militarize(มิล'ลิทะไรซ) vt. จัดให้มีกำลังทางทหาร อาวุธและสัมภาระต่าง ๆ
mission(มิช'เชิน) n. คณะผู้แทน, ภาระหน้าที่ของคณะผู้แทน, คณะทูต, สถานทูต, งานปฏิบัติงานทางทหาร (มักได้รับมอบหมายจากสำนักงานใหญ่) , การเคลื่อนที่หรือการวิ่งสู่เป้าหมายของจรวดขีปนาวุธ, โบสถ์ที่ไม่มีพระอยู่ประจำ, งานมอบหมาย
multitasking systemระบบหลายภารกิจหมายถึง สมรรถภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานสองโปรแกรมขึ้นไปได้เวลาเดียวกัน เช่น ในระหว่างปฏิบัติการของโปรแกรมการพิมพ์ ก็สามารถที่จะปฏิบัติการในโปรแกรมอื่นได้อีก โดยไม่ต้องรอให้การพิมพ์แล้วเสร็จเสียก่อน
obligate(ออบ'บลิเกท) vt. เป็นภาระหน้าที่, ให้คำมั่น, ทำให้มีพันธะ, ทำบุญคุณให้, เป็นเกณฑ์, บังคับ, กำหนด, ตกลง. adj. จำเป็น, สำคัญ, See also: obligable adj. obligator n.
obligatory(อะบลิก'กะโทรี, -ทอ'รี, ออบ'ละกะโทรี) adj. เป็นพันธะ, เป็นภาระหน้าที่, จำเป็น, จำต้อง, เป็นข้อผูกพัน., See also: obligatorily adv.
obligor(ออบ'ละกอร์) n. ผู้มีภาระหน้าที่, ผู้ให้กู้ยืม
office(ออฟ'ฟิซฺ) n. สำนักงาน, ที่ทำการ, สถาบัน, ร้านค้า, กระทรวง, กรม, กอง, ตำแหน่ง, การทำงาน, หน้าที่, ภาระหน้าที่, สมรรถนะ, งาน, การบริการ, See also: offices n., pl. ที่ทำงานบ้านในบ้าน เช่นครัวหรือที่ซักหรือรีดผ้า, Syn. function, position
onerous(ออน'เนอรัส, โอ'เนอรัส) adj. เป็นภาระ, ลำบาก, ยากยิ่ง, หนักหน่วง, See also: onerousness n.

English-Thai: Nontri Dictionary
abbot(n) สมภาร, เจ้าอาวาส, อธิการวัด, เจ้าวัด
absorb(vt) ดึงดูด, ซึมซับ, ดูดกลืน, หมกมุ่น, รับภาระ
bounden(adj) มีภาระ, มีพันธะ, จำเป็น, จำต้อง
burden(n) เครื่องบรรทุก, ภาระ, ใจความ, ส่วนสำคัญ
burden(vt) บรรทุก, เป็นภาระ, สุม(งาน)
burdensome(adj) ยุ่งยาก, ลำบาก, เป็นภาระ, หนักมาก
caretaker(n) สัปเหร่อ, คนดูแล, ภารโรง, คนเฝ้าบ้าน
charge(n) หน้าที่, ความรับผิดชอบ, ภาระ, ค่าธรรมเนียม, มูลค่า, การฟ้องร้อง
cumbersome(adj) เป็นภาระ, ยุ่งยาก
dean(n) คณบดี, ผู้อาวุโส, สมภาร, เจ้าคณะ, เจ้าอาวาส
duty(n) หน้าที่, ภาระหน้าที่, อากร, ภาษี, ความรับผิดชอบ
encumber(vt) เป็นภาระ, กีดขวาง, ทำให้หนักใจ, ทำให้กังวล
encumbrance(n) เครื่องถ่วง, น้ำหนักถ่วง, สิ่งที่เป็นภาระ, เครื่องกีดขวาง
exonerate(vt) ทำให้พ้นจากข้อครหา, ทำให้พ้นจากข้อกล่าวหา, ปลดเปลื้องภาระ
fulfillment(n) การทำให้สำเร็จ, การบรรลุผล, ความสมปรารถนา, การปฏิบัติภารกิจ
fulfilment(n) การทำให้สำเร็จ, การบรรลุผล, ความสมปรารถนา, การปฏิบัติภารกิจ
function(n) การกระทำ, หน้าที่, ภารกิจ, งาน, บทบาท, ประสิทธิภาพ
heaviness(n) ความหนัก, ความทึบ, ความดก, ความลำบาก, ภาระ, น้ำหนัก
impediment(n) อุปสรรค, สิ่งกีดขวาง, สัมภาระ
incumbent(adj) เป็นหน้าที่, เป็นภาระ, ซึ่งดำรงตำแหน่งอยู่
incumber(vt) เป็นภาระ, ทำให้เต็มแน่น, ทำให้หนักใจ, ถ่วง
incumbrance(n) ความลำบาก, เครื่องถ่วงความเจริญ, ภาระ, สิ่งกีดขวาง
janitor(n) ภารโรง, นักการ, คนเฝ้าประตู
job(n) การงาน, งานเหมา, งานชิ้น, ภาระหน้าที่
lade(vt) บรรทุก, แบก, รับภาระ
lien(n) ข้อผูกมัด, ภาระ
load(n) ของบรรทุก, เครื่องบรรทุก, ภาระ, การบรรจุกระสุนปืน, น้ำหนักบรรทุก
load(vt) บรรทุกของ, เป็นภาระ, บรรจุกระสุน, ใส่, ถ่วง, ยัด
mission(n) ภาระ, ธุระ, คณะผู้แทน, คณะผู้สอนศาสนา, คณะทูต
obligate(vt) บังคับ, เป็นหนี้บุญคุณ, ผูกมัด, เป็นภาระ
obligatory(adj) เป็นพันธะ, เป็นภาระ
onerous(adj) เป็นภาระ, หนัก, ลำบาก, ยากยิ่ง
oppress(vt) กดขี่, บีบบังคับ, ทำให้เป็นภาระ, ทำให้หนักใจ
oppressive(adj) กดขี่, เป็นภาระ, หนักใจ, อึดอัดใจ, ลำบากใจ
outfit(n) เครื่องมือ, เครื่องใช้, สัมภาระ
outfit(vt) ติดตั้งเครื่องมือ, จัดสัมภาระ
outweigh(vt) มีน้ำหนักเกิน, มีภาระมากเกินไป
overburden(vt) ทำให้เป็นภาระหนัก, บรรทุกหนักเกินไป
purveyance(n) การป้อนเหยื่อ, การจัดหาให้, สัมภาระ, เสบียง
rebuff(n) การปัดภาระ, การขัดขวาง, การปฏิเสธ, การหยุดยั้ง, การขับออก
responsibility(n) ภาระหน้าที่, ความรับผิดชอบ
responsible(adj) รู้จักหน้าที่, รับผิดชอบ, เป็นภาระ
role(n) หน้าที่, บทบาท, ภารกิจ
shirk(vt) ปัดภาระ, เลี่ยงหน้าที่, หนีงาน
shoulder(vt) แบก, กระทบไหล่, รับภาระ
surcharge(n) ภาระที่เพิ่มขึ้น, การฟ้องเพิ่ม, การเก็บเพิ่ม, น้ำหนักเกิน
surcharge(vt) เพิ่มภาระขึ้น, ฟ้องเพิ่ม, บรรทุกเกิน, เก็บเพิ่ม
sweeper(n) ภารโรง, คนปัดกวาด, เรือกวาดทุ่นระเบิด
task(n) งาน, ภาระหน้าที่, เรื่องที่ยาก, งานหนัก
tax(n) ภาษี, ภาระหน้าที่

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
debt service ratioสัดส่วนภาระหนี้ต่างประเทศต่อรายได้จากการส่งออกสินค้าและบริการ
encumbranceภาระติดพัน
encumbranceภาระผูกพัน
financial distress(n) (การเงิน) ภาวะที่ประสบความยากลำบาก, หรือไม่สามารถทำตามภาระผูกพันได้ เช่น ไม่สามารถชำระหนี้ที่กู้ไปได้, ความตกต่ำทางการเงิน (จากการมีเงินไม่เพียงพอ), ปัญหาทางการเงิน, ปัญหาที่อาจนำไปสู่การล้มละลาย (กรณีบริษัท) e.g. Member countries face acute financial distress., See also: bankruptcy, recession, depression
Free Carrier ( FCA )การเสนอราคา ที่ผู้ขายจะสิ้นสุดภาระการมอบสินค้าตามสัญญาก็ต่อเมื่อผู้ขายได้จัดสินค้าส่งมอบให้กับผู้รับขนส่ง ณ สถานที่ของผู้รับขนส่ง(เช่น บรรดาบริษัท shipping ต่างๆ) ตามที่ผู้ซื้อระบุไว้เพราะฉะนั้นในการเสนอราคา ผู้ขายก็จะเสนอราคาขาย ที่บวกค่าส่งมอบสินค้าในเบื้องต้นลงไปด้วย
in the weeds(adj, slang) งาน หรือ ภาระต่างๆ ท่วมท้นมากจนทำไม่ทัน ทำให้เครียด, วิตกกังวล
leaseback[ลิซแบ็ค] (n) นิติกรรมซึ่งคู่สัญญาฝ่ายหนึ่งขายทรัพย์สินแก่ผู้ซื้อ และผู้ซื้อได้นำทรัพย์สินออกให้ผู้ขายเช่าทันที นิติกรรมเช่นนี้ทำให้ผู้ซื้อมีกรรมสิทธิ์เต็มที่ในทรัพย์สิน แต่ไม่ต้องมีภาระทางการเงิน ส่วนใหญ่มักทำนิติกรรมนี้กันเพื่อผลประโยชน์ทางภาษี บางทีก็เรียกว่า sale and leaseback
Rimjob(slang) ภารกิจทางเพศโดยการดูด หรือเลียทวารหนัก ( * w *m iiiita)

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
負荷過剰[ふかかじょう, fukakajou] (n) การแบกรับภาระมากเกินไป

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
解放[かいほう, kaihou] การปลดเปลืองจากภาระหน้าที่
負う[おう, ou] (adv) แบก(ภาระ เด็ก), รับ(หน้าที่), ได้รับ(บาดเจ็บ), เป็นหนี้

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
遣い[つかい, tsukai] TH: ภารกิจที่ได้รับมอบหมายให้ทำ  EN: mission (vs)
特命[とくめい, tokumei] TH: ภารกิจที่ต้องทำ  EN: mission
業務[ぎょうむ, gyoumu] TH: ภาระหน้าที่  EN: duties
担う[になう, ninau] TH: แบกภาระ  EN: to bear burden

German-Thai: Longdo Dictionary
freihaben(vi) |hatte frei, hat freigehabt| ว่างจากการทำงานหรือการเรียน ว่างจากภาระกิจต่างๆ เช่น Heute hat sie frei, um die Stadt ihren ausländischen Freunden zu zeigen. วันนี้เธอหยุดงานเพื่อที่จะพาเพื่อนชาวต่างชาติไปชมเมือง
Dienst(n) |der, pl. Dienste| เวรภาระหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ, ช่วงเวลาการทำงาน เช่น Ich bin heute nicht im Dienst. วันนี้ฉันไม่มีเวรทำงาน
auf(prep) |+A เมื่อกริยาบ่งอาการเคลื่อนไหว| บน, ข้างบน เช่น Die Fahrgäste legen ihr Gepäck auf die Gepäckablage. ผู้โดยสารวางสัมภาระบนที่วางกระเป๋า

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top