ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: พรรษา, -พรรษา- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ พรรษา | (clas) year, Syn. ปี, ชันษา, Example: สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถไปประเทศอังกฤษเมื่อพระชนมายุสิบเอ็ดพรรษา, Count Unit: พรรษา, Notes: (บาลี), (สันสกฤต) | พรรษา | (n) rainy season, Syn. ฤดูฝน, หน้าฝน, Example: ท้ายเดือน 9 กลางพรรษา เมฆตั้งเค้ามืดครึ้มเต็มแผ่นฟ้าและมีฝนตกแทบทุกเย็น, Thai Definition: ฤดูฝน, Notes: (บาลี), (สันสกฤต) | จำพรรษา | (v) stay in a Buddhist monastery during the Buddhist Lent, See also: stay in the Buddhist temple during the rainy season, Example: เมื่อถึงฤดูกาลเข้าพรรษา พระภิกษุต้องเข้าจำพรรษาในวัดหนึ่งวัดใด จะไปค้างคืนที่อื่นไม่ได้, Thai Definition: อยู่ประจำที่วัด 3 เดือนในฤดูฝน (ใช้แก่พระสงฆ์) | ลาพรรษา | (v) leave the Buddhist temple at the end of the Lent, Syn. ออกพรรษา, Example: หลวงพี่ลาพรรษาไปเมื่อวานนี้ | ชนมพรรษา | (n) age, See also: year of birth, Syn. อายุ, Thai Definition: อายุ | พรรษากาล | (n) rainy season, Syn. ฤดูฝน, Example: ในช่วงพรรษากาล พระสงฆ์จะไม่เดินทางไปจำวัดที่อื่นเป็นเวลา 3 เดือนตลอดฤดูฝน, Count Unit: ฤดู, Notes: (สันสกฤต) | ออกพรรษา | (n) the end of Buddhist lent, Syn. วันออกพรรษา, Ant. เข้าพรรษา, Example: สุนทรภู่เขียนนิราศเรื่องนี้ตอนออกพรรษา, Thai Definition: วันที่สิ้นการจำพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 | จำนำพรรษา | (n) robes offered to Buddhist priests during Buddhist Lent, Thai Definition: ผ้าที่ถวายแก่พระสงฆ์ที่อยู่จำพรรษาในวัดนั้นๆ | เข้าพรรษา | (n) Buddhist Lent, Ant. ออกพรรษา, Example: คนเฒ่าคนแก่มักถือศีล 8 ในช่วงเข้าพรรษาของทุกปี, Thai Definition: เรียกวันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำพรรษา คือ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 | เทียนพรรษา | (n) big candle used in the temple during the raining season, See also: large candle, Count Unit: ต้น, Thai Definition: เทียนขนาดใหญ่และยาวเป็นพิเศษกว่าเทียนชนิดอื่น สำหรับจุดในโบสถ์บูชาพระตั้งแต่วันเข้าพรรษาจนถึงวันออกพรรษา | พระชนมพรรษา | (n) age, Syn. อายุ, ชันษา, พระชนมายุ, Example: พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระองค์นี้เมื่อทรงพระชนมพรรษา 60 จะไม่ทรงเกษียณแน่, Count Unit: พรรษา, ชันษา, Notes: (ราชา) | เทศกาลเข้าพรรษา | (n) beginning of Buddhist Lent, See also: rainy season, enter the Raining Season Retreat, begin Buddhist Let, Buddhist Lent, Syn. เข้าพรรษา | เฉลิมพระชนมพรรษา | (v) celebrate the king's or queen's birthday anniversary, Syn. ฉลองครบรอบวันพระราชสมภพ, Example: พสกนิกรต่างเข้าเฝ้าถวายความจงรักภักดี และถวายพระพร เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาเมื่อวันที่ 11สิงหาคม 2543 (ก่อนวันเฉลิมพระชนมพรรษา 1 วัน) ณ พระที่นั่งอัมพร |
| เข้าพรรษา | น. เรียกวันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำพรรษา คือ วันแรม ๑ คํ่า เดือน ๘ ว่า วันเข้าพรรษา. | เข้าพรรษา | ก. เข้าอยู่ประจำที่ ๓ เดือนในฤดูฝน (ใช้แก่พระสงฆ์). | จำพรรษา | ก. อยู่ประจำที่วัด ๓ เดือนในฤดูฝน (ใช้แก่พระสงฆ์). | จำนำพรรษา | ว. เรียกผ้าที่ถวายแก่พระสงฆ์ที่อยู่จำพรรษาในวัดนั้น ๆ ว่า ผ้าจำนำพรรษา. | เฉลิมพระชนมพรรษา | (ฉะเหฺลิมพฺระชนมะพันสา) น. เรียกวันบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี ว่า วันเฉลิมพระชนมพรรษา. | ชนมพรรษา | (ชนมะพันสา) น. อายุที่นับเต็มปี, ใช้ว่า พระชนมพรรษา. | เทียนพรรษา | น. เทียนขนาดใหญ่และยาวเป็นพิเศษกว่าเทียนชนิดอื่น สำหรับจุดในโบสถ์บูชาพระตั้งแต่วันเข้าพรรษาจนถึงวันออกพรรษา. | บุริมพรรษา | (บุริมมะพันสา, บุริมพันสา) น. “พรรษาต้น”, ช่วงระยะเวลาที่ภิกษุเข้าอยู่จำพรรษาต้น คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, ปุริมพรรษา ก็ว่า, คู่กับ ปัจฉิมพรรษา. | ปัจฉิมพรรษา | (ปัดฉิมมะพันสา, ปัดฉิมพันสา) น. “พรรษาหลัง”, ช่วงระยะเวลาที่ภิกษุเข้าอยู่จำพรรษาหลัง คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒, คู่กับ บุริมพรรษา หรือ ปุริมพรรษา. | ปุริมพรรษา | (ปุริมมะพันสา, ปุริมพันสา) ดู บุริมพรรษา. | พรรษา | (พันสา) น. ช่วงระยะเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน เช่น เข้าพรรษา จำพรรษา | พรรษา | ปี เช่น บวช ๓ พรรษา, (ราชา) ปี เช่น มีพระชนมายุ ๒๕ พรรษา. | พรรษากาล | น. ฤดูฝน. | พรรษาคม | น. การเริ่มฤดูฝน. | พรรษายุต | น. หมื่นปี. | พรรษา | ดู พรรษ, พรรษ-. | พรรษากาล | ดู พรรษ, พรรษ-. | พรรษาคม | ดู พรรษ, พรรษ-. | พรรษายุต | ดู พรรษ, พรรษ-. | ลาพรรษา | ก. ออกพรรษา. | วันเข้าพรรษา | น. วันที่พระสงฆ์เริ่มเข้าจำพรรษา คือ วันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘. | วันเฉลิมพระชนมพรรษา | น. วันบำเพ็ญพระราชกุศลเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระบรมราชินี. | วันออกพรรษา | น. วันที่สิ้นสุดการจำพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑, วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา ก็เรียก. | หูเข้าพรรษา | ว. ไม่รับรู้รับฟังสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้นมักใช้เป็นสำนวนเปรียบเทียบ เช่น ทำเป็นหูเข้าพรรษาไปได้. | ออกพรรษา | น. เรียกวันที่สิ้นสุดการจำพรรษาแห่งพระสงฆ์ คือ วันขึ้น ๑๕ คํ่าเดือน ๑๑ ว่า วันออกพรรษา, วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา ก็เรียก. | กรุก | (กฺรุก) ก. ขลุก, ขลุกขลุ่ย, ง่วนอยู่, เช่น พรรษาหนึ่งสองพรรษาไม่ผาสุก เข้าบ้านกรุกเลยลาสิกขาบท (นิ. เดือน). | ข้าวต้มปัด | น. ข้าวเหนียวต้มที่ห่อด้วยใบไม้เช่นใบมะพร้าวอ่อนหรือใบเตย มักทำถวายพระในเทศกาลออกพรรษา, ข้าวปัด ก็ว่า. | ข้าวปัด | น. ข้าวเหนียวต้มที่ห่อด้วยใบไม้เช่นใบมะพร้าวอ่อนหรือใบเตย มักทำถวายพระในเทศกาลออกพรรษา, ข้าวต้มปัด ก็ว่า. | งดเว้น | ก. เว้นด้วยการงด คือ หยุดไม่กระทำหรือไม่ดำเนินการตามปรกติ เช่น งดเว้นอบายมุขระหว่างเข้าพรรษา. | ติดไฟ | ประดับไฟ เช่น ติดไฟราวงานวันเฉลิมพระชนมพรรษา. | เถร, เถร-, เถระ | (เถน, เถระ-) น. พระผู้ใหญ่ ตามพระวินัยกำหนดว่า พระมีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป เรียกว่า พระเถระ. | เถรภูมิ | (เถระพูม) น. ระดับชั้นของพระภิกษุที่มีพรรษาระดับสูง คือตั้งแต่ ๑๐ พรรษาขึ้นไป อยู่ต่อจาก นวกภูมิ กับ มัชฌิมภูมิ. | ทำวัตร | ทำสามีจิกรรมตามธรรมเนียมของพระภิกษุ เช่น ก่อนเข้าพรรษาพระภิกษุต้องไปทำวัตรพระอุปัชฌาย์ที่อยู่ต่างจังหวัด. | เทศกาล | น. คราวสมัยที่กำหนดไว้เป็นประเพณีเพื่อทำบุญและการรื่นเริงในท้องถิ่น เช่น ตรุษ สงกรานต์ เข้าพรรษา สารท | นวกภูมิ | (นะวะกะพูม) น. ระดับชั้นของพระภิกษุที่มีพรรษาระดับต้น คือต่ำกว่า ๕ พรรษา อยู่ก่อน มัชฌิมภูมิ กับ เถรภูมิ. | ปฏิญาณ | ก. ให้คำมั่นสัญญา โดยมากมักเป็นไปตามแบบพิธี เช่น พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณของข้าราชการเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา. | ปวารณา | พิธีกรรมทางศาสนายอมให้สงฆ์ว่ากล่าวตักเตือนได้ ทำในวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๑ ซึ่งเป็นวันออกพรรษา, เรียกวันออกพรรษา ว่า วันปวารณา หรือ วันมหาปวารณา. | มัชฌิมภูมิ | (-พูม) น. ระดับชั้นของพระภิกษุที่มีพรรษาระดับกลาง คือ ตั้งแต่ ๕ ถึง ๙ พรรษา อยู่ระหว่าง นวกภูมิ กับ เถรภูมิ. | ไม้กระถาง | ดอกไม้กระถางเล็ก ๆ ใช้ไม้โสนทำ สำหรับถวายพระในเวลาเข้าพรรษา. | ลายตา | ก. อาการที่มองเห็นของจำนวนมาก ๆ หรือของที่มีแสงสีต่าง ๆ จนทำให้ตาลายหรือพร่าไป เช่น มองเห็นแสงสีมาก ๆ จนลายตา การประดับไฟตามท้องถนนในงานเฉลิมพระชนมพรรษาดูลายตาไปหมด. | วรรษา | (วัดสา) น. พรรษา, ฤดูฝน | วัน ๑ | น. ระยะเวลา ๒๔ ชั่วโมง ตั้งแต่ยํ่ารุ่งถึงยํ่ารุ่ง หรือตั้งแต่เที่ยงคืนถึงเที่ยงคืน เช่น วันเฉลิมพระชนมพรรษาหยุดราชการ ๑ วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำรุ่งถึงย่ำค่ำ เรียกว่า กลางวัน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า วัน, ระยะเวลา ๑๒ ชั่วโมง ตั้งแต่ย่ำค่ำถึงย่ำรุ่ง เรียกว่า กลางคืน, มักเรียกสั้น ๆ ว่า คืน, เช่น เขาไปสัมมนาที่พัทยา ๒ วัน ๑ คืน, ช่วงเวลากลางวัน เช่น เช้าขึ้นมาก็รีบไปทำงานทุกวัน | วันปวารณา, วันมหาปวารณา | น. วันออกพรรษา. | สโมสรสันนิบาต | น. งานที่รัฐบาลจัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสสำคัญ เช่น งานสโมสรสันนิบาตที่ทำเนียบรัฐบาลเนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา. | สัตตาหกรณียะ | (-กะระนียะ, -กอระนียะ) น. กิจที่พึงทำเป็นเหตุให้ภิกษุออกจากวัดไปพักแรมในที่อื่นในระหว่างพรรษาได้ไม่เกิน ๗ วัน เช่นเพื่อไปพยาบาลภิกษุสามเณรหรือบิดามารดาที่ป่วยไข้หรือเพื่อบำรุงศรัทธาของทายก. | สามีจิกรรม | น. การแสดงความเคารพตามธรรมเนียมของพระเณรในระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย เช่น ระหว่างพระอุปัชฌาย์กับสัทธิวิหาริก ระหว่างอาจารย์กับอันเตวาสิก หรือระหว่างผู้แก่พรรษากับผู้อ่อนพรรษากว่า. | โอ้เอ้ | น. เรียกการสวดกาพย์ลำนำเป็นทำนองอย่างที่นักเรียนสวดตามศาลารายวัดพระศรีรัตนศาสดารามในวันเข้าพรรษา วันกลางพรรษา และวันออกพรรษา ว่า สวดโอ้เอ้วิหารราย. |
| Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] | Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
|
| | เฉลิมพระชนมพรรษา | [Chaloēmphrachonmaphansā] (n, prop) EN: King's Birthday celebrations | ชนมพรรษา | [chonmaphansā] (n) EN: age (of a royal personage) | จำพรรษา | [jamphansā] (v) EN: stay in a Buddhist monastery during the Buddhist Lent ; stay in the Buddhist temple during the rainy season FR: faire une retraite dans un temple bouddhique pendant la saison des pluies | การถวายเทียนพรรษา | [kān thawāi thīen Phansā] (n, exp) EN: Lent candle offering | เข้าพรรษา | [Khaophansā] (n) EN: Buddhist Lent ; Buddhist Lent Retreat ; Rains Retreat ; Khao Phansa FR: carême bouddhiste [ m ] | เข้าพรรษา | [khaophansā] (v) EN: enter the Rainy Season Retreat ; enter the Buddhist Lent FR: débuter la retraite bouddhiste | ออกพรรษา | [Økphansā] (n, prop) EN: end of Buddhist lent | ออกพรรษา | [øk phansā] (v, exp) EN: end the Rainy Season Retreat ; end the Buddhist Lent FR: terminer la retraite bouddhique | พรรษา | [phansā] (n, exp) EN: rainy season retreat ; rains retreat ; Buddhist lent FR: retraite de la saison des pluies [ f ] ; retraite bouddhique [ f ] ; carême bouddhique [ m ] ; année d'ordination [ f ] | พรรษา | [phansā] (n, exp) EN: rainy season FR: saison des pluies [ f ] ; mousson humide [ f ] ; mousson d'été [ f ] | เทศกาลออกพรรษา | [thētsakān Økphansā] (n, exp) EN: end of the Buddhist Lent festival | เทียนพรรษา | [thīen Phansā] (n, exp) EN: Lent candle ; large candle | วันเฉลิมพระชนมพรรษา | [wan chaloēm Phrachonmaphansā] (n, exp) EN: King's birthday | วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว | [wan chaloēm Phrachonmaphansā Phrabātsomdetphrajāoyūhūa] (n, exp) EN: H.M. the King's Birthday | วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ | [wan chaloēm Phrachonmaphansā Somdet Phranāngjāo Phraboromrāchinīnāt] (n, exp) EN: Her Majesty the Queen's Birthday | วันเข้าพรรษา | [Wan Khāophansā] (n, exp) EN: first day of the Buddhist Lent ; beginning of the Lent FR: premier jour de la retraite bouddhique [ m ] ; début de la retraite bouddhique [ m[ | วันออกพรรษา | [wan Økphansā] (n, exp) EN: end of Buddhist lent FR: fin de la retraite bouddhique [ f ] |
| | Lent | (n) ฤดูเข้าพรรษา, ฤดูกินเจ, ฤดูถือบวช |
| father's day | [ฟาเธอร์ส เดย์] (n) วันเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลมหาราช รัชกาลที่ 9 ตรงกับวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี ถือเป็นวันพ่อแห่งชาติด้วย, See also: A. Mother's Day, HM the Queen Sirikit's Birthday, Syn. HM the King Bhumipol's Birthday |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |