ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: นิเทศ, -นิเทศ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ปฐมนิเทศ | (n) orientation, Syn. การอบรมเบื้องต้น, การแนะนำเบื้องต้น, การชี้แนว, Ant. ปัจฉิมนิเทศ, Example: มหาวิทยาลัยจัดปฐมนิเทศนักศึกษา, Thai Definition: การอบรมเพื่อชี้แนะแนวทางการปฏิบัติเบื้องต้นในการศึกษาหรือการทำงาน | สารนิเทศ | (n) general information, Example: การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานจะทำให้สามารถสรุปสารนิเทศในรูปแบบที่เหมาะสมได้โดยง่าย, Thai Definition: การชี้แจงแนะนำเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่างๆ | กรมสารนิเทศ | (n) Department of Information, Example: กรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ได้แถลงการณ์ให้ประชาชนทราบถึงผลการเจรจาอย่างละเอียด, Count Unit: กรม | ปัจฉิมนิเทศ | (n) post training, Example: ปัจฉิมนิเทศเป็นประเพณีของโรงเรียนที่ปฏิบัติมาทุกปีสำหรับผู้สำเร็จการศึกษา, Thai Definition: การให้คำแนะนำเมื่อจบการศึกษา | ไปรษณียนิเทศ | (n) book of postal regulation, Example: ผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับไปรษณีย์ จะรู้จักไปรษณียนิเทศกันทุกคน, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: สมุดกฎข้อบังคับ คำสั่ง หรือประกาศว่าด้วยการไปรษณีย์ทั่วไป, Notes: (กฎหมาย) | นิเทศศาสตรบัณฑิต | (n) Bachelor of Arts (Communication Arts), See also: B.A. (Communication Arts), Syn. นศ.บ. | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | (n) Master of Arts (Communication Arts), See also: M.A. (Communication Arts), Syn. นศ.ม. |
|
| นิเทศ | น. คำแสดง, คำจำแนกออก. | นิเทศ | ก. ชี้แจง, แสดง, จำแนก. | นิเทศศาสตร์ | (นิเทดสาด) น. วิชาว่าด้วยการสื่อสารมวลชนและการประชาสัมพันธ์. | นิเทศก์ | น. ผู้ชี้แจง เช่น ศึกษานิเทศก์ ธรรมนิเทศก์. | ปฐมนิเทศ | (ปะถมมะ-, ปะถม-) น. การแนะนำชี้แนวเพื่อการศึกษาและการทำงานในเบื้องต้น. | ไปรษณียนิเทศ | (ไปฺรสะนียะนิเทด, ไปฺรสะนีนิเทด) น. สมุดกฎข้อบังคับ คำสั่ง หรือประกาศว่าด้วยการไปรษณีย์ทั่วไป. | ศึกษานิเทศก์ | น. ผู้ชี้แจงแนะนำทางการศึกษาแก่ครูอาจารย์ในโรงเรียนหรือวิทยาลัย. | สารนิเทศ | (สาระนิเทด) น. การชี้แจงแนะนำเกี่ยวกับข่าวสารหรือข้อมูลต่าง ๆ. | กุนที | (กุนนะที) น. แม่นํ้าน้อย ๆ, แม่นํ้าเล็ก ๆ, เช่น แตกเป็นนิเทศกุนทีน้อย ๆ (ม. ร่ายยาว กุมาร). | พระ | บรรดาศักดิ์ข้าราชการสูงกว่าหลวง ต่ำกว่าพระยา เช่น พระสารประเสริฐ พระธรรมนิเทศทวยหาญ, ใช้ประกอบหน้านามพระสนม เช่น พระอินทราณี พระสุจริตสุดา ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว |
| orientation | ๑. การปรับทิศทาง, การปรับแนวคิด๒. การปฐมนิเทศ, การแนะแนวทาง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] | information | สารนิเทศ, ข่าวสาร, ข้อสนเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | information | ๑. ข้อความ, การแจ้งให้ทราบ (ก. แพ่ง)๒. การแจ้งความ (ก. อาญา)๓. สารนิเทศ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Library orientation | การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด, Example: <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด (Library orientation) เป็นกิจกรรมและบริการเชิงรุกในการส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ในการใช้บริการพื้นฐานต่าง ๆ ของห้องสมุด เช่น การสืบค้น การยืม-คืน ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุด และเป็นการสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติตามระเบียบและมารยาทของการเข้าใช้ห้องสมุดได้อย่างถูกต้อง ก่อให้เกิดความคุ้นเคยด้านสถานที่ การบริการ และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งอำนวยประโยชน์ในด้านการเรียน การสอน และการค้นคว้าวิจัย <p> กลุ่มเป้าหมายในการจัดปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ได้แก่ นิสิต นักศึกษาใหม่ ของสถาบันการศึกษา หรือ พนักงานใหม่ ในกรณีหน่วยงานนั้นมีห้องสมุดในการให้บริการแก่ผู้ใช้ <p>การปฐมนิเทศการใช้ห้องสมุด ประกอบด้วยเนื้อหาและขอบเขต ดังนี้ <p>1. ข้อมูลทั่วไปของห้องสมุด กฎ กติกา มารยาท วันเวลาเปิด - ปิด บริการ สิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ รวมทั้งข่าวและกิจกรรมที่น่าสนใจ <p>2. นำชมห้องสมุด เพื่อสร้างความคุ้นเคยด้านสถานที่ และพาเยี่ยมชมพื้นที่ให้บริการ <p>3. แนะนำบริการของห้องสมุด เช่น บริการตอบคำถามและช่วยค้นคว้า บริการยืม-คืน บริการสืบค้นสารสนเทศ บริการวิทยานิพนธ์ บริการวารสาร บริการอินเทอร์เน็ต เป็นต้น <p>4. ทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ <p>5. การสืบค้นสารสนเทศ เรียนรู้เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูล ที่ห้องสมุดบอกรับ <p>6. บริการเอกสารฉบับเต็ม แนะนำวิธีการค้นหาเอกสาร หากไม่สามารถค้นหาเอกสารที่ต้องการได้ในเมืองไทย <p>7. บรรณานุกรมและอ้างอิง แนะนำวิธีการเขียนรายการบรรณานุกรมและอ้างอิง ที่ถูกต้องของสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ รวมถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ในการประกอบการทำรายงาน งานวิจัย และวิทยานิพนธ์ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] | Ecological communication | นิเวศนิเทศ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | information | สารสนเทศ, สนเทศ, สารนิเทศ [คอมพิวเตอร์] | Women supervisors | ผู้นิเทศงานสตรี [TU Subject Heading] | College student orientation | การปฐมนิเทศนักศึกษา [TU Subject Heading] | Computer bulletin boards | ป้ายนิเทศคอมพิวเตอร์ [TU Subject Heading] | Display boards | ป้ายนิเทศ [TU Subject Heading] | Displays in education | ป้ายนิเทศทางการศึกษา [TU Subject Heading] | Employee orientation | การปฐมนิเทศพนักงาน [TU Subject Heading] | Orientation and mobility | การนิเทศการเคลื่อนไหว [TU Subject Heading] | School supervision | การนิเทศโรงเรียน [TU Subject Heading] | School supervision, Secondary | การนิเทศโรงเรียนมัธยมศึกษา [TU Subject Heading] | School supervisors | ผู้นิเทศทางการศึกษา [TU Subject Heading] | Supervised study | การนิเทศการศึกษา [TU Subject Heading] | Supervision | การนิเทศ [TU Subject Heading] | Supervision of employees | การนิเทศพนักงาน [TU Subject Heading] | Supervisors | ผู้นิเทศงาน [TU Subject Heading] | Supervisors, Industrial | ผู้นิเทศทางธุรกิจ [TU Subject Heading] | Teacher orientation | การปฐมนิเทศครู [TU Subject Heading] | ASEAN Ministers Responsible for Information | การประชุมรัฐมนตรีสารนิเทศอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีที่รับผิดชอบงานทางด้านสารนิเทศของประเทศสมาชิก อาเซียน จัดขึ้นทุก ๆ 2 ปี [การทูต] | Broadcasting Division, Information Department | กองวิทยุกระจายเสียง กรมสารนิเทศ " กระทรวงการต่างประเทศ (เป็นผู้ดำเนินการสถานีวิทยุกระจายเสียงสราญรมย์ คลื่นความถี่ ระบบ AM 1575 KHz) " [การทูต] | MFA's Press Release | ข่าวสารนิเทศ " ซึ่งให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานของกระทรวงการ ต่างประเทศที่สื่อมวลชนควรรับทราบและเป็นประโยชน์ต่อสาธารณชน " [การทูต] | Ministry of Foreign Affairs's Spokesman (MFA's Spokesman) | โฆษกกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งอธิบดีกรมสารนิเทศทำหน้าที่โดยตำแหน่ง [การทูต] | Press Attaché | ผู้ช่วยทูตด้านสารนิเทศ มีหน้าที่ในการให้ข้อมูลข่าวสารและประสานงานกับสื่อมวลชน [การทูต] | The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] | Clinical Supervision | การทดสอบทางคลีนิค, การนิเทศแบบคลินิค [การแพทย์] | Conferences, Supervisor | การประชุมนิเทศ [การแพทย์] | Information Services | บริการสารนิเทศ, การบริการสารนิเทศ [การแพทย์] | Medical Supervision | การนิเทศก์ทางการแพทย์ [การแพทย์] | Gift | วัสดุสารนิเทศที่ได้รับบริจาค, Example: Gift คือ วัสดุสารนิเทศที่ได้รับบริจาค การบริจาควัสดุสารนิเทศให้กับห้องสมุด อาจเป็นการบริจาคให้โดยบุคคล กลุ่มบุคคล องค์กร หรือห้องสมุดอื่น ๆ วัสดุที่ได้รับบริจาคส่วนใหญ่เป็นสิ่งที่ห้องสมุดไม่ได้ร้องขอและห้องสมุดได้รับโดยไม่คาดคิด แต่ทรัพยากรสารสนเทศที่ขอรับบริจาคอาจเป็นทรัพยากรที่ห้องสมุดร้องขอ ทั้งนี้วัสดุที่ได้รับบริจาคจะถูกคัดเลือกเพื่อพิจารณานำเข้าห้องสมุด โดยให้สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาทรัพยากรของห้องสมุด หรือจำหน่ายออกไปโดยการขายหรือแลกเปลี่ยนกับกับห้องสมุดอื่น สำหรับการรับบริจาคหนังสือและวัสดุการศึกษาของห้องสมุด ห้องสมุดจำเป็นต้องมีเกณฑ์การรับบริจาคที่ต้องรับรู้ร่วมกันทั้งผู้ให้และผู้รับ เพื่อให้วัสดุสารนิเทศที่ได้รับมาสามารถสนับสนุนการเรียนการสอน การค้นคว้าวิจัย ได้ตรงตามหลักสูตร และตรงตามความต้องการของผู้ใช้ หากห้องสมุดไม่สามารถนำทรัพยากรห้องสมุดดังกล่าวออกให้บริการได้ ห้องสมุดควรมีนโยบายส่งต่อหรือนำหนังสือและวัสดุการศึกษาที่ได้รับบริจาคไปทำประโยชน์อย่างอื่น [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
| การปฐมนิเทศ | [kān pathomnithēt] (n) EN: orientation | กรมสารนิเทศ | [krom sāranithēt] (n, exp) EN: Department of Information | นิเทศ | [nithēt] (n) EN: supervision ; demonstration ; information | นิเทศก์ | [nithēt] (n) EN: supervisor ; information officer | นิเทศศาสตร์ | [nithētsāt] (n) EN: mass communications | นิเทศศาสตรบัณฑิต | [nithētsāt bandit] (n, exp) EN: Bachelor of Arts (Communication Arts) ; B.A. (Communication Arts) | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | [nithētsāt mahābandit] (n, exp) EN: Master of Arts (Communication Arts) ; M.A. (Communication Arts) | ปัจฉิมนิเทศ | [patchimnithēt] (x) EN: post training | ปฐมนิเทศ | [pathomnithēt] (n) EN: orientation ; orientation session ; meeting session | สารนิเทศ | [sāranithēt] (n) EN: general information ; information | สารนิเทศก์ | [sāranithēt] (n) EN: information officer | สารนิเทศศาสตร์ | [sāranithētsāt] (n) EN: information science |
| | | cd-rom | (ซีดีรอม) ย่อมาจาก compact disc read-only memory หมายถึง compact disc ที่เป็นฟอร์แมตสำหรับผลิตภัณฑ์มัลติมีเดีย และเก็บเสียง ภาพ และข้อความ เป็นต้น เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ จะมีหน่วยบันทึกที่อ่านซีดีรอมได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพ หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์ หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกข้อมูลลงยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคาอุปกรณ์นี้ยังค่อนข้างแพง | compact disk | ใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง | data base | ฐานข้อมูลหมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนเป็นคำเดียวกันว่า database | database | หมายถึง การจัดรวบรวมข้อนิเทศ หรือข้อมูลของเรื่องต่าง ๆ ไว้ในรูปแบบที่จะ เรียกมาใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการ ในการเรียกนั้น อาจเรียกเพียงส่วนใดส่วนหนึ่งมาใช้ประโยชน์เป็นครั้งเป็นคราวก็ได้ ฐานข้อมูลที่ดีควรจะได้รับการปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ บางทีเขียนแยกกัน เป็น data base ก็มี | information technology | เทคโนโลยีสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า IT หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | it | (อิท) pron. มัน, นั่น, ตัว, คน, บุคคล, ตัวมาร, ตัวการ, คนสำคัญ, คนโง่. n. คนเล่น, สถานการณ์โดยทั่วไป ไอทีย่อมาจาก information technology แปลว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึงเทคโนโลยีในการรวบรวมข้อมูล การจัดเก็บอย่างมีระบบ การเรียกหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว การประมวลผล การวิเคราะห์ผลที่ได้จากการประมวลนั้น รวมไปถึงการเน้นในเรื่องการแสดงผล และประชาสัมพันธ์สารสนเทศนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ ในรูปแบบที่เหมาะสมกับผู้ที่จะนำไปใช้ต่อไป ตลอดไปจนถึงการสื่อสารข้อมูลนั้นไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ด้วย ว่ากันว่า IT กำลังจะก้าวเข้ามาแทนวิชา MIS (management information system) เพราะมีขอบเขตกว้างขวางกว่ามาก สรุปสั้น ๆ ได้ว่า เป็นเหมือนการนำวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (computer science) รวมกับนิเทศศาสตร์ (mass communications) | supervisor | (ซูเพอะไว'เชอะ) n. ผู้ดูแล, ผู้ควบคุม, นิเทศน์ศึกษา., See also: supervisorship n., Syn. manager, chief |
| | | |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |