ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ตุล, -ตุล- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ตุล | (n) Libra, See also: seventh sign of the zodiac represented by a pair of scales, Syn. ราศีตุล, ราศีตุลย์, Example: ชาวราศีธนูกับชาวราศีกุมภ์ หรือราศีตุลย์นั้นก็ดี ต่างเป็นเพื่อนที่ดีต่างเป็นผู้นำโชคลาภมาสู่ครอบครัว, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศีหนึ่งในจักรราศี | ตุล | (n) balance, See also: pair of scales, steelyard, ancient measure or weight, Syn. ตราชั่ง, ตราชู, คันชั่ง, ตุลย์, Count Unit: คัน | ตุลาคม | (n) October, Syn. เดือนตุลาคม, Example: เดือนตุลาคมมักจะมีพายุพัดแรงเสมอ, Thai Definition: ชื่อเดือนที่ 10 ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มต้นด้วยเดือนมกราคม มี 31 วัน | ตุลาการ | (n) judge, See also: justice, Thai Definition: ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี | ราศีตุล | (n) Libra, Syn. ราศีดุล, Example: สีชมพูเป็นสีแห่งโชคลาภของผู้ที่เกิดราศีตุล, Thai Definition: ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เป็นราศี 1 ในจักรราศี, Notes: (บาลี/สันสกฤต) | อำนาจตุลาการ | (n) judicial power, Example: พระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจตุลาการผ่านทางศาล, Notes: (กฎหมาย) | อนุญาโตตุลาการ | (n) arbitrator, See also: umpire, Example: เธอจะเสนอเรื่องให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาด, Thai Definition: บุคคลคนเดียวหรือหลายคนที่คู่กรณีในสัญญาอนุญาโตตุลาการตกลงเสนอข้อพิพาททางแพ่งที่เกิดขึ้นแล้วหรือจะเกิดขึ้นในอนาคตให้ชี้ขาด, Notes: (กฎหมาย) | อนุญาโตตุลาการ | (n) arbitrator, Example: เขาเป็นอนุญาโตตุลาการคนหนึ่งของข้อพิพาทนี้, Thai Definition: บุคคลที่คู่กรณีตกลงกันตั้งขึ้นเพื่อให้เป็นคนกลางชี้ขาดในข้อพิพาท | สำนักงานส่งเสริมงานตุลาการ | (n) Office of the Judicial Affairs |
|
| จตุลังคบาท | (-ลังคะบาด) น. พลประจำ ๔ เท้าช้าง, สำหรับช้างทรงของพระมหากษัตริย์หรือพระมหาอุปราชในเวลาสงคราม มีเจ้ากรมพระตำรวจหลวงหรือข้าราชการ เช่น พระมหามนตรี พระมหาเทพ หลวงอินทรเทพ หลวงพิเรนทรเทพ ประจำ ๔ เท้าช้าง เช่น จตุลังคบาทสี่ตน ล้วนขุนพลสามรรถ (ตะเลงพ่าย), จัตุลังคบาท หรือ แวงจตุลังคบาท ก็ว่า. | จัตุลังคบาท | (จัดตุลังคะบาด) น. จตุลังคบาท เช่น จัตุลังคบาทบริรักษ พิทักษ์เท้ากุญชร (ตะเลงพ่าย). | ตุล | น. คันชั่ง, ตราชู | ตุล | ชื่อกลุ่มดาวรูปคันชั่ง เรียกว่า ราศีตุล เป็นราศีที่ ๖ ในจักรราศี, ราศีดุล ก็ว่า. | ตุลา | น. คันชั่ง, ตราชู | ตุลา | ชื่อมาตราวัดนํ้าหนักมคธเท่ากับ ๑๐๐ ปละ. | ตุลาการ | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. | ตุลาคม | น. ชื่อเดือนที่ ๑๐ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนมกราคม มี ๓๑ วัน | ตุลาคม | เดือนที่ ๗ ตามสุริยคติ ซึ่งเริ่มด้วยเดือนเมษายน. | ตุลสิ | (ตุน-) น. ต้นกะเพรา. | บิตุละ, บิตุลา | น. อา (ผู้ชาย), ลุง (ญาติฝ่ายพ่อ). | บิตุลานี | น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). | ปิตุละ, ปิตุลา | น. ลุง, อา, (พี่น้องผู้ชายฝ่ายพ่อ), ราชาศัพท์ว่า พระปิตุลา. | มาตุละ | น. มาตุลา. | มาตุลา | น. ลุง (ญาติฝ่ายแม่), น้าชาย. | มาตุลานี | น. ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้. | มาตุลุงค์ | น. มะงั่ว. | แวงจตุลังคบาท | น. จตุลังคบาท. | อนุญาโตตุลาการ | น. บุคคลที่คู่กรณีพร้อมใจกันตั้งขึ้นเพื่อให้ชำระตัดสินในข้อพิพาท. | อะมีรุ้ลฮัจย์, รออิสบิซาตุลฮัจย์ อัลรัสมียะห์ | น. บุคคลผู้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนฮัจย์ทางการของประเทศไทยนำชาวไทยผู้นับถือศาสนาอิสลามเดินทางไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย. | กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. | กรน | (กฺรน) ก. หายใจมีเสียงดังในลำคอขณะหลับ เหตุลิ้นตกจุกคอหอยหรือลิ้นตกจุกคอหอยและลิ้นไก่กับเพดานอ่อนสั่น. | -การ ๒ | น. ผู้ทำ, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาสคำบาลีและสันสกฤต เช่น กรรมการ ตุลาการ, ถ้าอยู่หลังคำอื่นที่ไม่ใช่คำศัพท์ มีความหมายเป็นเฉพาะก็มี เช่น กงการ เจ้าการ นักการ ผู้บังคับการ ผู้กำกับการ. | กำมะถัน | ธาตุลำดับที่ ๑๖ สัญลักษณ์ S เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีอัญรูปหลายแบบ ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ในอุตสาหกรรมทำกรดซัลฟิวริก อุตสาหกรรมยาง ทำหัวไม้ขีดไฟ ดินปืน ดอกไม้เพลิง และยารักษาโรค, ยาประเภทซัลฟาและประเภทเพนิซิลลินก็มีธาตุกำมะถันเป็นองค์ประกอบด้วย. | แกโดลิเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๔ สัญลักษณ์ Gd เป็นโลหะที่หายากมาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๓๑๒ °ซ. | แกลเลียม | (แกน-) น. ธาตุลำดับที่ ๓๑ สัญลักษณ์ Ga เป็นโลหะสีขาวคล้ายเงิน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๙.๗๘ °ซ. เดือดที่ ๒๑๐๐ °ซ. ใช้ทำเทอร์โมมิเตอร์ชนิดใช้วัดอุณหภูมิสูง ๆ สารประกอบแกลเลียมอาร์เซไนด์ใช้ประโยชน์เป็นวัตถุกึ่งตัวนำ. | ข้าราชการ | บุคคลซึ่งรับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณในกระทรวง ทบวง กรม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการการเมือง ข้าราชการครู ข้าราชการทหาร ข้าราชการตุลาการ ข้าราชการอัยการ. | ข้าวกลาง | น. กลุ่มพันธุ์ข้าวที่ออกรวงหลังข้าวเบา คือในช่วงกลางเดือนตุลาคมถึงปลายเดือนตุลาคม และเก็บเกี่ยวได้ในช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนถึงปลายเดือนพฤศจิกายน เช่น พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ ๑๐๕ พันธุ์ข้าว กข ๖. | ข้าวเบา | น. กลุ่มพันธุ์ข้าวที่ได้ผลเร็วกว่ากลุ่มพันธุ์ข้าวอื่น ออกรวงในช่วงปลายเดือนกันยายนถึงกลางเดือนตุลาคม และเก็บเกี่ยวได้ในช่วงต้นเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายน เช่น พันธุ์ข้าวเหนียวหางยี ๗๑ พันธุ์ข้าวน้ำสะกุย ๑๙, พายัพและอีสานว่า ข้าวดอ. | คริปทอน | น. ธาตุลำดับที่ ๓๖ สัญลักษณ์ Kr เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๑ ใน ๖๗๐, ๐๐๐ ส่วนในบรรยากาศ. | คลอรีน | (คฺลอ-) น. ธาตุลำดับที่ ๑๗ สัญลักษณ์ Cl เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นแก๊สสีเขียวแกมเหลือง มีกลิ่นฉุนชวนสำลัก เป็นแก๊สพิษ ใช้ประโยชน์ในการฆ่าเชื้อโรคในนํ้าในอุตสาหกรรมผลิตกรดเกลือในการผลิตผงฟอกจาง ยาฆ่าแมลงหลายชนิด เช่น ดีดีที มีคลอรีนเป็นองค์ประกอบสำคัญ. | คาร์บอน | น. ธาตุลำดับที่ ๖ สัญลักษณ์ C เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง มีหลายอัญรูป เช่น เพชร แกรไฟต์ คาร์บอนเป็นธาตุองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดธาตุหนึ่งของสิ่งที่มีชีวิต. | คูเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๖ สัญลักษณ์ Cm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | แคดเมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๘ สัญลักษณ์ Cd เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๓๒๑ °ซ. เป็นตัวดูดกลืนอนุภาคนิวตรอนได้ดี จึงทำเป็นแท่ง เรียกว่า แท่งควบคุมในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์. | แคลเซียม | (แคน-) น. ธาตุลำดับที่ ๒๐ สัญลักษณ์ Ca เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๘๓๘ °ซ. เป็นองค์ประกอบสำคัญของกระดูก ฟัน หินอ่อน หินปูน. | แคลิฟอร์เนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๘ สัญลักษณ์ Cf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. | โคบอลต์ | น. ธาตุลำดับที่ ๒๗ สัญลักษณ์ Co เป็นโลหะแข็งสีเงิน หลอมละลายที่ ๑๔๙๕ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือเพื่อให้มีสมบัติพิเศษบางประการ เช่น ผสมกับเหล็กทำให้มีความแข็งแกร่งยิ่งขึ้น และเมื่อนำไปทำเป็นแม่เหล็กก็จะได้แม่เหล็กที่มีกำลังมากเป็นพิเศษ ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้วและเครื่องดินเผาใช้สารประกอบของโคบอลต์เป็นตัวให้สีนํ้าเงิน. | โครเมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๒๔ สัญลักษณ์ Cr เป็นโลหะแข็งสีเงิน หลอมละลายที่ ๑๘๗๕ °ซ. ใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม อุตสาหกรรมผลิตเหล็กกล้าที่มีความแข็งแรงเป็นพิเศษเพื่อใช้ทำเครื่องมือช่าง และในอุตสาหกรรมชุบโลหะด้วยโครเมียม. | เงิน | น. ธาตุลำดับที่ ๔๗ สัญลักษณ์ Ag เป็นโลหะสีขาวเนื้อค่อนข้างอ่อน หลอมละลายที่ ๙๖๐.๘ ° ซ. (อ. silver) | จักรราศี | น. อาณาเขตที่ดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์, อาณาเขตโดยรอบดวงอาทิตย์ที่ดาวเคราะห์เดิน, วิถีโคจรประจำของดวงอาทิตย์ซึ่งดูเสมือนวนไปรอบท้องฟ้าได้ ๓๖๐ องศาใน ๑ ปี วงโคจรนี้แบ่งออกเป็น ๑๒ ส่วน หรือ ๑๒ ราศี แต่ละส่วนหรือแต่ละราศีมีช่วง ๓๐ องศา ได้แก่ ราศีเมษ ราศีพฤษภ ราศีเมถุน ราศีกรกฎ ราศีสิงห์ ราศีกันย์ ราศีตุลหรือราศีดุล ราศีพฤศจิกหรือราศีพิจิก ราศีธนู ราศีมังกร ราศีกุมภ์ และราศีมีน, วงโคจรของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ที่สมมุติขึ้นทางโหราศาสตร์ ประกอบด้วย ๑๒ ราศี. | เจอร์เมเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๓๒ สัญลักษณ์ Ge เป็นโลหะสีขาว เปราะ หลอมละลายที่ ๙๓๗.๔ ºซ. มีสมบัติเป็นกึ่งตัวนำ สารประกอบแมกนีเซียมเจอร์เมเนต ใช้ประโยชน์ในหลอดวาวแสง (fluorescent lamp). | ซาแมเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๒ สัญลักษณ์ Sm เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๗๒ ºซ. | ซิลิคอน | น. ธาตุลำดับที่ ๑๔ สัญลักษณ์ Si เป็นอโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๔๑๐ ºซ. เปลือกโลกประกอบด้วยธาตุนี้ประมาณร้อยละ ๒๕. | ซีเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๕๕ สัญลักษณ์ Cs เป็นโลหะสีเงิน ไวต่อปฏิกิริยาเคมีมาก หลอมละลายที่ ๒๘.๗ ºซ. | ซีนอน | น. ธาตุลำดับที่ ๕๔ สัญลักษณ์ Xe เป็นแก๊สเฉื่อย มีปรากฏเพียง ๐.๐๐๖ ใน ๑ ล้านส่วนในบรรยากาศ. | ซีเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๕๘ สัญลักษณ์ Ce เป็นโลหะสีเทา เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๘๐๔ ºซ. | ซีลีเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๓๔ สัญลักษณ์ Se เป็นอโลหะ มีสมบัติทางเคมีคล้ายกับธาตุกำมะถัน ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๑๗ ºซ. ใช้ประโยชน์ทำเซลล์ไฟฟ้าชนิดที่ใช้พลังงานแสง. | เซอร์โคเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๐ สัญลักษณ์ Zr เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๘๕๒ ºซ. | โซเดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๑ สัญลักษณ์ Na เป็นโลหะสีขาวคล้ายโลหะเงิน เนื้ออ่อน หลอมละลายที่ ๙๗.๘ ºซ. สารประกอบสำคัญของธาตุนี้ที่พบมาก คือ เกลือแกง. | ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. |
| power, judicial | อำนาจตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | psychosis, ictal | โรคจิตเหตุลมชัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | Lord Chancellor; Lord High Chancellor | ประธานฝ่ายตุลาการอังกฤษ (เป็นประธานสภาขุนนางด้วย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitrator | อนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | award | คำวินิจฉัยของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | award | ๑. คำตัดสินชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ๒. รางวัลเกียรติคุณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitrament | คำวินิจฉัยชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitration | การใช้อนุญาโตตุลาการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitration clause | ข้อกำหนดการใช้อนุญาโตตุลาการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] | arbitration, compulsory | การอนุญาโตตุลาการโดยบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | arbitrator | อนุญาโตตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Judicial Service Commission | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Judicial Service Commission | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judiciary | ฝ่ายตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judiciary | ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | justice in eyre | ตุลาการจร [ ดู itinerant justices ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial authority | เจ้าหน้าที่ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicature | องค์การฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial | เกี่ยวกับฝ่ายตุลาการ, เกี่ยวกับการศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial function | ตำแหน่งฝ่ายตุลาการ, อำนาจหน้าที่ฝ่ายตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judicial immunity | ความคุ้มกันทางตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | judicial power | อำนาจตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | judicial power | อำนาจตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | quasi-judicial | กึ่งตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | quasi-judicial | กึ่งตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | quasi-arbitrator | คล้ายอนุญาโตตุลาการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Military Judicial Commission | คณะกรรมการตุลาการทหาร (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | march fracture; fracture, fatigue | กระดูกหักเหตุล้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | compulsory arbitration | การอนุญาโตตุลาการโดยบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional tribunal | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional tribunal | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Commission, Judicial Service | คณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) (ไทย) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | fracture, fatigue; fracture, march | กระดูกหักเหตุล้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | fatigue fracture; fracture, march | กระดูกหักเหตุล้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | fracture, march; fracture, fatigue | กระดูกหักเหตุล้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | itinerant justices | ตุลาการจร [ ดู justice in eyre ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | immunity, judicial | ความคุ้มกันทางตุลาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | ictal psychosis | โรคจิตเหตุลมชัก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | tribunal, constitutional | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | tribunal, constitutional | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | windburn | อาการผิวแตกเหตุลม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุที่เบาที่สุดและเป็นธาตุลำดับที่ 1 ในตารางพีริออดิก ประกอบด้วยไอโซโทป 3 ชนิด โดย 2 ชนิด พบในธรรมชาติ ได้แก่ ไฮโดรเจนหรือไฮโดรเจนมวลเบาซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 1 และดิวเทอเรียมหรือไฮโดรเจนมวลหนักซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 2 ส่วนชนิดที่ 3 ได้แก่ ทริเทียม มีเลขมวลเท่ากับ 3 เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น [นิวเคลียร์] | Arbitration | อนุญาโตตุลาการ, Example: การระงับข้อพิพาททางเลือก (alternative dispute resolution) วิธีหนึ่ง โดยการที่คู่กรณีตกลงเสนอข้อพิพาทให้บุคคลหรือคณะบุคคลที่เรียกว่า “อนุญาโตตุลาการ” ทำหน้าที่พิจารณาชี้ขาดข้อพิพาทนั้น และคู่กรณีตกลงที่จะเห็นด้วยตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ ทั้งนี้ สำนักงานได้จัดให้มีกระบวนการระงับข้อพิพาทโดยอนุญาโตตุลาการตามนโยบายของคณะกรรมการ ก.ล.ต. ที่เห็นสมควรให้มีมาตรการคุ้มครองสิทธิของผู้ลงทุนซึ่งเป็นลูกค้าของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า เนื่องจากมีผู้ลงทุนได้รับความเสียหายจากการที่ผู้ประกอบการดังกล่าวไม่ปฏิบัติตามสัญญา หรือไม่ปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายว่าด้วยสัญญาซื้อขายล่วงหน้า หรือกฎหมายว่าด้วยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งการที่ผู้ลงทุนจะได้รับการชดเชยความเสียหายดังกล่าวอาจมีภาระค่าใช้จ่ายที่สูงมากจนไม่คุ้มกับความเสียหายที่ได้รับ หรืออาจต้องใช้ระยะเวลานานในการดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทั่วไป จึงได้เพิ่มช่องทางให้ผู้ลงทุนมีทางเลือกในการเรียกร้องค่าเสียหายจากผู้ประกอบการผ่านวิธีอนุญาโตตุลาการ ซึ่งเป็นวิธีการระงับข้อพิพาทที่สะดวก รวดเร็ว เป็นธรรม และประหยัดค่าใช้จ่าย โดยกำหนดกระบวนการระงับข้อพิพาทเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรก คือ กระบวนการรับข้อร้องเรียนภายในของผู้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์หรือที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักทรัพย์ หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า โดยเมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นระหว่างผู้ลงทุนกับผู้ประกอบการดังกล่าว ผู้ลงทุนต้องดำเนินการร้องเรียนตามกระบวนการรับข้อร้องเรียนภายในของผู้ประกอบการก่อน ขั้นตอนที่สอง คือ กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการของสำนักงาน โดยในกรณีที่ไม่สามารถระงับข้อพิพาทได้ในขั้นตอนแรก เช่น ลูกค้าและผู้ประกอบการไม่สามารถตกลงกันได้ หรือผู้ประกอบการไม่ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียนภายในระยะเวลาที่กำหนด เป็นต้น คู่กรณีสามารถเข้าสู่กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการ โดยผ่านการตกลงด้วยความสมัครใจของทั้งสองฝ่ายหากเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับธุรกิจหลักทรัพย์หรือกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือเข้ามาโดยผลของกฎหมายผ่านการแสดงความประสงค์เป็นหนังสือของลูกค้าไปยังผู้ประกอบการหากเป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ทั้งนี้ ไม่ว่าในกรณีใด ผู้ร้องสามารถเลือกที่จะให้สำนักงานเป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทก่อนเริ่มกระบวนการอนุญาโตตุลาการได้ หากคู่กรณียังไม่สามารถตกลงกันได้จึงจะเข้าสู่กระบวนการระงับข้อพิพาทโดยวิธีอนุญาโตตุลาการต่อไป [ตลาดทุน] | Arbitration agreements, Commercial | อนุญาโตตุลาการการค้า [TU Subject Heading] | Arbitration and award | อนุญาโตตุลาการและการตัดสิน [TU Subject Heading] | Arbitration and award, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศและการตัดสิน [TU Subject Heading] | Arbitration, International | อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] | Arbitrators | อนุญาโตตุลาการ [TU Subject Heading] | Compensation for judicial error | ค่าสินไหมทดแทนสำหรับความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] | Convention on the Recognition and Enforcement of Foreign Arbitral Award (1958) | อนุสัญญาว่าด้วยการยอมรับและใช้บังคับตามคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการต่างประเทศ (ค.ศ. 1958) [TU Subject Heading] | Judicial error | ความผิดพลาดทางตุลาการ [TU Subject Heading] | Judicial ethics | จรรยาบรรณของตุลาการ [TU Subject Heading] | Judicial independence | ความเป็นอิสระแห่งอำนาจตุลาการ [TU Subject Heading] | Judicial power | อำนาจตุลาการ [TU Subject Heading] | Asian Development Bank | ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2509 มีสมาชิกทั้งหมด 59 ประเทศ (สถานะเมื่อ เดือนตุลาคม 2543) แบ่งเป็นประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก 43 ประเทศ (รวมทั้งไทย) และประเทศที่อยู่นอกภูมิภาคอีก 16 ประเทศ สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ [การทูต] | ASEAN Economic Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีพาณิชย์หรือรัฐมนตรีด้านการ ค้าต่างประ- เทศ ปกติจัดขึ้นปีละครั้งประมาณเดือนกันยายน/ตุลาคมของทุกปี เพื่อหารือ ทบทวนและพิจารณากำหนดแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน [การทูต] | award | คำตัดสินอนุญาโตตุลาการ (ใช้ในแง่การระงับกรณีพิพาท) [การทูต] | arbitration | การอนุญาโตตุลาการ [การทูต] | ASEAN Community | ประชาคมอาเซียน ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 เมื่อเดือนตุลาคม 2547 เกาะบาหลี ได้ลงนามในปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนในสามด้านหลักภายในปี พ.ศ. 2563 ได้แก่ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน [การทูต] | ASEAN Chambers of Commerce and Industry | สภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างหอการค้าและอุตสาหกรรมของประเทศสมาชิกอาเซียน มีการประชุมประจำปี ๆ ละ 1-2 ครั้ง ในช่วงประมาณเดือนเมษายนและตุลาคมของทุกปี โดยหารือเรื่องความร่วมมือทางธุรกิจระหว่างภาคเอกชนในอาเซียนและความร่วมมือ กับภาคเอกชนนอกภูมิภาค [การทูต] | Declaration of ASEAN Concord II | ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่ 2 ผู้นำประเทศสมาชิก อาเซียนได้ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่เกาะบาหลี เมื่อเดือนตุลาคม 2547 กำหนดที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน พ.ศ. 2563 [การทูต] | Convention on Elimination of All Forms of Discrimination Against Women | อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ ได้รับการรับรองจากที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2522 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 3 กันยายน 2527 มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบและเพื่อความ เสมอภาคระหว่างสตรีและบุรุษในทุกด้าน ขณะนี้มีประเทศต่าง ๆ เป็นภาคีอนุสัญญาฯ แล้ว 167 ประเทศ (ข้อมูลถึงกรกฎาคม 2543) ไทยยังคงมีข้อสงวนอีก 2 ข้อ ในอนุสัญญาฯ คือ ข้อ 16 เรื่องความเสมอภาคในด้านครอบครัวและการสมรส และ ข้อ 29 เรื่องการระงับการตีความ การระงับข้อพิพาท โดยรับอนุญาโตตุลาการ [การทูต] | Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Food and Agriculture Organization | องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ " เป็นทบวงการชำนัญพิเศษขององค์การสหประชาชาติ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2488 มีหน้าที่บรรเทาความอดอยากและหิวโหยของ ประชากรโลกด้วยการส่งเสริม และพัฒนาเกษตรกรรม การปรับปรุงโภชนาการ และแสวงหาความมั่นคงทางด้านอาหาร ปัจจุบันมีสมาชิก 171 ประเทศ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี " [การทูต] | International Covenant on Civil and Political Rights | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง เป็นสนธิสัญญาระหว่างประเทศภายใต้กรอบสหประชาชาติหลักด้านสิทธิมนุษยชน 1 ใน 2 ฉบับ ซึ่งแปรข้อบทในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนให้มีพันธะผูกพันทางกฎหมายแก่ ประเทศภาคี สหประชาชาติรับรองเมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2509 มีผลใช้บังคับเมื่อปี พ.ศ. 2519 ไทยเข้าเป็นภาคีโดยการภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539 และมีผลบังคับใช้กับไทยเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2540 [การทูต] | International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | Inter-Parliamentary Union | สหภาพรัฐสภา ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2432 มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่ นครเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ มีสมาชิกจำนวน 140 ประเทศ (ตุลาคม 2547) [การทูต] | Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] | Non-Aligned Movement | กลุ่มประเทศไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2504 มีสมาชิกจำนวน 114 ประเทศ (ตุลาคม 2547) ไทยเป็นสมาชิกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2536 [การทูต] | Nuclear Test Ban | หมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น [การทูต] | Organization of Islamic Conference | องค์การการประชุมอิสลาม " เป็นองค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศอิสลาม ก่อตั้งขึ้น เมื่อเดือนพฤษภาคม 2514 ปัจจุบันมีสมาชิก 56 ประเทศ ไทยเข้าเป็นผู้สังเกตการณ์เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2541 " [การทูต] | Pacific Settlement of International Disputes | หมายถึง การระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี คงจะจำกันได้ว่า ในตอนเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศในโลกฝ่ายเสรีซึ่งเป็นผู้ชนะ ต่างมีเจตนาอันแน่วแน่ที่จะหาทางมิให้เกิดสงครามขึ้นอีกในโลก จึงตกลงร่วมกันก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ (Charter of the United Nations)ดังนั้น ข้อ 2 ของกฎบัตรสหประชาชาติจึงได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกมีพันธกรณีที่จะต้องหาทางระ งังกรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี และข้อ 33 ของกฎบัตรก็ได้บัญญัติไว้ว่า ?1. ผู้เป็นคู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งในกรณีพิพาทใด ๆ ซึ่งหากดำเนินอยู่ต่อไป น่าจะเป็นอันตรายแก่การธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ก่อนอื่นจักต้องแสวงหาการแก้ไขโดยการเจรจา ไต่สวน ไกล่เกลี่ย ประนีประนอม อนุญาโตตุลาการ การระงับโดยทางศาล การหันเข้าอาศัยทบวงการตัวแทน การตกลงส่วนภูมิภาค หรือสันติวิธีประการอื่นใดที่คู่กรณีจะพึงเลือก 2. เมื่อเห็นว่าจำเป็น คณะมนตรีความมั่นคงจักเรียกร้องให้คู่พิพาทระงับกรณีพิพาทของตนโดยวิธีเช่น ว่านั้น? [การทูต] | The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] | Tokyo International Conference on African Development | การประชุมระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนาแอฟริกา ณ กรุงโตเกียว " เป็นการริเริ่มของรัฐบาลญี่ปุ่น ร่วมกับองค์การสหประชาชาติและ องค์การ Global Coalition for Africa เพื่อสนับสนุนการพัฒนาใน ภูมิภาคแอฟริกา ในรูปของความร่วมมือระหว่างภูมิภาคเอเชียกับ แอฟริกาอย่างเป็นรูปธรรมและมีเอกภาพ โดยเป็นการประชุมในระดับรัฐมนตรี และมีการประชุมแล้ว 2 ครั้ง โดยครั้งแรก (TICAD I) มีขึ้นระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม 2536 โดยมีการรับรองเอกสารปฏิญญา กรุงโตเกียว (Tokyo Declaration) ซึ่งเป็นสัญญาประชาคมที่ประเทศต่าง ๆ จะให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาแก่แอฟริกา และครั้งที่ 2 (TICAD II) มีขึ้นระหว่างวันที่ 19-21 ตุลาคม 2541 โดยมีการรับรองแผนปฏิบัติการกรุงโตเกียว (Tokyo Agenda for Action) ซึ่งเป็น แนวทางในการพัฒนาแอฟริกาในด้านต่าง ๆ ทั้งสังคมและเศรษฐกิจ " [การทูต] | United Nations Transitional Administration in East Timor | องค์กรบริหารชั่วคราวของสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก " จัดตั้งขึ้นตามมติสหประชาชาติที่ 1272 (1999) เมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2542 พลโทบุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ นายทหารไทย ได้รับเลือกให้เป็นผู้บัญชาการกองกำลังรักษาสันติภาพของ UNTAET ในติมอร์ตะวันออก เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2543 " [การทูต] | Botulism | โบตุลิสม, อาหารเป็นพิษ, โรคโบทูลิซั่ม, โรคโบทูลิสซึม, ภาวะอาหารเป็นพิษ, เชื้อโบทูลิซั่ม, พิษอาหารกระป๋อง, โรคโบทูลิสม์, เชื้อโบตูลิซึม [การแพทย์] | Clostridium Botulinum | คลอสตริเดียมโบตุลินัม;คลอสตริเดียมโบตูลินัม, เชื้อ;คลอสตริเดียมบอทูลินุม;คลอสตริเดียมโบตูลินัม [การแพทย์] | Dermal Sinus | ฟิสตุลาของผิวหนัง [การแพทย์] | statistical table | ตารางสถิติ, ตารางที่แสดงข้อมูลสถิติ องค์ประกอบของตารางสถิติมีดังนี้ หมายเลขตาราง (table number) ชื่อเรื่อง (title) หมายเหตุคำนำ (prefactory note) หัวขั้วstub head หัวสดมภ์column head ตัวขั้ว(stub entries) ตัวเรื่อง(body) หมายเหตุล่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | footnote | หมายเหตุล่าง, คำอธิบายข้อความหรือตัวเลขในตารางสถิติให้ชัดเจนขึ้น (ดู statistical table) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| Now when convention and science offer us no answers, might we not finally turn to the fantastic as a plausibility? | ที่ตาย จากเหตุลึกลับแบบนี้ ตอนนี้ เมื่อเรารวมข้อมูลที่มี และ วิทยาศาสตร์ ก็ไม่สามารถให้คำตอบได้ Deep Throat (1993) | Is today the 20th? October 20th? | วันนี้ 20 เหรอ 20 ตุลาคม The One with George Stephanopoulos (1994) | What could be the reason for that? | - แล้วอะไรเป็นสาเหตุล่ะ Rebecca (1940) | October the 12th, last year. | วันที่ 12 ตุลาคม ของปีที่แล้ว Rebecca (1940) | - Did you say the 12th of October? | - คุณบอกว่าวันที่ 12 ตุลาคม ใช่มั้ยครับ Rebecca (1940) | You had to. - (cash till rings) | ใช่ฉันจะมีหนึ่งในตุลาการ How I Won the War (1967) | I rallied to the flag in October 1939 and was immediately selected as officer potential. | ฉันทำใจให้ธงในตุลาคม 1939 และได้รับเลือกทันที เป็นเจ้าหน้าที่ที่มีศักยภาพ How I Won the War (1967) | Out town was liberated on October 15, 1944. | เมืองที่ได้รับการปลดปล่อยเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2487 Idemo dalje (1982) | Ignore him, honey. He's a Libra. | ช่างเถอะ เขาราศีตุลย์ Jumanji (1995) | In October we move to Palermo, where I'll go to university. | ในเดือนตุลา เราจะย้ายไปที่ พาเลอร์โม่, ที่ๆ ฉันจะไปเรียนมหาวิทยาลัยที่นั่น. Cinema Paradiso (1988) | October 21, 1975. | วันที่ 2 1 ตุลา 1 975 Good Will Hunting (1997) | October 15, 1939. | 15 ตุลาคม 1939 Seven Years in Tibet (1997) | There will be a trial, a great trial... before a powerful magistrate. | จะมีการไต่สวนคดีความ การไต่สวนครั้งใหญ่ ต่อหน้าตุลาการที่ทรงอำนาจ และคุณ คุณจะมีความผิด The Red Violin (1998) | Justice. | ไพ่ตุลาการ The Red Violin (1998) | And it is 1 0:00 in the morning on October 24th, if you want to know. | และนี่เป็นเวลาสิบโมงเช้า ของวันที่24ตุลาคม ถ้าเจ้าอยากจะรู้น่ะ The Lord of the Rings: The Fellowship of the Ring (2001) | Look here. "Jews living outside of the prescribed area will have to move to the Jewish district by 31 of October, 1940." | ดูนี่น่ะ "ชาวยิวที่อยู่นอกเขตดังกล่าว จะต้องย้ายเข้ามาอยู่ในเขตยิว ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 1940 The Pianist (2002) | "RUI Performs Live in Utase, October 5, 2003" | "การแสดงสดของรูอิที่อุตาเสะ , วันที่ 5 ตุลาคม 2546" Yomigaeri (2002) | October 10th, 6:50pm. | 10 ตุลาคม อีก 10 นาที 1ทุ่ม 21 Grams (2003) | It was transplanted into me at St. Francis Hospital on October 1 1th. | ผมได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจที่โรงพยาบาลเซ็นท์ฟรานซิสวันที่11ตุลาคม 21 Grams (2003) | - What you reading there? I'm just studying. You know, I thought I'd come outside. | ผมกำลังเรียนอยู่ คือผมมาจากนอกเมือง พวกเรามาจากไอดาโฮ ที่นั่นเดือนตุลาหนาวมากๆ Latter Days (2003) | But here on October 9th 1941 a letter is being written directly to Thomas J. Watson with all sorts of detail of the activity of the German subsidiary none of these machines were sold they were all leased by IBM. | แต่ในวันที่ 9 ตุลาคม 1941 มีจดหมายฉบับหนึ่งเขียนโดยตรงถึง โธมัส เจ วัตสัน ระบุบอกรายละเอียดทุกอย่าง The Corporation (2003) | She says that every day, because each morning she wakes up thinking it's October 13th of last year. | เธอก็พูดอย่างงั้นทุกวันแหละ เพราะว่าทุก ๆ เช้า เธอตื่นขึ้นมาจะนึกว่าเป็นวันที่ 13 ตุลาคมของปีที่แล้ว 50 First Dates (2004) | She comes for breakfast because that's what she did on Sundays and October 13th was a Sunday. | เธอจะมากินข้าวเช้าที่นี่เพราะนั่นเป็นสิ่งที่เธอทำทุกวันอาทิตย์ และวันที่ 13 ตุลาคมก็คือวันอาทิตย์นั่นเอง 50 First Dates (2004) | I'm not paying for this! It's October! | ชั้นไม่มีทางเสียค่าปรับนี้แน่ นี่มันเดือนตุลาคม 50 First Dates (2004) | Excuse me. Can I borrow this? Look, October! | ขอโทษนะคะ ขอยืมนี่หน่อย ดูนี่ ตุลาคม 50 First Dates (2004) | What else happened since last October? | นี่เกิดอะไรขึ้นบ้างคะหลังจากตุลาคมที่แล้ว 50 First Dates (2004) | The last entry in his journal was made on October 11, 1918. | ในบันทึกของเขานั้นครั้งสุดท้าย ลงวันที่ไว้ 11 ตุลาคม คศ.1918 Sky Captain and the World of Tomorrow (2004) | - 'Bizarre events... ' | - 'เหตุลูกเห็บ... ' Shaun of the Dead (2004) | - October 10. | - 10 ตุลาคม AVP: Alien vs. Predator (2004) | On October 3rd, he asked me what day it was. | 3 ตุลา เขาถามชั้น วันนี้วันที่เท่าไรหรอ Mean Girls (2004) | It's October 3rd. | วันที่ 3 ตุลา Mean Girls (2004) | 36-1004 Pyong Yang 20 Miles north of DMZ October 10, 2003, 01:47 A. M | 37-1004 จอง ยัง 20 ไมล์จากชายแดนเกาหลีเหนือ 10 ตุลาคม 2003 เวลา 01: 47 Spygirl (2004) | The last day of October | วันที่ 31 ตุลาคม ค่ะ Windstruck (2004) | October 28th... | วันที่ 28 ตุลา... Crying Out Love in the Center of the World (2004) | A Scorpio 1969, November 3rd | วันที่ 28 ตุลาคม 1969 ราศีพิจิก Crying Out Love in the Center of the World (2004) | You haven't had even one second | 28 ตุลาคม Crying Out Love in the Center of the World (2004) | I don't know why... | วันที่ 28 ตุลาคม Crying Out Love in the Center of the World (2004) | - This is some good shit. - Don't enjoy it too much. | นี่เป็นเวลาดีเหี้ยๆ / แต่อย่าสนุกเกินเหตุล่ะ American Pie Presents: Band Camp (2005) | You guys gained social status and political power from the nation that used your dream to spread alchemy. | พวกแกยอมทำงานรับใช้อาณาจักรเพื่อเงินทุนและสิทธิพิเศษมากมาย ฝันที่จะให้ประเทศนี้ตกอยู่ในอำนาจของวิชาเล่นแร่แปรธาตุล่ะซิ Fullmetal Alchemist the Movie: Conqueror of Shamballa (2005) | I've always wondered, does an air Elemental fly? Now do me a favour. | ธาตุลมเหาะได้มั๊ย รบกวนอะไรหน่อย The Chronicles of Riddick (2004) | The date was October 13th, 1307. A Friday. | วันศุกร์ที่13 ตุลาคม ค.ศ 1307 The Da Vinci Code (2006) | October 30th: | 30 ตุลาคม: Monster House (2006) | October? | เดือนตุลา? The Lake House (2006) | I'm sorry, sir, we're booked until October. | ต้องขอประทานโทษด้วยค่ะ ที่นั่งเราถูกจองเต็มจนถึงเดือนตุลาเลยค่ะ The Lake House (2006) | Moroccan officials are investigating suspects... in the shooting of an American tourist. | เจ้าหน้าที่ตำรวจโมรอคโคสืบหาผู้ต้องสงสัย... เหตุลอบยิงนักท่องเที่ยวชาวอเมริกัน Babel (2006) | October 2006, Han River Bridge | ตุลาคม 2006, สะพานแม่น้ำฮาน The Host (2006) | I've got the Bishop game next week, SATs in October, homecoming is 3 weeks from today and I'm a freak show! | อาทิตย์หน้ามีการแข่งขัน บิชอปเกม สอบเอสเอทีเดือนตุลา ไหนจะงานคืนสู่เหย้า อีกแค่สามอาทิตย์ Chapter One 'Genesis' (2006) | October 27, the day before the murder. | 27 ตุลาคม เป็นวันก่อนที่เขาถูกฆ่า Confession of Pain (2006) | October 29 was not a special festival. | 29 ตุลาคม ไม่มีงานเทศกาลพิเศษ Confession of Pain (2006) | October 2? | วันที่ 2 เดือนตุลาเหรอ Chapter Two 'Don't Look Back' (2006) |
| อำนาจตุลาการ | [amnāt tulākān] (n, exp) EN: judicial power ; judiciary power ; judiciary FR: pouvoir judiciaire [ m ] | อนุญาโตตุลาการ | [anuyātōtulākān] (n) EN: arbitrator ; umpire FR: arbitre [ m ] | เดือนตุลาคม | [deūoen tulākhom] (n, exp) EN: October FR: mois d'octobre [ m ] ; octobre [ m ] | ฝ่ายตุลาการ | [fāi tulākān] (n, exp) EN: judiciary | การบริหารงานตุลาการ | [kān børihān ngān tulākān] (n, exp) EN: judicature | คำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ | [khamchīkhāt khøng anuyātōtulākān] (n, exp) EN: arbitration award | กฎหมายอนุญาโตตุลาการ | [kotmāi anuyātōtulākān] (n, exp) EN: arbitrator | ราศีตุล | [rāsī Tun] (n, exp) EN: Libra FR: signe de la Balance [ m ] | ตุลา | [tulā] (n) EN: October FR: octobre [ m ] | ตุลาการ | [tulākān] (n) EN: judge ; arbitrator ; arbiter ; adjudicator ; body of judges ; bench FR: juge [ m ] ; magistrat [ m ] ; magistrature [ f ] | ตุลาการ | [tulākān] (n) EN: judicial service ; justice ; judiciary FR: système judiciaire [ m ] | ตุลาคม | [tulākhom] (n) EN: October FR: octobre [ m ] |
| | bench | (n) บัลลังก์ของตุลาการ | foreshow | (vt) แสดงให้เห็นล่วงหน้า (คำโบราณ), See also: บอกเหตุล่วงหน้า, Syn. foreshadow, prefigure, presage | Halloween | (n) ตอนเย็นหรือคืนวันที่ 31 ตุลาคม | judge | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Syn. arbiter, justice, magistrate | judiciary | (n) คณะตุลาการ, See also: คณะผู้พิพากษา | justice | (n) ผู้พิพากษา, See also: ตุลาการ, Ant. judge, magistrate | Libra | (n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libran | Libra | (n) ราศีตุล, See also: จักรราศีตุล | Libran | (n) คนที่เกิดในราศีตุล, Syn. Libra | October | (n) ตุลาคม, See also: เดือนตุลาคม | October | (n) เดือนตุลาคม | portend | (vt) เป็นลาง, See also: มีความหมาย, บอกเหตุล่วงหน้า, Syn. predict, forecast | prognosticate | (vt) บอกเหตุล่วงหน้า, See also: คาดคะเน, คาดการณ์ล่วงหน้า, Syn. foretell, fortune, prophesy | surrogate | (n) ตุลาการท้องถิ่น (ในบางรัฐ), Syn. judge |
| arbiter | (อาร์'บิเทอะ) n. ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, คนชี้ขาด, ผู้กำชะตาชีวิต, อนุญาโตตุลาการ (judge) | arbitrage | (อาร์'บิทราซฺ) n. การค้ากำไร, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ | arbitrament | (อาร์บิท'ระเมินทฺ) n. การตัดสิน, การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ | arbitrate | (อาร์'บิเทรท) vt., vi. ตัดสิน (โดยอนุญาโตตุลาการ) , เสนอให้ตัดสินโดยมีผู้ชี้ขาด (อนุญาโตตุลาการ) . -arbitrable adj., -arbitrator n. (judge, mediate, intercede) | arbitration | (อาร์บิเทร'เชิน) n. การตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการ, การชี้ขาด, การตัดสิน. | bench | (เบนชฺ) { benched, benching, benches } n. ม้านั่ง, บัลลังก์ (ตุลาการ) , ผู้พิพากษา, ศาล, ม้านั่งยาวสำหรับหลายคนนั่ง vt. วาง (ม้านั่ง) ตั้งไว้, วางแสดง, ทำให้นั่งอยู่ที่นั่ง | boding | (โบ'ดิง) n. ลางสังหรณ์, ลางร้าย, การบอกเหตุล่วงหน้า adj. เป็นลาง, เป็นลางสังหรณ์, ซึ่งบอกเหตุล่วงหน้า, Syn. omen | chancellery | (ชาน'ชะเลอรี) n. ตำแหน่งเสนาบดี, สำนักงานเสนาบดี, รัฐมนตรี, ตำแหน่งอัครมหาเสนาบดีของบางประเทศ, สถานเอกอัครราชฑูต, สถานกงสุลใหญ่, เจ้าหน้าที่ทั้งหมดของสถานเอกอัครราชฑูต (หรือกงสุล) , เลขานุการเอกอัครราชทูต (หรือกงสุล) , นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ) , ตุลาการใหญ่ของบางประเ | chancellor | (ชาน'ซะเลอ) n. เสนาบดี, อัครมหาเสนาบดี, นายกรัฐมนตรี, เอกอัครราชทูต, ตุลาการใหญ่, See also: chancellorship n. | columbus day | n. วันที่12ตุลาคม | forebode | (ฟอร์'โบด) v. ทำนาย, บอกเหตุล่วงหน้า, แสดงว่าจะมี, เป็นลางสังหรณ์., See also: foreboder n. | foreboding | (ฟอร์โบ'ดิง) n. ลาง, นิมิต, สังหรณ์ adj. เป็นกลาง, ซึ่งบอกเหตุล่วงหน้า (มักเป็นเหตุร้าย), See also: forebodingly adv. forebodingness n., Syn. prediction | halloween | (แฮล'ละวีน) n. ตอนเย็นหรือคืนวันที่31 ตุลาคม เป็นวันเล่นสนุกสนานเพลิดเพลินสำหรับเด็ก ๆ | judge | (จัดจฺ) { judged, judging, judges } n. ผู้พิพากษา, ตุลาการ, ผู้ตัดสิน v. พิพากษา, ตัด, สิน, ชี้ขาด, วินิจฉัย, เดา, ประมาณ, ปกครอง., See also: judgeable adj. ดูjudge judger n. ดูjudge judgeship n. ดูjudge | juror | (จัว'เรอะ) n. ลูกขุน, ตุลาการ, กรรมการตัดสิน, ผู้ให้คำปฏิญาณ | jury | (จัว'รี) n. คณะลูกขุน, คณะตุลาการ, คณะกรรมการผู้พิจารณา การให้รางวัลและการตัดสิน adj. ใช้ชั่วคราว, ชั่วคราว | justiciar | (จัสทิช'ชีเออะ) n. เจ้าหน้าที่ตุลาการชั้นสูง, See also: justiciarship n. | justiciary | (จัสทิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดีโดยศาลยุติธรรม n. ที่ทำการหรืออำนาจหน้าที่ของตุลาการ | october | (ออคโท'เบอะ) n. ตุลาคม, เหล้าที่กลั่นในเดือนตุลาคม | portend | (พอร์เทนดฺ') vt. เป็นลาง, มีความหมาย, บอกเหตุล่วงหน้า, Syn. foretell, forecast | portent | (พอร์'เทินทฺ) n. ลาง, การบอกเหตุล่วงหน้า, ความมหัศจรรย์, เรื่องปาฏิหารย์, เรื่องประหลาด | squire | (สไคว'เออะ) n. (ในอังกฤษ) ผู้ดีบ้านนอก, คหบดีบ้านนอก, ผู้รับใช้นักรบสมัยก่อน, นาย, ทนายความ, ตุลาการ, ผู้เอาอกเอาใจสตรี, เจ้าหน้าที่รักษาความสงบ. vt. รับใช้นักรบ, ปรน-นิบัติ, เอาอกเอาใจ., Syn. valet, attendant, page | tribunal | (ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี |
| arbiter | (n) ผู้ตัดสิน, ตุลาการ, ผู้ชี้ขาด | forebode | (vt) ทาย, พยากรณ์, สังหรณ์ใจ, บอกเหตุล่วงหน้า | judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ | judiciary | (n) ศาล, ตุลาการ, ผู้พิพากษา, การพิจารณาคดี | jury | (n) คณะตุลาการ, คณะลูกขุน | juryman | (n) ตุลาการ, ลูกขุน | October | (n) เดือนตุลาคม | prefigure | (vt) เขียนไว้ล่วงหน้า, คิดล่วงหน้า, บอกเหตุล่วงหน้า |
| | 天秤座 | [てんびんざ, tenbinza] (n) ราศีตุลย์ |
| Oktober | (n) |der| เดือนตุลาคม | beginnen | (vi) |begann, hat begonnen| เริ่ม เช่น Das Wintersemester hat im Oktober begonnen. ภาคเรียนฤดูหนาวเริ่มเดือนตุลาคม, See also: anfangen | Waage | (n) |die, nur Sg.| ราศีตุลย์, See also: Sternzeichen |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |