ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ลูกจ้าง, -ลูกจ้าง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ call pay | (phrase) การจ่ายค่าจ้างเมื่อลูกจ้างมารายงานตัวเพื่อทำงาน |
|
| | ลูกจ้าง | (n) employee, See also: worker, staff member, hireling, wage-earner, job-holder, hand, Syn. ผู้รับจ้าง, Ant. นายจ้าง, Example: การชุมนุมเรียกร้องนั้นเป็นเรื่องของนายจ้างกับลูกจ้าง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้รับจ้างทำการงาน | ลูกจ้างรัฐบาล | (n) government employee | ลูกจ้างชั่วคราว | (n) casual worker, Example: ถึงแม้เขาจะได้เข้าไปทำงานในบริษัทแล้ว แต่ก็เป็นเพียงลูกจ้างชั่วคราว, Thai Definition: ลูกจ้างซึ่งได้รับการจ้างเพราะเกิดมีความต้องการแรงงานกระทันหันในช่วงสั้น |
| ลูกจ้าง | น. ผู้รับจ้างทำการงานโดยได้รับค่าตอบแทน. | กรรมกร | (กำมะกอน) น. คนงาน, ลูกจ้างที่ใช้แรงงาน. | กรรมาชีพ | (กำ-, กัน-) น. คำเรียกชนชั้นกรรมกรหรือลูกจ้างผู้หาเลี้ยงชีพด้วยค่าจ้างแรงงาน ว่า ชนชั้นกรรมาชีพ. | กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ | น. กองทุนที่ลูกจ้างและนายจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้นโดยมีทรัพย์สินส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินที่ลูกจ้างจ่ายสะสม และเงินที่นายจ้างจ่ายสมทบ เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างตายหรือออกจากงาน. | การิตการก | (การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน. | การิตวาจก | (การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน. | ข้อพิพาทแรงงาน | น. ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง. | คนใช้ | น. คนที่มีหน้าที่คอยรับใช้, ลูกจ้างที่รับใช้ทำงานบ้าน. | คนสวน | น. ลูกจ้างที่มีหน้าที่ดูแลรักษาต้นไม้, ลูกจ้างทำสวน. | ค่าจ้าง | น. เงินทุกประเภทและผลประโยชน์อย่างอื่นที่นายจ้างจ่ายหรือให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าตอบแทนการทำงาน. | ค่าทดแทน | น. เงินหรือสิ่งอื่นที่กฎหมายกำหนดให้ต้องชำระ หรือชดใช้เพื่อทดแทนความเสียหายจากการผิดสัญญา การละเมิดสิทธิหรือการล่วงล้ำสิทธิของบุคคล หรือการอื่น เช่นในกรณีลูกจ้างได้รับอันตรายจากการทำงาน. | ค่าล่วงเวลา | น. เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน. | จ้าง ๒ | ก. ให้ทำงานหรือทำของโดยให้ค่าตอบแทน, ผู้ให้ทำงานเรียก นายจ้าง หรือ ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำงานเรียก ลูกจ้าง หรือ ผู้รับจ้าง, ผู้ให้ทำของเรียก ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำของเรียก ผู้รับจ้าง. | จ้างแรงงาน | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ลูกจ้าง ตกลงจะทำงานให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า นายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้. | เจ้าหน้าที่ของรัฐ | น. ผู้ซึ่งมีอำนาจหน้าที่ปฏิบัติงานให้แก่รัฐหรือในหน่วยงานของรัฐ เช่น ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานองค์การมหาชน พนักงานรัฐวิสาหกิจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กฎหมายบางฉบับก็ขยายไปถึงสมาชิกสภาซึ่งทำหน้าที่นิติบัญญัติด้วย. | เชื่อ | ก. เห็นตามด้วย เช่น เด็ก ๆ ควรเชื่อคำสั่งสอนของพ่อแม่, มั่นใจ, ไว้ใจ, เช่น ฉันเชื่อว่าลูกจ้างคนนี้ดูแลการเงินแทนฉันได้ | นัดหยุดงาน | น. ลูกจ้างร่วมกันไม่ทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน. | นายจ้าง | น. ผู้จ้างทำการงาน, คู่กับ ลูกจ้าง | นายจ้าง | บุคคลซึ่งตกลงว่าจ้างบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ลูกจ้าง ให้ทำงานให้และจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้นั้น. | บุริมสิทธิสามัญ | น. บุริมสิทธิของเจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้อย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน ค่าปลงศพ ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ทำให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน ในอันที่จะได้รับชำระหนี้ที่ค้างชำระแก่ตนจากทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้. | เบี้ยกันดาร | น. เงินที่จ่ายช่วยเหลือข้าราชการและลูกจ้างประจำ เนื่องจากการปฏิบัติราชการประจำในท้องที่กันดารหรือในโรงเรียนที่กันดาร. | ประจำ | ที่กำหนดให้มีเป็นปรกติ เช่น งานประจำปี, เรียกรถโดยสารที่วิ่งอยู่บนเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งเป็นปรกติ ว่า รถประจำทาง, เรียกครูหรืออาจารย์ที่สอนและดูแลรับผิดชอบนักเรียนชั้นใดชั้นหนึ่งเป็นปรกติ ว่า ครูหรืออาจารย์ประจำชั้น, เรียกบัตรที่ออกให้ไว้เฉพาะบุคคลและจะต้องเก็บไว้กับตัวเป็นปรกติ ว่า บัตรประจำตัว, เรียกลูกจ้างที่จ้างไว้เป็นปรกติ ไม่ใช่ชั่วคราว ว่า ลูกจ้างประจำ, เรียกผู้ที่มาติดต่อหรือไปมาหาสู่กันเสมอเป็นปรกติ เช่น ลูกค้าประจำ ขาประจำ, ลักษณะการฝากเงินไว้กับธนาคารโดยจะได้รับดอกเบี้ยเมื่อฝากครบตามเวลาที่กำหนดไว้ เรียกว่า ฝากประจำ. | ปิดงาน | น. การที่นายจ้างปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้างทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน. | ผูกดอก | ก. ทำหนังสือสัญญาเป็นลูกจ้างรับเงินล่วงหน้าแล้วให้ดอกเบี้ยแทนรับใช้การงาน. | ภฤดก | (พฺรึ-) น. ลูกจ้าง. | รับคำ | ก. ให้สัญญา, ไม่ปฏิเสธ, ตอบตกลง, เช่น ลูกจ้างรับคำนายจ้าง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ รับปาก เป็น รับปากรับคำ. | แรงงานสัมพันธ์ | น. ความสัมพันธ์ในด้านการจ้างงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการว่าจ้างทำงาน เช่น เงื่อนไขการจ้าง สภาพการทำงาน. | ลดตัว | ก. ถ่อมตัว, ไม่ถือตัว, เช่น ลูกจ้างนิยมนายจ้างที่ลดตัวมาเล่นหัวกับตน, ไม่ไว้ตัว เช่น เป็นผู้ใหญ่แล้วยังลดตัวไปทะเลาะกับเด็ก. | ลูกหาบ | น. ลูกจ้างสำหรับหาบหามสัมภาระเดินทางในที่ทุรกันดาร. | วินาศกรรม | (วินาดสะกำ) น. การลอบทำลายหรือเผาผลาญทรัพย์สินโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้น ของนายจ้างหรือของศัตรู เช่น ในกรณีที่เกิดพิพาทกันขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง หรือเพื่อตัดกำลังฝ่ายศัตรูเมื่อทำสงครามกันโดยตรงหรือโดยปริยาย. | ศาลแรงงาน | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องที่เกี่ยวกับแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง. | สภาพการจ้าง | น. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ้างหรือการทำงาน กำหนดวันและเวลาทำงาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่นของนายจ้าง หรือลูกจ้าง อันเกี่ยวกับการจ้างหรือการทำงาน. | สหภาพ | องค์การของลูกจ้าง เช่น สหภาพแรงงาน. | สหภาพแรงงาน | น. องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน. | สาวใช้ | น. หญิงลูกจ้างช่วยแม่บ้านทำงาน. | สินจ้าง | ค่าตอบแทนที่นายจ้างหรือผู้ว่าจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้รับจ้าง. |
| | | ลูกจ้าง | [lūkjāng] (n) EN: employee ; worker ; staff member ; hireling ; wage-earner ; job-holder ; hand FR: employé [ m ] ; employée [ f ] ; membre du personnel [ m ] | ลูกจ้างชั่วคราว | [lūkjāng chūakhrāo] (n, exp) EN: casual worker ; temporary worker ; temp | ลูกจ้างประจำ | [lūkjāng prajam] (n, exp) EN: permanent employee | ลูกจ้างรัฐบาล | [lūkjāng ratthabān] (n, exp) EN: government employee | เงินสมทบลูกจ้าง | [ngoen somthop lūkjāng] (n, exp) EN: employee's contribution |
| fringe benefit | (n) สิ่งที่ลูกจ้างสมควรได้รับนอกจากค่าจ้างหรือเงินเดือน | employee | (n) ลูกจ้าง, See also: พนักงาน, Syn. laborer, worker | factotum | (n) ลูกจ้างที่มีหน้าที่ทำงานทุกอย่าง | gofer | (n) ลูกจ้างที่คอยทำงานให้คนอื่นในสำนักงาน, Syn. dogsbody | intrapreneur | (n) ลูกจ้างบริษัทที่ไม่ต้องปฏิบัติตามระเบียบของบริษัท | laborer | (n) ผู้ใช้แรงงาน, See also: กรรมกร, กรรมาชีพ, คนงาน, ลูกจ้าง, แรงงาน, Syn. manual laborer | man | (n) คนงานชาย, See also: ลูกจ้างชาย, คนรับใช้ชาย, Syn. manservant, attendant, servant | mercenary | (adj) ซึ่งรับจ้าง, See also: ซึ่งเป็นลูกจ้าง | mercenary | (n) ผู้รับจ้าง, See also: ลูกจ้าง, Syn. legionnaire, laborer, professional soldier | pensionary | (n) ผู้รับเงินบำนาญ, See also: ผู้รับเงินสงเคราะห์, ลูกจ้าง | pensioner | (n) ผู้รับเงินบำนาญ, See also: ลูกจ้าง, Syn. person in retirement | profit-sharing | (n) ระบบการแบ่งปันผลกำไรให้กับลูกจ้าง | self-employed | (n) การทำงานด้วยตนเอง, See also: การไม่เป็นลูกจ้างใคร, การเป็นนายของตนเอง, Syn. freelance, one's own boss | servant | (n) ลูกจ้าง, See also: ข้าราชการ, Syn. public servant, civil servant | worker | (n) ลูกจ้าง, See also: คนงาน, กรรมกร, พนักงาน, ผู้ใช้แรงงาน, Syn. employee, laborer | workpeople | (n) ลูกจ้าง, See also: กรรมกร, ผู้ใช้แรงงาน, Syn. laborer, worker |
| employee | (เอมพลอย'อี, เอมพลอยอี') n. ลูกจ้าง, Syn. employe | free lance | คนที่ทำงานโดยอิสระ โดยไม่ได้เป็นลูกจ้างกินเงินเดือนใคร, คนที่ต่อสู้ในเรื่องที่ไม่ใช่เรื่องของตัว | freelance | (ฟร'ลานซฺ') vi., adj. (เกี่ยวกับ) ทำงานโดยอิสระ (ไม่ใช่ลูกจ้าง) -freelancer n. | fringe benefit | n. ผลประโยชน์นอกเหนือจากเงินค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับจากนายจ้าง | garcon | (การ์ซอน) n. ชาย, ลูกจ้างผู้ชาย | mercenary | (เมอ'ซะเนอรี) adj. ทำงานเพื่อเงินและรางวัลเท่านั้น, รบเพื่อเงินหรือสิ่งตอบแทนเท่านั้น, รับจ้าง, โลภ, เห็นแก่เงิน. n. ทหารรับจ้าง, ผู้รับจ้างหาเงิน, ลูกมือ, ลูกจ้าง, See also: mercenarily adv. mercenariliness n. | pensionary | (เพน'เชินนะรี) n. ผู้รับเงินเบี้ยบำนาญ, ผู้รับเงินสงเคราะห์, ลูกจ้าง. adj. เกี่ยวกับเบี้ยบำนาญ, ซึ่งรับเงินบำนาญ | pensioner | (เพน'เชินเนอะ) n. ผู้รับเงินเบี้ยบำนาญ, ลูกจ้าง, See also: pensionership n. | servant | (เซอ'เวินทฺ) n. คนใช้, คนรับใช้, คนปรนนิบัติ, คนบริการ, ลูกจ้าง, ข้า, ข้าราชการ, ทาส, Syn. housekeeper, maid, butler | worker | (เวอร์'เคอะ) n. คนงาน, ผู้ใช้แรงงาน, กรรมกร, ลูกจ้าง, ชนชั้นกรรมาชีพ, ผู้ปฏิบัติการ, เจ้าหน้าที่, พนักงาน, ผึ้งงาน, มดงาน, ปลวกงาน |
| employee | (n) ลูกจ้าง, พนักงาน, ผู้ถูกว่าจ้าง | hand | (n) มือ, กำมือ, เข็มนาฬิกา, ข้าง, ลูกจ้าง, คนงาน, อำนาจ, ความชำนาญ, ฝีมือ | hireling | (n) ลูกจ้าง, ลูกมือ, ทหารรับจ้าง | mercenary | (n) ทหารรับจ้าง, ลูกจ้าง, ลูกมือ, ผู้รับจ้าง | pensioner | (n) ผู้รับบำนาญ, ลูกจ้าง | servant | (n) ข้าทาส, คนรับใช้, บริวาร, บ่าวไพร่, ลูกจ้าง | worker | (n) คนงาน, ลูกจ้าง, กรรมกร, พนักงาน | workman | (n) คนงาน, กรรมกร, ลูกจ้าง, ช่างฝีมือ |
| | |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |