ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ข้าหลวง, -ข้าหลวง- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ข้าหลวง | (n) governor, Syn. ข้าราชบริพาร, บริวาร, Example: คุณย่าของดวงใจเคยเป็นข้าหลวงในวังมาก่อน, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่ถวายตัวเป็นผู้รับใช้ของในหลวงและเจ้านาย | ข้าหลวงน้อย | (n) a personal attendant of princes or nobles, Syn. ข้ารับใช้, ข้าหลวง, Example: หล่อนได้มารยาทงามมาจากข้าหลวงน้อยในวัง, Count Unit: คน, Thai Definition: คนใช้ของเจ้านาย | ข้าหลวงใหญ่ | (n) governor-general, See also: High Commissioner, Example: บรรดาข้าหลวงใหญ่มักมีทรัพย์สินร่ำรวยกันทั้งนั้น, Count Unit: คน, Thai Definition: ตัวแทนพระเจ้าแผ่นดินที่มีอำนาจเหนือข้าหลวง |
|
| ข้าหลวง ๑ | น. คนที่ถวายตัวเป็นข้าของพระมหากษัตริย์หรือเจ้านาย, คนรับใช้ของพระมหากษัตริย์หรือเจ้านาย ปัจจุบันมีเฉพาะผู้หญิง เรียกว่า คุณข้าหลวง. | ข้าหลวง ๒ | น. ตำแหน่งผู้ปกครองในหัวเมืองแต่ก่อนในลักษณะผู้รั้งเมืองหรือผู้รักษาเมืองเอก โท ตรี จัตวา ถ้าปกครองหลายหัวเมือง เรียกว่า ข้าหลวงใหญ่ ถ้าปกครองเมืองประเทศราช เรียกว่า ข้าหลวงรักษาราชการ | ข้าหลวง ๒ | ผู้ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ราชการเฉพาะกิจ | ข้าหลวง ๒ | เรียกผู้ว่าราชการเมืองหรือข้าหลวงประจำจังหวัด. | ข้าหลวงเดิม | น. คนที่พระเจ้าแผ่นดินเคยใช้สอยมาตั้งแต่ก่อนขึ้นครองราชย์, คนรับใช้เก่าแก่ของเจ้านาย, (ปาก) คนหรือสิ่งของที่ใช้สอยถูกใจมาเป็นเวลานาน ๆ. | ข้าหลวง ๑ | ดูใน ข้า ๑. | ข้าหลวง ๒ | ดูใน ข้า ๑. | ข้าหลวง ๓ | น. ชื่อปลาทะเลขนาดเล็กชนิด Scolopsis ciliatus (Lacepéde) ในวงศ์ Nemipteridae ลำตัวป้อม แบนข้างปานกลาง พื้นลำตัวสีเขียวหม่น มีแถบสีขาวเด่นพาดตามยาวใกล้แนวสันหลังข้างละเส้น ระหว่างตาและแผ่นกระดูกใต้ตามีหนามแหลม ๑ อัน ชี้ไปทางด้านหน้า ขอบด้านนอกของขากรรไกรบนจักเป็นฟันเลื่อย พบอาศัยอยู่ตามแนวหินปะการัง ขนาดยาวได้ถึง ๑๓ เซนติเมตร. | ข้าหลวงหลังลาย | น. ชื่อเฟินอิงอาศัยชนิด Asplenium nidus L. ในวงศ์ Aspleniaceae ใบเรียงเป็นวง รูปทรงคล้ายชาม แตกใบอ่อนตรงกลาง. | เข็ม ๑ | เครื่องประดับสำหรับกลัดเป็นเครื่องหมาย เช่น เข็มข้าหลวงเดิม | เค้าสนามหลวง | น. สำนักผู้ปกครองบ้านเมือง, ที่ว่าราชการเมือง, คณะผู้ว่าการบ้านเมืองซึ่งประกอบด้วยเจ้าผู้ครองเมืองหรือผู้ครองเมืองข้าหลวงประจำนครหรือเมืองซึ่งต่อมาเรียกว่า ปลัดมณฑลประจำจังหวัด และข้าหลวงผู้ช่วย มีหน้าที่บังคับบัญชารับผิดชอบในกิจการทั่วไปของเมือง, เค้าสนาม ก็ว่า. | ชาววัง | น. ผู้หญิงที่รับราชการอยู่ในวัง เช่น ข้าหลวง ชาวที่ โขลน, ภาษาปากว่า ชาวรั้วชาววัง | เทศาภิบาล | น. ตำแหน่งข้าหลวงผู้รักษาราชการ ผู้ว่าราชการเมือง หรือกรมการเมืองในหัวเมืองนั้น ๆ | เทศาภิบาล | การปกครองหัวเมืองที่จัดเป็นมณฑล โดยโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ทำหน้าที่ปกครองในแต่ละมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล เว้นแต่มณฑลชายแดนบางมณฑล เรียกว่า ข้าหลวงต่างพระองค์สำเร็จราชการมณฑล ภายหลังเรียกว่า สมุหเทศาภิบาลมณฑล หรือสมุหเทศาภิบาล. | มณฑลเทศาภิบาล | น. เขตการปกครองในระบบเทศาภิบาล โดยการรวมเมืองตั้งแต่ ๒ เมืองขึ้นไปเป็นมณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลที่ส่งไปจากกรุงเทพฯ เป็นผู้ปกครอง. | สมุหเทศาภิบาล | น. ผู้ปกครองมณฑลในระบบเทศาภิบาล เดิมเรียกว่า ข้าหลวงเทศาภิบาลสำเร็จราชการมณฑล. |
| | ข้าหลวง | คนที่ถวายตัวเป็นข้าของพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย, คนใช้ของพระเจ้าแผ่นดินหรือเจ้านาย [ศัพท์พระราชพิธี] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | comprehensive plan of action | แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบ เป็นแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาผู้หนีภัยอย่างสมบูรณ์ โดยความร่วมมือระหว่างประเทศต้นเหตุ ประเทศที่ต้องแบกรับภาระ สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ และประเทศที่ให้ความช่วยเหลือ แผนปฏิบัติการที่สมบูรณ์แบบนี้เป็นการแก้ไขปัญหาแบบครบวงจร ตั้งแต่กระบวนการป้องกันปัญหา การให้ความช่วยเหลือผู้หนีภัย โดยจัดที่พักพิงชั่วคราวตามหลักมนุษยธรรม การส่งตัวกลับเมื่อสถานการณ์ในประเทศต้นเหตุกลับคืนสู่สภาพปกติแล้ว และการหาที่พักพิงให้แก่ผู้หนีภัยในประทศที่สาม [การทูต] | High Commiissioner | ข้าหลวงใหญ่ หรือผู้แทนทางการทูตของแต่ละประเทศที่เป็นสมาชิกสังกัดเครือจักรภพอังกฤษ (The Commonwealth of Nations) และประจำอยู่ ณ ประเทศของสมาคมนี้ด้วยกัน แท้ที่จริงแล้วตำแหน่งนี้ก็เท่ากับตำแหน่งเอกอัคร ราชทูตในกรณีของประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกสังกัดในเครือจักรภพนั่นเอง เช่น ในกรณีที่ผู้แทนทางการทูตของประเทศแคนาดาไปประจำ ณ ประเทศออสเตรเลีย ซึ่งทั้งสองเป็นประเทศในเครือจักรภพด้วยกัน เขาจะเรียกผู้แทนทางการทูตของแคนาดานั้นว่า High Commissioner ไม่ใช้คำว่า Ambassador แต่ถ้าผู้แทนทางการทูตของแคนาดาไปประจำประเทศนอกเครือจักรภพ เช่น ประเทศไทย ก็จะเรียกผู้แทนทางการทูตของแคนาดานั้นว่า เอกอัครราชทูต (Ambassador) [การทูต] | High Commissioner | 1. เอกอัครราชทูตของประเทศในเครือจักรภพที่ประจำในสหราชอาณาจักรหรือประเทศใน เครือจักรภพด้วยกัน 2. ข้าหลวงใหญ่ ข้าหลวงใหญ่ : ใช้เรียกหัวหน้าสำนักงานบางแห่งในกรอบสหประชาชาติ เช่น United Nations High Commissioner of Refugee (UNHCR) หมายถึง ข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต] | persons of concern | บุคคลในความห่วงใย หมายถึง ผู้หนีภัยจากการประหัตประหารที่มิได้มีสถานะเป็นผู้ลี้ภัย หรือผู้พลัดถิ่น แต่สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) จะดูแลช่วยเหลือโดยมีสถานะพิเศษตามที่ได้ตกลงกับประเทศผู้รับ [การทูต] | Office of the United Nations High Commissioner for Refugees | สำนักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ [การทูต] |
| ข้าหลวง | [khālūang] (n) EN: governor FR: gouverneur [ m ] | ข้าหลวงน้อย | [khālūang nøi] (n, exp) EN: personal attendant of princes or nobles | ข้าหลวงใหญ่ | [khālūang yai] (n, exp) EN: governor-general ; High Commissioner |
| governor | (n) ผู้ว่าการรัฐ, See also: ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้ควบคุม, เจ้าเมือง, Syn. director, officer, ruler | high commissioner | (n) ข้าหลวงใหญ่, See also: เอกอัคราชทูต, Syn. ambassador, envoy, legate | intendant | (n) ผู้ควบคุมดูแล, See also: ผู้ตรวจการณ์, ผู้อำนวยการ, ข้าหลวง | satrap | (n) ข้าหลวง, See also: ผู้ปกครองชั้นรอง, ขุนนาง | vice-governor | (n) รองผู้ว่าราชการจังหวัด, See also: รองข้าหลวง, รองผู้ว่าการ |
| alderman | (ออล' เดอเมิน) n., (pl. -men) เทศมนตรี, สมาชิกสภาเทศบาล, ข้าหลวงใหญ่. | assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า | governor | (กัฟ'เวิร์นเนอะ) n. ข้าหลวง, ผู้ว่าราชการ, ผู้ปกครอง, Syn. supervisor, director | governorship | n. ตำแหน่งข้าหลวง, อำนาจและหน้าที่ของข้าหลวง | gubernatorial | (กูเบอนะทอ'เรียล) adj. เกี่ยวกับ (ที่ทำการ) ข้าหลวงหรือผู้ว่าการรัฐ | hakim | (ฮา'คิม) n. คนที่ฉลาด, นักปราชญ์, บัณฑิต, แพทย์, ผู้ปกครอง, ข้าหลวง, ผู้พิพากษา | intendancy | (อินเทน'เดินซี) n. สำนักงานผู้อำนวยการ, สำนักงานข้าหลวง, สำนักงานสมุหเทศาภิบาล | intendant | (อิน-เทน'เดินทฺ) n. ผู้ควบคุม, ผู้ดูแล, ผู้ตรวจการณ์, ผู้อำนวยการ, ข้าหลวง, สมุหเทศาภิบาล | proconsul | (โพรคอน'เซิล) n. ข้าหลวงหรือผู้บัญชาการทหารของมณฑลหรือจังหวัด, ผู้ปกครองอาณาเขตที่ถูกยึดครอง., See also: proconsular adj. | propraetor | (โพรพรี'เทอะ) n. ข้าหลวง, ผู้ว่าการจังหวัด., Syn. propretor | regent | (รี'เจินทฺ) n. ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน, อุปราช, ผู้ว่าการ, สมาชิกสภามหาวิทยาลัย, ข้าหลวง adj. เกี่ยวกับผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน, ปกครอง, See also: regental adj. regentship n. | vice-governor | (ไวสฺกัฟ'เวิร์นเนอะ) n. รองผู้ว่าราชการจังหวัด, รองข้าหลวง, รองผู้ว่าการ |
| commissioner | (n) ข้าหลวง, เจ้าหน้าที่, อธิบดี, ผู้ตรวจการ, กรรมาธิการ, กรรมการ | governor | (n) ผู้ปกครอง, เจ้าเมือง, ข้าหลวง, ผู้ว่าราชการจังหวัด | intendant | (n) ผู้จัดการ, เจ้าหน้าที่, ข้าหลวง, ผู้ตรวจการ, ผู้ดูแล | regent | (n) อุปราช, ผู้สำเร็จราชการ, ข้าหลวง |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |