ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*กริยา*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: กริยา, -กริยา-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ไทย (TH) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
pigeonholeในกรณีเป็นคำกริยา to pigeonhole หมายถึง "ด้อยค่า" คนใดคนหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง * ในคำแปลของ Longdo Dict ไม่ได้ให้ความหมายนี้ไว้
pigeonhole(vt) ในกรณีเป็นคำกริยา to pigeonhole หมายถึง "ด้อยค่า" คนใดคนหนึ่งหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง * ในคำแปลของ Longdo Dict ไม่ได้ให้ความหมายนี้ไว้

Longdo Dictionary ภาษา ศัพท์แพทย์ศาสตร์สำหรับคนไทย (MED) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
tried(vi) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ Try (ไม่ใช่ tired ที่แปลว่าเหนื่อย)

Longdo Dictionary ภาษา ไทยภาคอีสานตอนใต้ (TH-NE-S) - ไทย (TH) (UNAPPROVED version -- use with care )
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เดิ้ง(ว) คำแสดงกริยาที่ต้องการทำร่วม เช่น ฉันขอกิ่นเดิ้ง แปลว่า ฉันขอกินด้วย *หมายเหตุ ภาษาโคราช, See also: S. ด้วย

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
กริยา(n) verb, Syn. คำกริยา, Example: เอกัตถประโยคคือประโยคความเดียวซึ่งจะประกอบด้วยกริยา 1 ตัว, Count Unit: ตัว
คำกริยา(n) verb, Example: ในทางไวยากรณ์มีคำอยู่ 8 ประเภท คือ คำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำกริยา คำกริยาวิเศษณ์ คำบุพบท คำสันธาน และ คำอุทาน, Count Unit: คำ, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ที่แสดงอาการกริยาต่างๆ
กริยาวลี(n) verb phrase, Example: นักภาษาศาตร์เก็บข้อมูลภาษาที่เป็นข้อความง่ายๆ เช่น นามวลี กริยาวลี อนุประโยคประเภทต่างๆ ประโยคลักษณะต่างๆ เป็นต้นหลัง, Thai Definition: กลุ่มคำของคำกริยาแต่ยังไม่เป็นประโยคสมบูรณ์
กริยาสกรรม(n) transitive verb, Thai Definition: คำกริยาที่ต้องมีกรรมมารับ
กริยาอกรรม(n) intransitive verb, Thai Definition: คำกริยาที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ
สกรรมกริยา(n) transitive verb, Thai Definition: คำกริยาที่ต้องมีกรรมหรือผู้กระทำมารับ, Notes: (ไวยากรณ์)
อกรรมกริยา(n) intransitive verb, Syn. กริยาอกรรม, Thai Definition: กริยาที่สำเร็จรูปได้ความบริบูรณ์โดยไม่ต้องมีกรรมรับ, Notes: (สันสกฤต/ไวยากรณ์)
คำช่วยกริยา(n) auxiliary verb, Syn. กริยานุเคราะห์, Count Unit: คำ, Thai Definition: คำในหมวดกริยาที่ใช้ประกอบกริยาอื่น เช่น จะ คง
กริยาวิเศษณ์(n) adverb, Syn. วิเศษณ์, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ทำหน้าที่ขยายคำกริยา
กริยาคุณศัพท์(n) predicative adjective, Syn. คำกริยาคุณศัพท์
กริยานุเคราะห์(n) auxiliary verb, Syn. กริยาช่วย, Example: คำว่า คงจะ เป็นกริยานุเคราะห์, Thai Definition: คำในหมวดกริยาที่ใช้ประกอบกริยาอื่น เช่น จะ คง
คำกริยาวิเศษณ์(n) adverb, Syn. วิเศษณ์, Example: คำกริยาวิเศษณ์ช่วยเน้นความหมายของคำกริยาวิเศษณ์ที่ปรากฏร่วมด้วยให้หนักแน่นขึ้น, Count Unit: คำ, Thai Definition: หมวดคำประเภทหนึ่ง ทำหน้าที่ขยายคำกริยา
กริยาวิเศษณ์วลี(n) adverbial phrase, Example: ฉันกำลังนึกประโยคที่มีคำกริยาวิเศษณ์วลี, Thai Definition: ข้อความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา
กริยาวิเศษณานุประโยค(n) adverbial clause, Thai Definition: อนุประโยคที่ประกอบกริยาหรือวิเศษณ์ในประโยคความรวม

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กริยา(กฺริยา, กะริยา) น. คำที่แสดงอาการของนามหรือสรรพนาม.
กริยานุเคราะห์น. กริยาที่ใช้ช่วยกริยาอื่น เช่น คง จะ ถูก น่า, กริยาช่วย ก็ว่า.
กริยาวิเศษณ์น. คำวิเศษณ์ใช้ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ด้วยกันให้มีความแปลกออกไป.
กริยาวิเศษณ์วลีน. ท่อนความที่มีคำกริยาวิเศษณ์ที่พ่วงบุรพบทเข้าขยายกริยา เช่น ม้าวิ่งไปข้างโน้น ความที่ขีดสัญประกาศนั้นเป็นกริยาวิเศษณ์วลี.
กริยาวิเศษณานุประโยค(-วิเสสะนานุปฺระโหฺยก) น. อนุประโยคที่ประกอบคำกริยาหรือคำวิเศษณ์ในสังกรประโยค, ประโยควิเศษณ์ ก็ว่า.
สกรรมกริยา(สะกำกฺริยา, สะกำกะริยา) น. กริยาที่มีกรรมหรือผู้ถูกกระทำมารับ เช่น ดื่มน้ำ เตะฟุตบอล.
อกรรมกริยา(อะกำกฺริยา, อะกำกะริยา) น. กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมรับ เช่น ยืน เดิน นั่ง นอน.
กรรตุการก(กัดตุ-, กันตุ-) น. ผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๒ ส่วนของประโยคที่ไม่ต้องมีกรรมมารับ เช่น เด็กวิ่ง เด็ก เป็น กรรตุการก หรือเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ตำรวจ เป็น กรรตุการก.
กรรตุวาจก(กัดตุ-, กันตุ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรตุการกคือผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรตุการกคือเป็นผู้ทำหรือผู้ใช้ให้ทำ เช่น ครูเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ทำ)ครูให้นักเรียนเขียนหนังสือ (ประธานเป็นผู้ใช้ให้ทำ).
กรรม ๒, กรรม- ๒(กำ, กำมะ-) น. ผู้ถูกกระทำ เช่น คนกินข้าว ข้าว เป็นกรรมของกริยา กิน.
กรรมการก(กำมะ-) น. ผู้ถูกทำ เป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งใน ๓ ส่วนของประโยคที่กริยาต้องมีกรรมรับ เช่น ตำรวจยิงผู้ร้าย ผู้ร้าย เป็น กรรมการก, ถ้าต้องการให้ผู้ถูกทำเด่น ก็เรียงเป็นภาคประธานของประโยค เช่น ผู้ร้ายถูกตำรวจยิง.
กรรมวาจก(กำมะ-) น. ระเบียบของกริยาที่บอกว่าประธานเป็นกรรมการกหรือผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นกรรมการก คือ ผู้ถูกทำ, กริยาของประโยคกรรมต้องใช้สกรรมกริยา คือ กริยาที่ต้องมีกรรมรับ, บางทีก็มีกริยานุเคราะห์ “ถูก” นำ และใช้หมายไปในทางไม่ดี เช่น เด็กถูกตี ถูกตี เป็นกริยา กรรมวาจก เด็กเป็นกรรมการก แต่บางทีก็ไม่ปรากฏกริยานุเคราะห์ “ถูก” เช่น หนังสือเล่มนี้แต่งดีมาก.
กระอ้อมกระแอ้มว. อ้อมแอ้ม, ไม่ฉะฉาน, ไม่ชัดเจน, ไม่เต็มปาก, (ใช้แก่กริยาพูด).
กรุณาใช้ประกอบหน้ากริยาแสดงความขอร้องอย่างสุภาพ เช่น กรุณาส่ง
กัน ๒ว. คำประกอบท้ายกริยาของผู้กระทำตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป แสดงการกระทำร่วมกัน อย่างเดียวกัน หรือต่อกัน เช่น คิดกัน หารือกัน.
การ ๑น. งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทำ, มักใช้เข้าคู่กับคำ งาน เช่น การงาน เป็นการเป็นงาน ได้การได้งาน, ถ้าอยู่หน้านาม หมายความว่า เรื่อง, ธุระ, หน้าที่, เช่น การบ้าน การครัว การคลัง การเมือง, ถ้าอยู่หน้ากริยา ทำกริยาให้เป็นนาม เช่น การกิน การเดิน.
การก(กา-รก) ก. กริยาที่ทำหน้าที่ประธาน กรรม หรือส่วนขยายของประโยคที่คล้ายกับนาม มี ๕ ชนิด คือ กรรตุการก กรรมการก การิตการก วิกัติการก และวิเศษณการก.
การิตการก(การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน.
การิตวาจก(การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน.
เก้กัง, เก้ ๆ กัง ๆว. ขวาง ๆ รี ๆ, กีดเกะกะ, (ใช้แก่กริยายืนและเดิน).
แกล้ม(แกฺล้ม) ว. ไปด้วยกัน, ควบคู่กันไป, แกมกัน, (ใช้แก่กริยากิน) เช่น กินแกล้มเหล้า.
ขวานผ่าซากว. โผงผางไม่เกรงใจใคร (ใช้แก่กริยาพูด).
เขลง ๑(เขฺลง) ว. ทอดอารมณ์อย่างสบาย (ใช้แก่กริยานอน).
เข้าให้ว. เน้นความเพื่อแสดงกริยาข้างหน้าให้มีนํ้าหนักขึ้นและเฉพาะเจาะจง เช่น ด่าเข้าให้ ชกเข้าให้.
คลานกริยาที่ใช้มือทั้ง ๒ และเข่าทั้ง ๒ ทาบพื้นแล้วเคลื่อนไป เรียกว่า คลานสี่ตีน หรือ คลานสี่เท้า
ควรเป็นคำช่วยกริยาในความคล้อยตาม เช่น ควรทำ ควรกิน.
ความคำนำหน้ากริยาหรือวิเศษณ์เพื่อแสดงสภาพ เช่น ความตาย ความดี ความชั่ว.
ค่อย ๑, ค่อย ๆ ๑ว. ใช้ประกอบหลังนามหรือกริยา หมายความว่า ไม่ดัง, เบา, เช่น เสียงค่อย พูดค่อยเดินค่อย ๆ อย่าลงส้น
ค่อย ๒, ค่อย ๆ ๒ว. ใช้นำหน้ากริยาหมายความว่า ไม่รีบร้อน, อย่างระมัดระวัง, ช้า ๆ, เช่น ค่อยคิด ค่อยทำ ค่อย ๆ เดิน.
คำ ๒น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท
เคย ๒ใช้เป็นคำประกอบหน้ากริยาแสดงว่ากริยานั้น ๆ ได้เป็นมาแล้ว เช่น เคยทำ = ได้ทำมาแล้ว เคยเห็น = ได้เห็นมาแล้ว, บางทีใช้พูดละกริยาที่ประกอบเสีย เหลือแต่ว่า เคย ก็มี เช่น เคยไปหรือไม่เคย ไม่เคยเลย.
ใคร่ใช้เป็นคำช่วยกริยาแสดงการขอร้องอย่างสุภาพ เช่น ใคร่ขออนุญาตดำเนินการ.
จงเป็นคำช่วยกริยา บอกความบังคับ เช่น จงปฏิบัติตามระเบียบวินัย, หรือบอกความหวัง เช่น จงมีความสุขความเจริญ.
จะ ๒เป็นคำช่วยกริยาบอกอนาคต เช่น จะไป จะอยู่.
จัก ๒คำช่วยกริยาบอกกาลภายหน้า แสดงเจตจำนง เช่น จักกิน จักนอน.
จุ่งก. จง, คำช่วยกริยาบอกความบังคับหรือความหวัง.
ฉะ ๑คำใช้แทนกริยาได้หลายอย่างแล้วแต่คำห้อมล้อม เช่น ฉะปาก หมายความว่า ต่อยปาก, ฉะข้าว หมายความว่า กินข้าว.
ซิ, ซิ่, ซีคำประกอบท้ายประโยคเพื่อเสริมข้อความให้เด่น ให้ชัด เป็นต้น, โดยมากใช้กับกริยาเป็นเชิงบังคับ เชิงชวน หรือรับคำเป็นต้น เช่น ไปซิ มาซิ ไปซิ่ มาซิ่ ไปซี มาซี, สิ ก็ว่า.
ด้วยว. คำแสดงกริยารวมหรือเพิ่ม เช่น สวยด้วยดีด้วย, แสดงกริยาร่วมกันหรือในทำนองเดียวกัน เช่น กินด้วย, แสดงความขอร้อง เช่น ช่วยด้วย บอกด้วย.
เด่ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงตั้งขึ้น เช่น ชี้เด่ ตั้งเด่.
เด่า, เด่า ๆว. เร่า ๆ, (ใช้แก่กริยาดิ้น), ด่าว ก็ว่า.
เดาะ ๑โดยปริยายใช้เรียกผู้ที่กำลังจะดี แต่กลับมีข้อบกพร่องเสียกลางคัน ใช้เป็นคำแทนกริยาหมายความว่า ทำแปลกกว่าธรรมดาสามัญ เช่น ร้อนจะตายเดาะเสื้อสักหลาดเข้าให้.
โด่ว. ใช้ประกอบคำกริยาบางคำเพื่อเน้นความหมายว่า ตรงขึ้นไป หรือเด่นเห็นได้ชัดเจน เช่น นั่งหัวโด่ ตั้งโด่.
ได้ใช้ประกอบท้ายคำกริยา มีความหมายต่าง ๆ แล้วแต่ความแวดล้อม คือ อาจ, สามารถ, เช่น เดินได้ เขียนได้
ได้คำช่วยกริยาบอกอดีต เช่น ได้กิน ได้ไป
ต้วมเตี้ยมว. อาการที่ค่อย ๆ เคลื่อนไหวหรือเคลื่อนไหวอย่างช้า ๆ (ใช้แก่กริยาเดินหรือคลาน), โดยปริยายหมายความว่า ชักช้า เช่น เธอมัวแต่ต้วมเตี้ยมอยู่อย่างนี้ทำงานไม่ทันเพื่อนเขาหรอก, กระต้วมกระเตี้ยม ก็ว่า.
ต้องเป็นกริยาช่วยบอกความแน่ใจหรือบังคับ เช่น เขาต้องมาแน่ เด็กต้องนอนแต่หัวค่ำ.
ต๋อมว. เสียงอย่างของหนักขนาดเล็กตกลงไปในนํ้า, โดยปริยายหมายความว่า เงียบไป (ใช้แก่กริยาหาย ว่า หายต๋อม).
ตะบัน ๑ว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบัน เถียงตะบัน, ตะบันราด ก็ว่า.
ตะบันราดว. คำประกอบกริยาหมายความว่า ไม่มียับยั้ง, เรื่อยไป, เช่น เที่ยวตะบันราด เถียงตะบันราด, ตะบัน ก็ว่า.

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
สดับปกรณ์เป็นทั้งคำกริยาและคำนามว่า สดับปกรณ์ (สะ-ดับ-ปะ-กอน) เป็นคำกริยา คือ บังสุกุล (ใช้แก่ศพเจ้านาย) ส่วนคำนามหมายถึง พิธีสวดมาติกาบังสุกุลเนื่องด้วยศพ ปัจจุับันใช้เฉพาะเจ้านาย คำในภาษาบาลีเขียน สตฺตปฺปกรณ ส่วนภาษาสันสกฤตเขียน สปฺตปฺรกรณ หมายถึงพระอภิธรรม ๗ คัมภีร์ [ศัพท์พระราชพิธี]
กริยากิริยา อาการ การกระทำ เช่น ปฏิกิริยา, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ กิริยา [คำที่มักเขียนผิด]
Adverbialsคำกริยาวิเศษณ์ [TU Subject Heading]
Verbคำกริยา [TU Subject Heading]
Verb phraseคำกริยาที่เป็นวลี [TU Subject Heading]
Reactive Substanceสารเกิดปฏิกริยาได้ง่าย, Example: สารที่มีสภาพไม่คงตัว สามารถทำปฏิกริยาได้อย่างรวดเร็วและรุนแรง [สิ่งแวดล้อม]
exileเนรเทศ (กริยา) การเนรเทศ (นาม) [การทูต]
Attitudeท่าที, ท่าทรงตัว, ทัศนคติ, เจตนคติ, ท่าทาง, เจตคติ, อากัปกริยา [การแพทย์]
Cross Reactionsปฏิกิริยาข้ามพวก, ปฎิกิริยาไขว้กัน, คุณสมบัติคล้ายคลึง, ปฏิกิริยาข้าม, มีปฏิกริยาข้าม, ปฏิกิริยาข้ามกลุ่ม [การแพทย์]
Flaccid Areflexiaแขนขาอ่อนปวกเปียกและไม่มีปฏิกริยาตอบสนอง [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
ใช้เป็นกริยาวิเศษณ์[chai pen kriyāwisēt = chai pen kariyāwisēt] (v, exp) FR: adverbialiser (vx)
คำกริยา[kham kriyā = kham kariyā] (n) EN: verb  FR: verbe [ m ]
คำกริยาวิเศษณ์[kham kriyā wisēt] (n) EN: adverb  FR: adverbe
กริยา[kriyā = kariyā = kíriyā*] (n) EN: verb ; predicate  FR: verbe [ m ]
กริยาช่วย[kriyā chūay] (n, exp) EN: auxiliary verb  FR: auxiliaire [ m ]
กริยาคุณศัพท์[kriyā khunnasap] (n, exp) EN: predicative adjective
กริยานุเคราะห์[kriyānukhrǿ] (n, exp) EN: auxiliary verb  FR: auxiliaire [ m ]
กริยาแท้[kriyā thaē] (n, exp) EN: finite verb
กริยาวิเศษณ์[kriyāwisēt = kariyāwisēt] (n) EN: adverb  FR: adverbe [ m ]
กริยาวิเศษณานุประโยค[kriyāwisētsanuprayok] (n, exp) EN: adverbial clause
กริยาวิเศษณวลี[kriyāwisētwalī] (n, exp) EN: adverbial phrase  FR: phrase adverbiale [ f ]
สกรรมกริยา[sakammakriyā] (n, exp) EN: transitive verb  FR: verbe transitif [ m ]

English-Thai: Longdo Dictionary
skype(vt) สนทนาด้วยเสียงโดยใช้คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นกริยาที่ผันมาจากชื่อโปรแกรม Skype ที่ใช้ในการสนทนา ดังปรากฏใน USA Today (17 ธันวาคม 2004) ว่า "To 'Skype' is to call someone over your computer."
ground(vt) กริยารูปอดีตของ grind แปลว่า บด ลับ(มีด)เช่น Mix together ground ham and ground pork with other ingredients.
foresaw(vt) รู้ล่วงหน้า (กริยาช่องที่ 2 ของ foresee)

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
activate(vt) ทำให้เกิดปฏิกริยาตอบสนอง
active(adj) ซึ่งประธานเป็นผู้กระทำ(คำกริยา)
activity(n) การวัดความสามารถในการเกิดปฏิกริยาเคมี
adv(n) คำกริยาวิเศษณ์ (คำย่อของ adverb), See also: คำช่วยกริยา
adverb(n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำที่ทำหน้าที่ขยายกริยา คุณศัพท์ หรือคำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันเอง
adverbial(adj) เกี่ยวกับกริยาวิเศษณ์
adverbial(n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์
adverbial clause(n) กริยาวิเศษณานุประโยค
adverbial phrase(n) กริยาวิเศษณ์วลี
agent(n) ตัวกระทำ, See also: สารที่ส่งผล, สารที่ทำให้เกิดปฏิกริยาเคมี
agreement(n) ความสอดคล้องทางไวยากรณ์, See also: ความสอดคล้องระหว่างประธานและกริยา
arose(vi) กริยาช่องสองของ arise
ate(vt) กริยาช่อง 2 ของ eat
ate(vi) กริยาช่อง 2 ของ eat
auxiliary verb(n) กริยานุเคราะห์, See also: กริยาช่วย
as good as done(idm) เกือบจะเสร็จ (อาจใช้กริยาอื่นแทน done ได้เช่น cooked, painted ฯลฯ)
at home with(idm) (รู้สึก) สุขสบาย (มักใช้คำกริยา be หรือ feel) (คำไม่เป็นทางการ)
babysat(vt) กริยาช่องที่ 2 ของ babysit
bade(vt) กริยาช่องที่ 2 ของ bid
began(vi) กริยาช่องที่ 2 ของ begin, See also: เริ่มต้น, เริ่ม, Syn. start
begot(vt) ก่อให้เกิด (กริยาช่องที่ 2 ของ beget)
begotten(vt) ก่อให้เกิด (กริยาช่องที่ 3 ของ beget)
begun(vi) กริยาช่องที่ 3 ของ begin
beheld(vi) มอง (กริยาช่องที่ 2 ของ behold), See also: เห็น
besought(vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ beseech
bode(vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ bide
bitten(vt) กริยาช่องที่ 3 ของ bite
blew(n) กริยาช่องที่ 2 ของ blow
blown(vi) กริยาช่องที่ 3 ของ blow
bode(vt) กริยาช่องที่ 2 ของ bide
bodily movement(n) อิริยาบถ, See also: กริยาท่าทาง
borne(vt) กริยาช่องที่ 3 ของ bear
bought(vt) กริยาช่องที่ 2 ของ buy
break(vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา break, See also: แตกหัก, Syn. cracked
break(vt) กริยาช่องที่ 3 ของคำกริยา break, See also: แตกหัก, Syn. cracked
brought(vt) กริยาช่องที่ 2 ของคำกริยา bring, Syn. took
built(vt) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ build
came(vi) กริยาช่องที่ 2 ของ come
caught(vi) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ catch
caught(vt) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ catch
chose(vt) กริยาช่อง 2 ของ choose
chose(vi) กริยาช่อง 2 ของ choose
chosen(vt) กริยาช่อง 3 ของ choose
chosen(vi) กริยาช่อง 3 ของ choose
clove(vi) แยกออก (กริยาช่อง2 ของ cleave)
clove(vt) แยกออก (กริยาช่อง2 ของ cleave)
clung(vi) กริยาช่องที่สองและสามของ cling
content word(n) คำแสดงเนื้อหา (ทางไวยากรณ์ เช่น คำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ เป็นต้น), Syn. open-class word
could(aux) กริยาช่องที่ 2 ของกริยาช่วย can, See also: สามารถ
crept(vi) กริยาช่องที่ 2 และ 3 ของ creep

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
a-ใช้นำหน้าคำนามให้เป็นกริยาวิเศษณ์, จาก, ออก, จาก, ไม่
abode 2(อะโบด') vi., vt. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ abide, Syn. residence, dwelling
acid-forming(แอส' ซิดฟอร์มมิง) adj. ให้กรด (ในปฏิกริยาเคมี) (yielding acid)
actomyosin(แอคโทไม' โอซิน) n., Biochem. โปรตีนเชิงซ้อนที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของกล้ามเนื้อลายหรือกล้ามเนื้อกระดูก มันทำปฏิกริยากับ ATP ทำให้กล้ามเนื้อบีบตัวได้ (a complex protein)
adverbial(แอดเวอ' เบียล) adj. เกี่ยวกับหรือทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ (of an adverb)
albuminate(แอลบู' มิเนท) n. สารประกอบที่เกิดจากปฏิกริยาของ albumin กับด่างหรือกรด
aluminothermy(อะลู' มิโนเธอมี) n. ขบวนการเพิ่มอุณหพูมิให้สูง โดยการให้ผงอะลูมิเนียมทำปฏิกริยากับอ็อกซิเจนที่ได้จากอ๊อคไซด์โลหะอื่น., Syn. aluminothermics
amyloid(แอม' มิลอยด์) n. ผลิตผลชนิดหนึ่งจากปฏิกริยาของกรดกำมะถันกับเซลลูโลส, อาหารที่ประกอบด้วยแป้งเป็นส่วนใหญ่. -adj. ซึ่งคล้ายแป้ง
aorist(เอ'อะริสท) n. กาลกริยาในไวยากรณ์, -adj. เกี่ยวกับ aorist (a verb tense)
arcked(อาร์คท) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ arc
arcking(อาร์'คิง) กริยาช่อง 3 ปัจจุบันของ arc
art 1(อาร์ทฺ) v. กริยาปัจจุบันของ be บุรุษที่ 2 ใช้กับ thou
autocatalysis(ออโทคะแทล'ลิซิส) n., (pl. -ses) ภาวะที่เพิ่มขึ้นของปฏิกริยาทางเคมีเนื่องจากตัวกระตุ้น (catalyst) ที่เกิดขึ้น. -autocatalytic adj.
auxiliary verbกริยานุเคราะห์
basophilsเป็นเม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูล มีจำนวนน้อยมากประมาณ 0-1.6 % มีหน้าที่ในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เกี่ยวกับการอักเสบ มีความสำคัญต่อปฏิกริยา antigen antibody คือจะทำให้ basophils แตกออกแล้วปล่อย histamine ออกมา
beck(เบค) { becked, becking, becks } n. อากัปกริยาที่เรียก (เช่นกวักมือ, ผงกศีรษะ) vt., vi. เรียก (พยักหน้า, กวักมือ, ฯลฯ)
begot(บิกอท') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ beget
begotten(บิกอท'เทิน) กริยาช่อง 3 ของ beget
begun(บิกัน') กริยาช่อง 3 ของ begin
beheld(บิเฮลดฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ behold
bereft(บิเรฟทฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bereave. adj. ถูกคร่าไป, ซึ่งสูญเสียไป
besought(บิซอทฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ beseech
bespoke(บิสโพค') กริยาช่อง 3 ของ bespeak adj. ทำตามที่ลูกค้าสั่ง, ทำโดยเฉพาะ, ซึ่งหมั้นไว้แล้ว, Syn. custom-made
bespoken(บิสโพ'เคิน) กริยาช่อง 3 ของ bespeak
bethought(บิธอทฺ') กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bethink
bid(บิด) { bade/bid, bidden/bid, bidding, bids } vt., n. (การ) ออกคำสั่ง, สั่ง, กล่าว, บอก, ให้ราคา, ประมูลราคา, เชื้อเชิญ, ประกาศอย่างเปิดเผย, รับเป็นสมาชิก, ความพยายามเพื่อให้ได้มา vi. ออกคำสั่ง, กริยาช่อง 3 ของ bide, See also: bidder n. ดู bid -Conf. bade
bidden(บิด'เดิน) กริยาช่อง 3 ของ bid
bit(บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ
bled(เบล็ด) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bleed
blent(เบลนทฺ) v. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ blend
bode(โบด) { boded, boding, bodes } vt., vi. เป็นลาง, เป็นนิมิต, ทำนาย, กริยาช่อง 2 ของ bide, See also: bodement n.
borne(บอร์น) v. กริยาช่อง 3 ของ bear -Conf. born
bredvi. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ breed
broke(โบรค) กริยาช่อง 2 ของ break adj. ไร้เงิน, ล้มละลาย, Syn. impoverished
broken(โบร'เคิน) vi. กริยาช่อง 3 ของ break adj. เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย, ไม่เรียบ, อ่อนกำลัง, ยอมเชื่อ, พูดอย่างไม่สมบูรณ์, ขรุขระ, แตกแยก, See also: brokenness n. ดูbroken, Syn. split, damaged, sudued
brought(บรอท) v. กริยาช่อง 2 ของ bring
built(บิลทฺ) vi., vt. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ build adj. ซึ่งประกอบขึ้น, มีรูปร่างที่ดี
burnt(เบอร์นทฺ) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ burn adj. เกี่ยวกับสีน้ำตาลเข้ม, ซึ่งไหม้เกรียม, ซึ่งถูกลวกหรือไฟไหม้บาดเจ็บ
by-pastadj. อดีต v. กริยาช่อง 2และ3ของby-pass
charter(ชาร์'เทอะ) { chartered, chartering, charters } n. ตราตั้ง, กฎบัตร, กฎหมาย, สัญญาเช่าเรือ, สัญญาเช่า, สิทธิพิเศษ, สิทธิยกเว้น, หนังสือรับรอง, ประกาศนียบัตร -vt. อนุญาตด้วยตราตั้ง, ให้สิทธิพิเศษ. -adj. เช่ามา, เหมา, See also: charterer n. -Conf. chartered กริยาช
chose(โชส) v., n. กริยาช่อง 2 ของ choose, สิ่งของ, สังหาริมทรัพย์
chosen(โซ'เซิน) n. กริยาช่อง 3 ของ choose adj. เลือกสรรแล้ว
clad(แคลด) v. v. กริยาช่อง 2และ3ของclothe, หุ้มโลหะด้วยโลหะ, ปกคลุม, หุ้ม
clapt(แคลพทฺ) v. กริยาช่อง 2 หรือ3ของclap
clasptv. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ clasp
clave(เคลฟว) v. กริยาช่อง 2 cleave
cleft(เคลฟทฺ) { clefted, clefting, clefts } n. ร่อง, รอยแยก, ช่องที่แตก v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ cleave. adj. ซึ่งแตกร้าว, ซึ่งแตกแยกออก, ซึ่งแบ่งแยกออก
clept(เคลพทฺ) v. กริยาช่อง 2 ของ clepe
clipt(คลิพทฺ) v. กริยาช่อง 2 ของ clip
clomb(โคลม) v. กริยาช่อง 2 และ 3 ของ climb

English-Thai: Nontri Dictionary
adverb(n) กริยาวิเศษณ์
adverbial(adj) เกี่ยวกับกริยาวิเศษณ์
AUXILIARY auxiliary verb(n) กริยาช่วย, กริยานุเคราะห์
conjugate(vt) ผันคำกริยา, รวมกัน, เชื่อม, ผนึก
conjugation(n) การผันคำกริยา, การเชื่อมต่อกัน, การรวมกัน
gerund(n) คำกริยาที่ใช้เป็นคำนาม
infinitive(n กริยาช่องที่) 1
intransitive(adj) อกรรมกริยา
participial(adj) เกี่ยวกับคำกริยาช่อง3
participle(n) คำกริยาช่อง3
predicate(n) คำกริยา
tense(n) กาล, รูปกริยาที่แสดงเวลา
verb(n) คำกริยา
verbal(adj) เกี่ยวกับคำกริยา, ตามตัวอักษร, เป็นวาจา

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
deemed(vt) เป็นกริยาช่อง 2 ของคำว่า deem แปลว่า "คิดว่า"
hove[โฮฟว] กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ heave
hove[โฮฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ heave
hove[โฮฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ heave
hove[โฮฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ heave
hove[โฮฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ heave
hoven[โฮ'เวิน] (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ heave
hoven[โฮ'เวิน] (vt) กริยาช่องที่ 3 ของ heave
laight[เลท] (vi) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ latch
ran[เเรน] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ rin
raught[รอท] (vi) กริยาช่อง 2 และ 3 ของ reach (ปัจจุบันเลิกใช้เเล้ว)
raught[รอท] (vt) กริยาช่อง 2 เเละ 3 ของ reach (ปัจจุบันเลิกใช้เเล้ว)
replied(vt) กริยาช่อง 2 และ 3 ของคำว่า reply ตอบกลับ, ตอบ
run[รัน] (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ rin
simplified[ซิมพลิไฟด์] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ simplify
snarled(vt) เป็นกริยาช่อง 2 และ 3 ของคำว่า snarl ขู่, ตะคอก, คำราม
weave[โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ weave
wove[โวฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ weave
wove[โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 เเละ 3 ของ weave
wove[โวฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ heave
wove[โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ heave
wove[โวฟว] (vi) กริยาช่องที่ 2 ของ weave
wove[โวฟว] (vt) กริยาช่องที่ 2 ของ weave
woven[โว'เวิน] (vi) กริยาช่องที่ 3 ของ weave
woven[โว'เวิน] (vt) กริยาช่องที่ 3 ของ weave
แรด(n, vt) N = บุคคลที่แสดงกริยาท่าทางในเชิงลบ ในเรื่องหรือ/และการกระทำต่อเพศตรงข้าม คำนี้มีความหมายตรงข้ามเรียบร้อย เช่น สมศรีแรดมาก S = สามารถใช้เป็นคำแสลง เพื่อแสดงออกในกริยา เช่น วันนี้เค้าไปแรดมา เห็นว่าได้เสื้อมา 2 ตัว (แรด ในที่นี้มีความหมายว่า ไปซื้อของ), See also: A. เรียบร้อย, Syn. กระซู่

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
〜方[〜かた, ~ kata] (n) เมื่อนำกริยามาเติมข้างหน้าจะหมายถึง วิธีการ เช่น 読み方(よみかた) วิธีอ่าน หรือ 使い方(つかいかた) วิธีการใช้งาน

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
自動詞[じどうし, jidoushi] (n) อกรรมกริยา, See also: A. 他動詞(たどうし)
放題[ほうだい, houdai] ...เท่าที่ต้องการ、มีไม่้อั้น (นิยมใชเติมหลังคำกริยา)
こっそり[ほうだい, kossori] (adv) แอบทำ ขยายคำกริยาในประโยคว่าแอบทำ โดยที่ไม่ต้องการให้ใครรู้
熱核反応[ねつかくはんのう, netsukakuhannou] ปฏิกริยาเทอร์โมนิวเคลียร์, See also: R. thermonuclear reaction
助動詞[じょどうし, jodoushi] (n) คำกริยานุเคราะห์, See also: R. auxiliary verb
副詞[ふくし, fukushi] (n) คำกริยาวิเศษณ์, See also: R. adverb
言動[げんどう, gendou] กริยาวาจา, คำพูดเเละการกระทำ

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
来る[くる, kuru] TH: ใช้เป็นกริยาช่วยวางหลังกริยาแสดงความหมายที่ดำเนินต่อเนื่อง หรือ จุดเริ่มต้นของการเป
化する[かする, kasuru] TH: เปลี่ยนสภาพกลายเป็น ใช้ต่อท้ายคำที่แสดงสภาพเพื่อทำให้เป็นกริยา  EN: to change into

German-Thai: Longdo Dictionary
hatte(vt) |กริยารูปอดีตที่เรียกว่า Präteritum ของ haben: ich/er/sie/es hatte, du hattest, wir/sie/Sie hatten, ihr/Ihr hattet| มี, See also: haben
hieß(vt) |กริยารูปอดีตที่เรียกว่า Präteritum ของ heißen: ich hieß, du hießt/hießtest, er/sie/es hieß, wir/Sie/sie hießen, ihr/Ihr hießt| มีชื่อว่า, See also: heißen
indem(konj) |กริยาอยู่ท้ายอนุประโยค| โดย, ด้วย เช่น Man lernt, indem man etwas ausprobiert. คนเราเรียนรู้ด้วยการลองด้วยตนเอง
lassenยอมให้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาช่วย)
lassenวางไว้ ปล่อยไว้ (คล้าย let ในภาษาอังกฤษ) (กรณีกริยาแท้) | ließ, gelassen |
würdeจะ- (รูป Konjunctiv II) (กรณีเป็นกริยาช่วย), See also: werden
würdenจะ- (รูป Konjunctiv II) (กรณีเป็นกริยาช่วย), See also: werden
werdenกลายเป็น (กรณีเป็นกริยาแท้) |wurde, geworden|
werdenจะ- (กรณีเป็นกริยาช่วย)
wirdกลายเป็น (กรณีเป็นกริยาแท้), See also: werden
wirdจะ- (กรณีเป็นกริยาช่วย), See also: werden
schweigen(vi) |schwieg, hat geschwiegen| นิ่งเงียบ และ ไม่แสดงความคิดเห็น หรือ ไม่เปิดเผยในสิ่งที่รู้ หรือ ไม่ตอบ ก็เป็นได้ นะเนี่ย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Du solltest auf all seine Fragen schweigen! = เธออย่าได้ตอบคำถามของเขาเชียวนะ แม้จะคำถามเดียวก็เหอะ (นั่น เป็นงั้นไปได้, ยังกะในละคร แนะ ) 2° Darüber sollten wir lieber schweigen. = ผมเห็นว่า พวกเราน่าจะนิ่งเฉยกับเรื่องนี้เอาไว้ดีกว่านะ ( เพิ่มเติม, ผู้พูดแนะนำให้ทำ ดังนั้นเขาจึง ใช้กริยาเป็น sollten เช่น solltest ในตัวอย่างที่ 1 ด้วยเหมือนกัน ) 3° Sebastian, er steht schweigend vor seinen Eltern. = เซบาสเทียน, เขายืนนิ่ง ไม่พูดอะไรสักคำต่อหน้าพ่อแม่ของเขา ( กริยา Infinitiv เติมด้วย d จะทำหน้าที่เป็น Adjektiv หรือ Adverb เช่นคำว่า schweigend ในประโยค ตัวอย่าง ), See also: verheimlichen, A. verraten, antworten, sagen, Syn. still sein
sich äußern(vt) |äußerte sich, hat sich geäußert| พูด หรือ แสดงความคิดเห็น เช่น Ich möchte mich über unsere Teamarbeit äußern. = ผมอยากจะแสดงความเห็นในเรื่องงานที่เราทำด้วยกัน หรือ งานกลุ่ม ( กริยา ตามด้วย กรรมตรง เช่น mich ในประโยคตัวอย่าง ), See also: meinen, sagen, das Gefühl erklären, die Meinung geben, A. schw, Syn. die Meinung sagen
haben|ich habe, du hast, er/sie/es hat, wir/sie/Sie haben, ihr/Ihr habt| เป็นกริยาช่วยในประโยคที่บ่งเหตุการณ์ในอดีตแบบ Perfekt โดยท้ายประโยคตามด้วยกริยารูปที่เรียกว่า Partizip 2 เช่น Ich habe gestern viel gearbeitet. เมื่อวานผมทำงานมาก
sein|ich bin, du bist, er/sie/es ist, wir/sie/Sie sind, ihr/Ihr seid| เป็นกริยาช่วยในประโยคที่บ่งเหตุการณ์ในอดีตแบบ Perfekt โดยท้ายประโยคตามด้วยกริยารูปที่เรียกว่า Partizip 2 ที่ส่วนมากเป็นกริยาที่บ่งการเคลื่อนไหว เช่น Letztes Jahr bin ich zum ersten Mal nach Japan geflogen. ปีที่แล้วฉันบินไปญี่ปุ่นเป็นครั้งแรก, See also: Related: haben
können|kann, konnte, gekonnt| สามารถ (เป็นกริยาช่วย ท้ายประโยคตามด้วยกิริยารูปปกติที่ไม่ผัน) เช่น Kannst du mir einen Rat geben? เธอสามารถให้คำแนะนำฉันได้ไหม
vor(prep) |+D สถานที่ (เมื่อกริยาไม่ได้บ่งอาการเคลื่อนไหว)| ข้างหน้า, หน้า เช่น Wir treffen uns vor dem Kino. พวกเราเจอกันที่หน้าโรงหนังนะ
auf(prep) |+A เมื่อกริยาบ่งอาการเคลื่อนไหว| บน, ข้างบน เช่น Die Fahrgäste legen ihr Gepäck auf die Gepäckablage. ผู้โดยสารวางสัมภาระบนที่วางกระเป๋า
in(prep) |+D เมื่อกริยาไม่บ่งอาการเคลื่อนไหว| ที่ เช่น Der Zug hält in Spanien. รถไฟจอดที่สเปน (ชื่อประเทศส่วนใหญ่ไม่มีคำนำหน้านามหรือ Artikel)
werden(vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, wurde + Partizip 2 ท้ายประโยค| ถูก(กระทำ) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่ประธานถูกกระทำ เช่น Werden Sie schon bedient? คุณถูก(ได้รับ)บริการแล้วหรือยังครับ
werden(vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, + infinitiv ท้ายประโยค| จะ (เป็นกริยาช่วยในไวยากรณ์อนาคตบ่งว่าจะทำอะไร) เช่น Nächste Woche werde ich in den Alpen skifahren. สัปดาห์หน้าฉันจะไปเล่นสกีที่เทือกเขาแอลป์
lassen|läßt, ließ, hat gelassen, ตามด้วยกิริยาที่ไม่ผันรูปท้ายประโยค| เป็นกริยาช่วยใช้บ่งว่า กรรมของประโยคถูกกระทำ ซึ่งเป็นอีกรูปหนึ่งของ Passivbildung เช่น Man ließ drei Häuser bauen. = Es wurden drei Häuser gebaut.
eine Menge|+ กริยาเอกพจน์ ไม่ว่าจะตามด้วยคำนามเอกพจน์หรือพหูพจน์| จำนวนมาก เช่น Herr Müller hat eine Menge Geld., Eine Menge Leute haben die Ausstellung besucht.
weil(konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| เพราะว่า เช่น Andrea bleibt daheim, weil sie ihrer Mutter im Haushalt helfen will. อันเดรียอยู่บ้านเพราะเธออยากช่วยแม่ทำงานบ้าน, See also: Related: denn, da
da(konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| เพราะว่า เช่น Sie braucht eine kleinere Wohnung, da sie allein ist., See also: A. darum, deswegen, Syn. weil
deswegen(konj) |กริยาอยู่เป็นอันดับสอง| ดังนั้น, จึง เช่น Es ist stürmisch, deswegen bleiben wir zu Hause. ลมพายุพัดแรง ดังนั้นเราเลยอยู่บ้านกัน, See also: daher, deshalb, A. weil, da, denn, Syn. darum
nachdem(konj) |กริยาอยู่ท้ายประโยค| หลังจาก เช่น Nachdem ich mit dir telefoniert habe, arbeite ich weiter. หลังจากที่ฉันโทรศัพท์กับเธอ ฉันทำงานต่อ
sollen|soll, sollte, hat gesollt| ควร (เป็นกริยาช่วย บ่งความต้องการ, คำสั่ง, ข้อควรทำ) เช่น Man soll nicht stehlen., Soll ich dir das Buch mal zeigen?
müssen|muß, mußte, hat gemußt| ต้อง (เป็นกริยาช่วย บ่งความจำเป็น, การบังคับ) เช่น Du muß dich erst mal ausruhen!, Alle Menschen müssen sterben.
fressen(vt) |frisst/frißt, fraß, hat gefressen| กิน เป็นกริยาที่ใช้กับสัตว์ ไม่ใช้กับคน เช่น Der Hund frisst gerade ein Stück Fleisch. หมากำลังกินชิ้นเนื้อ
Edelmetall(n) |das, pl. Edelmetalle| โลหะมีค่าที่ทนต่อการผุกร่อนและทนปฏิกริยาอ็อกซิเดชัน ส่วนใหญ่เป็นโลหะที่หายาก เช่น ทองคำ เงิน แทนทาลัม และแพลตินัม เป็นต้น

French-Thai: Longdo Dictionary
vais((présent)) je vais = ฉันไป ( กริยาผันรูปปัจจุบัน ของ aller กับประธานบุรุษที่ 1 เอกพจน์ je = ผม, ฉัน )เช่น je vais partir. = ผมจะไปแล้วหละ
être(vi) |je suis, tu es, il est, nous sommes, vous êtes, ils sont| (1) เป็น, อยู่, คือ เช่น Vous êtes Monsieur Voltaire? คุณคือคุณโวลแตร์ใช่ไหมครับ/คะ, Je suis à Bangkok. ผมอยู่ที่กรุงเทพ (2) เป็นกริยาช่วยในประโยคที่อยู่ในรูปอดีต passé composé สำหรับกริยาที่บ่งการเคลื่อนไหว เช่น Je suis venu(e) à sept heures ce matin. ผม(ดิฉัน)มาถึงตอนเจ็ดโมงเมื่อเช้านี้
devoir(vi) |je dois, tu dois, il doit, nous devons, vous devez, ils doivent| ต้อง (ตามด้วยกริยารูป infinitive)
peur(n) |f| ความกลัว (ใช้กับกริยา avoir) เช่น J'ai peur. ฉันกลัว

French-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
be supposed toน่าจะ, ควรจะ, เป็นการแสดงความคาดหวังของผู้พูดต่อประธานในประโยคว่าน่าจะทำกริยาที่ระบุไว้

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top