มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ | กลมกลืน | (-กฺลืน) ก. เข้ากันได้ดี, ไม่ขัดแย้งกัน. | เกลียว | (เกฺลียว) ว. โดยปริยายหมายความว่า ขยันขันแข็ง เช่น หากินตัวเป็นเกลียว, นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน เช่น เข้ากันเป็นเกลียว, ในลักษณะนี้ ถ้าไม่เข้าเกลียวกัน คือแตกพวกหรือไม่ถูกกัน หรือมีความเห็นไม่ลงรอยกัน ขัดแย้งกัน เรียกว่า ปีนเกลียว. | งัดข้อ | ก. เกร็งแขนขัดกัน แล้วออกกำลังกดให้แขนอีกฝ่ายหนึ่งล้มลง, โดยปริยายหมายความว่า โต้เถียงกัน, มีความเห็นขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน. | แทนที่จะ | สัน. ใช้ในความที่ขัดแย้งกัน เช่น แทนที่จะเขียนอย่างนั้น เขากลับเขียนอย่างนี้. | ประสานงา | ขัดแย้งกันอย่างรุนแรง, โดยปริยายหมายถึง ลักษณะที่รถหรือเรือแล่นเข้าชนกันอย่างแรง. | ปีนเกลียว | ว. มีความเห็นไม่ลงรอยกัน, ขัดแย้งกัน, แตกพวกหรือไม่ถูกกัน. | ไม้เบื่อไม้เมา | ว. ไม่ลงรอยกัน, ขัดแย้งกันเป็นประจำ. |
|
| | Contradiction | ความขัดแย้งกัน [TU Subject Heading] | Break of Diplomatic Relations | การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวรหรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] | national reconciliation | การปรองดองแห่งชาติ หมายถึง กระบวนการสร้างสันติภาพ และเอกภาพภายในชาติ โดยให้กลุ่มต่าง ๆ ที่ขัดแย้งกันได้มีส่วนร่วมในการกระบวนการดังกล่าว [การทูต] | Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] | Communication, Double Blind | การสื่อความหมายที่มีความขัดแย้งกันเองในเวลา [การแพทย์] | Consensus, High | เนื้อหาวิชาที่แสดงความคิดเห็นขัดแย้งกัน [การแพทย์] |
| | antithesis | (n) การใช้ถ้อยคำขัดแย้งกัน | collide | (vi) ขัดแย้งกัน, See also: เป็นปรปักษ์, Syn. clash, conflict, disagree, oppose, dispute | contradictory | (adj) ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งไม่ไปในทางเดียวกัน, Syn. opposite, conflicting | contrary | (adj) ซึ่งขัดแย้งกัน, Syn. opposed, against | dispute about | (phrv) ขัดแย้งกันในเรื่อง, See also: โต้เถียงกันในเรื่อง | dispute against | (phrv) ขัดแย้งกันกับ, See also: โต้เถียงกันกับ | dispute over | (phrv) ขัดแย้งกันในเรื่อง, See also: โต้เถียงกันในเรื่อง | dispute with | (phrv) ขัดแย้งกันกับ, See also: โต้เถียงกันกับ | drive a wedge between | (idm) ไม่เห็นด้วย (ระหว่าง), See also: ขัดแย้งกันระหว่าง | fall out | (phrv) ทะเลาะกัน, See also: ขัดแย้งกัน | disagreement | (n) ความขัดแย้งกัน, See also: ความคิดเห็นไม่ตรงกัน, ความไม่เห็นด้วย, การแตกร้าว, Syn. contradiction, contrast, disparity, Ant. agreement | discord | (vi) ไม่ลงรอยกัน, See also: ขัดแย้งกัน, Syn. disagree, differ, Ant. agree | discordant | (adj) ซึ่งไม่สอดคล้องกัน, See also: ซึ่งไม่พร้อมเพรียงกัน, ซึ่งขัดแย้งกัน, Syn. contradictory, adversative, Ant. agreeable, similar | dissension | (n) ความไม่ลงรอยกัน, See also: ความขัดแย้งกัน, ความไม่สอดคล้องกัน, Syn. conflict, discord, frictior, Ant. agreement, harmony | inconsistent | (adj) ซึ่งขัดแย้งกัน, See also: ซึ่งไม่สอดคล้องกัน, ซึ่งขัดกัน, Syn. contradictory, Ant. consistent | knock it off | (idm) เลิก (ทำสิ่งที่ขัดแย้งกัน) | middle ground | (n) ส่วนกลางระหว่างความคิดหรือมุมมองที่ขัดแย้งกัน | mixed metaphor | (n) การใช้คำหรือสำนวนเปรียบเทียบขัดแย้งกันแต่ทำให้ตลกขบขัน | paradox | (n) คำพูดที่ดูเหมือนขัดแย้งกัน | quarrelling | (adj) ซึ่งไม่ลงรอยกัน, See also: ซึ่งขัดแย้งกัน, Syn. disagreeing | strife | (n) การแข่งขันกัน, See also: การต่อสู้กัน, การขัดแย้งกัน, Syn. conflict, competition, rivalry, struggle, Ant. peace |
| antinomy | (แอนทิน' โนมี) n. ความขัดแย้งกันระหว่างกฎหรือหลักการ, คำพูดหรือข้อความที่ขัดกันเอง. -antinoic (al) adj., (contradiction) | contrariant | (คันแทร'เรียนท) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, ซึ่งตรงกันข้ามกัน, See also: contrariety n. | discordant | (ดิสคอ'เดินทฺ) adj. ซึ่งขัดแย้งกัน, บาดหมางกัน, ทะเลาะกัน, ต่อสู้กัน, ไม่เข้าหู, ห้วน, Syn. contradictory | incompatible | (อินคัมแพท' ทะเบิล) adj. เข้ากันไม่ได้, ขัดแย้งกัน, ตรงกันข้าม, ต่อต้านกัน, ซึ่งไม่สามารถจะเป็นพร้อมกันได้, incompatibles บุคคลที่เข้ากันไม่ได้., See also: incompatibility, incompatibleness n. incompatibly adv. -S .unadapted, discrepant |
| clash | (vt) ปะทะกัน, ชนกัน, กระทบกัน, ขัดแย้งกัน, โต้แย้งกัน, ทะเลาะกัน | incompatible | (adj) ขัดแย้งกัน, ไม่ลงรอยกัน, เข้ากันไม่ได้ |
| jedoch | (konj) แต่ (เป็นคำที่ไพเราะกว่า aber มักใช้ในภาษาเขียน ใช้บ่งสิ่งที่ขัดแย้งกัน) เช่น Er wollte seine Eltern besuchen, tat jedoch nicht. เขาอยากไปเยี่ยมพ่อแม่ แต่ก็ไม่ได้ทำ, See also: doch, Syn. aber | seltsamerweise | (adv) แปลกที่, ที่ขัดแย้งกัน |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |