ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

magarine

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -magarine-, *magarine*
Possible hiragana form: まがりね
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา magarine มีน้อย ระบบจึงเลือกคำใหม่ให้โดยอัตโนมัติ: magazine)
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
magarine(n) เนยเทียม, See also: มาการีน
magazine(n) นิตยสาร, See also: วารสาร, หนังสือรายเดือน, หนังสือรายสัปดาห์, แม็กกาซีน, Syn. mag, journal, periodical
magazine(n) กล่อง, See also: ที่ใส่กระสุน, Syn. cartridge holder, cartrigde clip

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
magazine(n) นิตยสาร, See also: วารสาร, หนังสือรายเดือน, หนังสือรายสัปดาห์, แม็กกาซีน, Syn. mag, journal, periodical
magazine(n) กล่อง, See also: ที่ใส่กระสุน, Syn. cartridge holder, cartrigde clip

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
magazine(แมก'กะซีน) n. นิตยสาร, ห้องเก็บดินปืนหรือวัตถุระเบิดอื่น ๆ , กล่องใส่กระสุนในปืนอัตโนมัติ, กระสุนปืนรวมทั้งแก๊ป, ปลอกกระสุนและหัวตะกั่ว, See also: magazinish adj. magaziny adj.
powder magazinen. รังเพลิง, โรงเก็บกระสุนดินปืน, ซองระเบิด

English-Thai: Nontri Dictionary
magazine(n) นิตยสาร, วารสาร, หนังสือพิมพ์รายเดือน, คลังกระสุน, ซองปืน

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
magazineนิตยสาร [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Magazineนิตยสาร, นิตยสาร เขียนทับศัพท์ว่า แมกาซีน, Example: นิตยสาร (Magazine) คือสิ่งพิมพ์รายคาบที่ออกเป็นระยะสำหรับผู้อ่านทั่วไป มุ่งทั้งให้ความรู้และความบันเทิง ความรู้มักเป็นไปในลักษณะที่ให้ความรอบรู้ มีการหารายได้จากการโฆษณาและวางขายทั่วไปผู้อ่านสามารถบอรับเป็นสมาชิกได้ <p>คำว่านิตยสาร มาจากรากศัพท์ คือ นิตย (สม่ำเสมอ) และสาร (เนื้อหา) คำว่านิตยสารโดยทั่วไปอาจมีความหมาย คาบเกี่ยวกับคำว่า วารสารซึ่งออกตามกำหนดเวลาที่แน่นอน แต่ในทางบรรณารักษ์ศาสตร์ปัจจุบันเมื่อมีการใช้อินเทอร์เน็ต ทำให้มี นิตยสารในอินเทอร์เน็ตซึ่งมิใช่สิ่งพิมพ์ แต่ยังเรียกกันว่า นิตยสาร <p>เป็นที่น่าสังเกตว่า นิตยสารบางชื่อ ไม่ได้ใช้คำว่า นิตยสาร แต่ก็น่าจะจัดเป็นนิตยสารได้ เช่น อนุสารอสท. ของการ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ขณะที่สิ่งพิมพ์บางชนิดมีความก้ำกึ่ง ระหว่างหนังสือพิมพ์รายสัปดาห์และนิตยสารรายสัปดาห์ เช่น มติชนรายสัปดาห์ สยามรัฐรายสัปดาห์ เนชั่นรายสัปดาห์ ทั้งนี้ก็เพราะเนื้อหาในเล่มมีทั้งข่าว วิเคราห์ข่าว และบันเทิงในสัดส่วนที่ พอๆกัน โดยทั่วไปนิตยสารมักจะมีลักษณะผ่อนคลาย เล่าเรื่องไม่นิยมเขียนในลักษณะตำรา เว้นแต่ละแทรกอยู่เป็นบางส่วนของเล่ม นิตยสารสำหรับคนอ่านเฉพาะกลุ่มฉบับแรกของโลกตีพิมพ์ในกรุงลอนดอนเมื่อ พ.ศ. 2274 (สมัยพระเจ้าท้ายสระ) ชื่อนิตยสาร สุภาพบุรุษ (The Gentlemen's Magazine) เลิกกิจการไปเมื่อ พ.ศ.2450 นิตยสารสำหรับผู้บริโภคฉบับแรกของโลกคือ นิตยสารสกอต (The Scots Magazine) ตีพิมพ์ในสกอตแลนด์ เมื่อปี พ.ศ.2282 ซึ่งตรงกับสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ และยังคงตีพิมพ์จนถึงปัจจุบันการตีพิมพ์ <p>นิตยสาร เป็นสิ่งพิมพ์ที่จัดพิมพ์ออกเผยแพร่ตามกำหนดเวลา หรือคาบเวลาที่แน่นอน เช่น ออกทุกสัปดาห์ หรือออกทุกเดือน ลักษณะโดยทั่วไปเป็นสิ่งพิมพ์ เข้าเล่มแบบเดียวกับหนังสือ<p> <p>วารสารคือ วารสาร เป็นสิ่งพิมพ์ จัดพิมพ์ออกเผยแพร่เป็นคราวๆ หรือเป็นวาระ ซึ่งอาจมีกำหนดเวลาหรือไม่มีกำหนดเวลาแน่นอนก็ได้ วารสารและนิตยสาร จัดอยู่ในสิ่งพิมพ์ประเภทออกตามรายคาบ หรือออกต่อเนื่องตามลำดับ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ประเภทนี้มีชื่อเรียกหลายชื่อ ทั้งใน ภาษา ไทยและภาษาอังกฤษ บางคำมีความหมายกว้างๆ ใช้แทนกันได้ แต่บางคำมีความหมายแคบ แสดงถึงลักษณะเฉพาะบางอย่าง จนไม่อาจใช้แทนคำอื่นได้ เพื่อให้เข้าใจตรงกัน ในที่นี้จึงขอใช้คำว่า "วารสาร" เป็นคำเรียก แทนสิ่งพิมพ์ประเภทนี้ทั้งหมด <p>ลักษณะของวารสาร จาก ความหมายดังกล่าว วารสาร จึงเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกต่อเนื่องตามกำหนดหรือ ออกตามวาระ สามารถนำมาพิจารณากำหนดเป็นลักษณะของวารสารได้ดังนี้<p> <p> 1. เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (Periodical or Serial) มีกำหนดเวลาออก แน่นอนระยะเวลาที่นิยมกำหนดออก เช่น ( วราวุธ ผลานันต์ 2536 : 5-6)<p> -รายสัปดาห์ (Weekly) กำหนดออกสัปดาห์ละครั้ง ปีละ 52 ฉบับ<p> -รายปักษ์ (Fortnightly) กำหนดออกทุก 2 สัปดาห์ ปีละ 26 ฉบับ<p> -รายครึ่งเดือน (Semimonthly) กำหนดออกเดือนละ 2 ครั้ง ปีละ 24 ฉบับ<p> -รายเดือน (monthly) กำหนดออกเดือนละครั้ง ปีละ 12 ฉบับ<p> -รายหกเดือนหรือรายครึ่งปี (Semiannually) กำหนดออกทุก 6 เดือน<p> -รายปี (Annually) กำหนดออกปีละฉบับ<p> นอกจากนี้บางฉบับอาจมีการกำหนดระยะเวลาออกที่แตกต่างออกไปจากที่กล่าวมาแล้ว เช่น รายครึ่งสัปดาห์ (Semiweekly) กำหนดออกสัปดาห์ละ 2 ฉบับ ปีละ 104 ฉบับ รายทศกำหนดออกทุก 10 วัน ปีละ 36 ฉบับ และรายสะดวกมีกำหนดออกไม่แน่นอน ลักษณะความต่อเนื่องของวารสารไม่มีกำหนดว่าจะสิ้นสุดลงในฉบับใด<p> <p>2. มีเลขกำกับประจำฉบับ ได้แก่ เลขปีที่ (Volume) เลขฉบับที่ ( Issue Number) และวัน เดือน ปี (Date) การนับลำดับฉบับที่อาจนับเป็นปีๆ เช่น วารสารรายเดือน แต่ละปีจะมีตั้งแต่ฉบับที่ 1-12 หรืออาจนับต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เช่นวารสารรายเดือน ฉบับแรกของปีที่ 2 ก็นับเป็นฉบับที่ 13 นอกจากเลขปีที่ ฉบับที่ และวันเดือนปี ซึ่งเป็นเลขที่ต้องต่อเนื่องเป็นลำดับกันไปแล้วยังมีเลขอีกชุดหนึ่งเป็นเลข เฉพาะที่แน่นอน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงถือเป็นรหัสประจำวารสารแต่ละชื่อ เพื่อการควบคุมทางบรรณานุกรม ในระบบข้อมูลวารสารระหว่างชาติ เรียกว่า เลขสากลประจำวารสาร (International Standard Serial Number-ISSN) ซึ่งศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติระดับสากล มอบให้ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติ ประจำประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ เป็นผู้กำหนดให้แก่วารสารแต่ละชื่อในประเทศของตน สำหรับประเทศไทยมีหอสมุดแห่งชาติ เป็นศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทย เป็นผู้กำหนดวารสารแต่ละชื่อให้ได้รับหมายเลขสากลประจำวารสาร และจะต้องพิมพ์ไว้ที่หน้าปกหรือหน้าปกใน หรือสันวารสารใกล้ ๆ กับชื่อวารสาร มีอักษร ISSN ตามด้วยเลข อารบิค 8 ตัว มีเครื่องหมายยติภังค์ (-) คั่นระหว่าง เลข 4 ตัวแรก กับเลข 4 ตัวหลัง เช่น วารสาร ซีเนแม็ก ISSN 0858-9305 <p>3. รูปเล่ม มักทำให้มีบางส่วนมีลักษณะเหมือนกันทุกฉบับ เพื่อให้ผู้อ่านสังเกตและจำได้ง่าย เช่น ขนาดความกว้าง ยาว รูปแบบและสีของตัวอักษร ชื่อวารสารที่หน้าปก และสัญลักษณ์ประจำวารสาร <p>4. เนื้อหา ประกอบด้วยบทความหลายบทความ จากผู้เขียนหลาย ๆ คน ถ้าเป็นวารสารมักจะเป็นวิชาการเฉพาะแขนงวิชา ถ้าเป็นนิตยสารมักจะมีบทความทั่ว ๆ ไป สารคดี หรือบันเทิง เช่น นวนิยาย เรื่องสั้น ลงติดต่อกันเป็นหลายๆ มีคอลัมน์บรรณาธิการ คอลัมน์ประจำ วารสารบางชื่อเนื้อหาอาจเป็นรูปภาพ เป็นบทวิจารณ์ สรุปข่าวและวิเคราะห์ เหตุการณ์บ้านเมือง ฯลฯ ทั้งนี้เป็นไปตามประเภทและวัตุประสงค์ของวารสาร แต่ละฉบับ <p>5. ผู้จัดพิมพ์ ผู้จัดพิมพ์วารสารอาจเป็นเอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ สถาบัน องค์การ สมาคม ชมรม โดยมีวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ประชา-สัมพันธ์หน่วยงาน ให้ความบันเทิง ความรู้ทั่วไป หรือเพื่อธุรกิจการค้า เป็นต้น <p>6. การเผยแพร่ มีทั้งการจำหน่ายและแจกฟรี การจำหน่ายอาจวางจำหน่ายตามร้านขายหนังสือ การให้ผู้อ่านบอกรับเป็นสมาชิกประจำ ชำระค่าวารสารล่วงหน้าแล้วผู้จัดพิมพ์เป็นผู้ส่งวารสารไปให้สมาชิก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Magazine coversปกนิตยสาร [TU Subject Heading]
Magazine designการออกแบบนิตยสาร [TU Subject Heading]
Magazine format television programsรายการนิตยสารทางโทรทัศน์ [TU Subject Heading]
Magazine illustrationภาพประกอบวารสาร [TU Subject Heading]

ตัวอย่างประโยคจาก Tanaka JP-EN Corpus
magazineAccording to this magazine, my favorite actress will marry a jazz musician next spring.
magazineAccording to this magazine, the economic situation in Japan is getting worse year by year.
magazineAny magazine will do.
magazineAre there any English magazines in this library?
magazineAre you done with that magazine?
magazineBring me the magazines.
magazineCan I have a look at the magazine?
magazineCould you bring me a Time magazine?
magazineDispose of the old magazines.
magazineDon't throw away this magazine.
magazineDon't throw away this magazine. I haven't read it yet.
magazineDo you have any Japanese magazines?

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
นิตยสาร(n) magazine, See also: journal, periodical, Syn. แมกกาซีน, Example: ร้านทำผมร้านนี้รับนิตยสารประเภทที่เกี่ยวกับผู้หญิงเป็นประจำ, Count Unit: เล่ม, ฉบับ, Thai Definition: หนังสือพิมพ์ที่ออกเป็นรายคาบ เช่น นิตยสารรายสัปดาห์ นิตยสารรายเดือน, Notes: (สันสกฤต)
แหนบ(n) magazine, Syn. ซองปืน, Count Unit: แหนบ, Thai Definition: ซองบรรจุกระสุนปืน

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
แหนบ[naēp] (n) EN: magazine

CMU English Pronouncing Dictionary Dictionary [with local updates]
magazine
magaziner
magazines
magazine's
magazines'
magaziner's

Oxford Advanced Learners Dictionary (pronunciation guide only)
magazine
magazines

WordNet (3.0)
magazine(n) a periodic publication containing pictures and stories and articles of interest to those who purchase it or subscribe to it, Syn. mag
magazine(n) product consisting of a paperback periodic publication as a physical object
magazine(n) a business firm that publishes magazines, Syn. magazine publisher
magazine(n) a light-tight supply chamber holding the film and supplying it for exposure as required, Syn. cartridge
magazine(n) a storehouse (as a compartment on a warship) where weapons and ammunition are stored, Syn. powder store, powder magazine
magazine article(n) an article published in a magazine
magazine rack(n) a rack for displaying magazines

The Collaborative International Dictionary of English (GCIDE) v.0.53
Magazine

n. [ F. magasin, It. magazzino, or Sp. magacen, almagacen; all fr. Ar. makhzan, almakhzan, a storehouse, granary, or cellar. ] [ 1913 Webster ]

1. A receptacle in which anything is stored, especially military stores, as ammunition, arms, provisions, etc. “Armories and magazines.” Milton. [ 1913 Webster ]

2. The building or room in which the supply of powder is kept in a fortification or a ship. [ 1913 Webster ]

3. A chamber in a gun for holding a number of cartridges to be fed automatically to the piece. [ 1913 Webster ]

4. A pamphlet published periodically containing miscellaneous papers or compositions. [ 1913 Webster ]

5. A country or district especially rich in natural products. [ Webster 1913 Suppl. ]

6. A city viewed as a marketing center. [ Webster 1913 Suppl. ]

7. A reservoir or supply chamber for a stove, battery, camera, typesetting machine, or other apparatus. [ Webster 1913 Suppl. ]

8. A store, or shop, where goods are kept for sale. [ Webster 1913 Suppl. ]


Magazine dress, clothing made chiefly of woolen, without anything metallic about it, to be worn in a powder magazine. --
Magazine gun, a portable firearm, as a rifle, with a chamber carrying cartridges which are brought automatically into position for firing. --
Magazine stove, a stove having a chamber for holding fuel which is supplied to the fire by some self-feeding process, as in the common base-burner.
[ 1913 Webster ]

Magazine

v. t. [ imp. & p. p. Magazined p. pr. & vb. n. Magazining. ] To store in, or as in, a magazine; to store up for use. [ 1913 Webster ]

Magazine camera

. (Photog.) A camera in which a number of plates can be exposed without reloading. [ Webster 1913 Suppl. ]

Magaziner

n. One who edits or writes for a magazine. [ R. ] Goldsmith. [ 1913 Webster ]

Magazine rack

n. A rack or stand for displaying magazines{ 4 }. [ WordNet 1.6 ]

Chinese-English: CC-CEDICT Dictionary
杂志[zá zhì, ㄗㄚˊ ㄓˋ,   /  ] magazine #2,042 [Add to Longdo]
暗盒[àn hé, ㄢˋ ㄏㄜˊ,  ] magazine; cassette #101,577 [Add to Longdo]

German-English: TU-Chemnitz DING Dictionary
Magazin { n }; Zeitschrift { f } | Magazine { pl }; Zeitschriften { pl }magazine | magazines [Add to Longdo]

Japanese-English: EDICT Dictionary
[べ, be] (n, n-suf) (1) (higher than a 課) department (in an organization); division; bureau; (2) club; (3) part; component; element; (4) category; (ctr) (5) counter for copies of a newspaper or magazine; (P) #104 [Add to Longdo]
雑誌[ざっし, zasshi] (n) journal; magazine; periodical; (P) #854 [Add to Longdo]
[し, shi] (n-suf, ctr) (abbr) (See 雑誌) magazine; (P) #887 [Add to Longdo]
蔵(P);倉(P);庫[くら, kura] (n) warehouse; cellar; magazine; granary; godown; depository; treasury; elevator; (P) #2,054 [Add to Longdo]
マガジン[magajin] (n) magazine; (P) #2,626 [Add to Longdo]
購読[こうどく, koudoku] (n, vs, adj-no) paid subscription (e.g. magazine); (P) #7,773 [Add to Longdo]
同誌[どうし, doushi] (n) same magazine #13,223 [Add to Longdo]
読み切り;読切り[よみきり, yomikiri] (n, adj-no) (1) finishing reading; (2) non-serialised stories (e.g. in magazines); complete novel; (3) (See 句読) punctuation #15,281 [Add to Longdo]
季刊[きかん, kikan] (n, adj-no) quarterly (e.g. magazine); (P) #16,093 [Add to Longdo]
本誌[ほんし, honshi] (n) this magazine #16,562 [Add to Longdo]

Japanese-English: COMPDICT Dictionary
雑誌記事[ざっしきじ, zasshikiji] journal article, magazine article [Add to Longdo]

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top