ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ระบือ, -ระบือ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ระบือ | (v) spread, See also: be rumoured, spread widely, widely known, disseminate, Syn. เลื่องลือ, ลือ, เอิกเกริก, ฟุ้งเฟื่อง, Example: ครั้งนี้เป็นโอกาสของเขาที่จะพิสูจน์ฝีมือให้ระบือนาม | ระบือ | (adj) well known, See also: famous, Syn. เลื่องลือ, ลือ, เอิกเกริก, ฟุ้งเฟื่อง, Example: ประเทศเยอรมันมีโรงงานถลุงเหล็กที่มีชื่อเสียงระบือไปทั่วโลก | กระบือ | (n) buffalo, Syn. ควาย, Example: สัตว์บางอย่างมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 20 ปี เช่น ชีวิตของโค กระบือ และม้า, Count Unit: ตัว |
| กระบือ | น. ควาย (มักใช้เป็นทางการ) เช่น รูปพรรณโคกระบือ. | กระบือเจ็ดตัว | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Excoecaria cochinchinensis Lour. ในวงศ์ Euphorbiaceae สูง ๑-๒ เมตร ใบด้านบนสีเขียว ด้านล่างสีแดงเลือดหมู ใช้ทำยาได้, ลิ้นกระบือ ก็เรียก, จันทบุรีเรียก ใบท้องแดง. | ระบือ | ว. เล่าลือ เช่น ข่าวระบือ, เลื่องลือ, แพร่หลายรู้กันทั่ว, เช่น ชื่อเสียงระบือไปไกล. | ลิ้นกระบือ ๑ | น. ไม้แผ่นบาง ๆ สำหรับสอดเพลาะกระดานเป็นระยะ ๆ ให้สนิทแข็งแรง. | ลิ้นกระบือ ๒ | น. ฝิ่นดิบที่ทำมาจากเหนือ เรียกว่า ฝิ่นลิ้นกระบือ. | ลิ้นกระบือ ๑ | ดูใน ลิ้น. | ลิ้นกระบือ ๒ | ดูใน ลิ้น. | ลิ้นกระบือ ๓ | น. ชื่อกล้วยไม้ ๒ ชนิดในวงศ์ Orchidaceae คือ ชนิด Phalaenopsis violacea Teijsm. et Binnend. ดอกเล็ก สีม่วง และชนิด Hygrochilus parishii (Veitch et Rchb.f.) Pfitz. ดอกโต สีเหลืองประม่วงแดงหรือสีม่วงแดง, เอื้องนางรุ้ง ก็เรียก. | ลิ้นกระบือ ๓ | ดู กระบือเจ็ดตัว. | ลิ้นกระบือ ๓ | ดู มะเดื่อ. | ศีรษะกระบือ | น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์วิศาขา มี ๕ ดวง, ดาวคันฉัตร หรือ ดาววิสาขะ ก็เรียก. | โหรากระบือ, โหราเขาเนื้อ | น. ชื่อเรียกเฟินชนิด Diplazium dilatatum Blume ในวงศ์ Athyriaceae และชนิด Microlepia platyphylla (D. Don) J. Sm. ในวงศ์ Dennstaedtiaceae, โหราเขากระบือ ก็เรียก. | โหราเขากระบือ | ดู โหรากระบือ, โหราเขาเนื้อ. | กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น | กระ ๔ | ใช้เป็นพยางค์หน้า (๑) ซึ่งเดิมเป็น ก กำ กุ ข ต ส เช่น กบิล-กระบิล, กำแพง-กระแพง, กุฎี-กระฎี, ขจัด-กระจัด, ตวัด-กระหวัด, สะท้อน-กระท้อน. (๒) โบราณใช้แทน ตระ เช่น ตระกูล-กระกูล, ตระลาการ-กระลาการ. (อัยการเบ็ดเสร็จ). (๓) เติมหน้าคำโดยไม่มีความหมายก็มี เช่น ซุ้ม-กระซุ้ม, โดด-กระโดด, พุ่ม-กระพุ่ม, ยาจก-กระยาจก, เติมให้มีความหมายแน่นแฟ้นขึ้นก็มี เช่น ทำ-กระทำ, ทุ้ง-กระทุ้ง, เสือกสน-กระเสือกกระสน. (๔) ยํ้าหน้าคำอันขึ้นต้นด้วย ก ในบทกลอน คือ กระกรี๊ด กระกรุ่น กระกลับกลอก กระเกริ่น กระเกรียม กระเกรียว กระเกรี้ยว กระเกริก. (๕) นอกนี้เป็น กระ มาแต่เดิม เช่น กระทรวง กระบือ. | กระเกริ่น | ว. ระบือ เช่น กระเกริ่นกระเกริกกฤษฎา (อุเทน). | กระทรวง ๒ | ส่วนราชการที่พอเทียบได้กับกรมหรือกระทรวงในปัจจุบัน เช่น ถ้าเป็นกระทรวงแพ่ง แลฝ่ายจำเลยนั้นเป็นกรม ฝ่ายนอกให้ส่งไปแพ่งกระเสมพิจารณา, ถ้ามีผู้ร้ายลักช้างม้าผู้คนโคกระบือทรัพยสิ่งใด ๆ เปนกระทรวงนครบาลได้ว่า (สามดวง). | กระแหล่ง | (-แหฺล่ง) น. เครื่องทำเสียงสัญญาณทำด้วยโลหะ มีรูปคล้ายกระดิ่ง แต่เป็นรูปสี่เหลี่ยม ใช้แขวนคอ โค กระบือช้าง. | กำพต | (-พด) น. ลูกศร เช่น พระเอาโอสถ ทาลูกกำพต พาดสายศิลปคือ พระอัคนี สมเด็จสี่มือ ดาลเดชระบือ ระเบิดบาดาล (สุธน). | คันฉัตร | น. ชื่อหนึ่งของดาวฤกษ์วิศาขา มี ๕ ดวง, ดาวศีรษะกระบือ หรือ ดาววิสาขะ ก็เรียก. | คำพ้องความ | น. คำที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกันหรือใกล้เคียงกันมาก เช่น โคกับวัว ควายกับกระบือ มนุษย์กับคน, ไวพจน์ ก็ว่า. | คู่โค | น. นาที่ต้องเสียค่านาตามหน้าโฉนดทุก ๆ ปี ผิดกับนาฟางลอย ซึ่งต้องเสียค่านาแต่เฉพาะในปีที่ปลูกข้าว. [ “ที่เรียกว่า นาคู่โค เพราะวิธีเก็บหางข้าวนาชนิดนี้นับจำนวนโค (กระบือ) ที่ใช้ทำนาในที่นั้น ๆ ด้วยถือเป็นยุติว่า โคคู่หนึ่งคงจะทำนาในที่เช่นนั้นได้ผลประมาณปีละเท่านั้น เอาเกณฑ์จำนวนโคขึ้นตั้งเป็นอัตราหางข้าวที่จะต้องเสีย เพราะฉะนั้น นาคู่โค ถึงจะทำหรือมิทำจึงต้องเสียหางข้าว” พงศ. ร. ๒ ]. | จ่อม ๒ | ฟุบ, หมอบ, (ใช้แก่สัตว์ เช่น โค กระบือ). | ดำแคง | ก. เลื่องลือ, ระบือไป, ดังสนั่น, เช่น เมิลมุขรุกขผกาผลาผลตระการ เซาะธารดำแคงเสียง คครึง (อนิรุทธ์). | ตะคาง | น. เม็ดผดที่เกิดขึ้นตามขาด้วยระคายต้นหญ้าหรือขนกระบือ, ระคาง ก็ว่า. | นักษัตร ๑, นักษัตร- | (นักสัด, นักสัดตฺระ-) น. ดาว, ดาวฤกษ์, มี ๒๗ หมู่ คือ ๑. อัศวินี, อัสสนี (ดาวม้า ดาวคอม้า ดาวคู่ม้า หรือ ดาวอัศวยุช) มี ๗ ดวง ๒. ภรณี (ดาวก้อนเส้า) มี ๓ ดวง ๓. กฤติกา, กฤตติกา, กัตติกา (ดาวธงสามเหลี่ยม หรือ ดาวลูกไก่) มี ๘ ดวง ๔. โรหิณี (ดาวพราหมี ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวคางหมู) มี ๗ ดวง ๕. มฤคศิระ, มฤคเศียร, มิคสิระ (ดาวหัวเต่า ดาวหัวเนื้อ ดาวศีรษะเนื้อ ดาวศีรษะโค ดาวมฤคศิรัส หรือ ดาวอาครหายณี) มี ๓ ดวง ๖. อารทรา (ดาวอัททา ดาวตัวโค หรือ ดาวตาสำเภา) มี ๑ ดวง ๗. ปุนัพสุ, ปุนัพพสู (ดาวหัวสำเภา ดาวสำเภาทอง ดาวสะเภา ดาวยามเกา หรือ ดาวตาเรือชัย) มี ๓ ดวง ๘. บุษยะ, บุษย์, ปุษยะ, ปุสสะ (ดาวปุยฝ้าย ดาวพวงดอกไม้ ดาวดอกบัว ดาวโลง ดาวปู ดาวสมอสำเภา หรือ ดาวสิธยะ) มี ๕ ดวง ๙. อาศเลษา, อสิเลสะ (ดาวเรือน หรือ ดาวนกอยู่ในปล่อง) มี ๕ ดวง ๑๐. มฆะ, มฆา, มาฆะ (ดาวโคมูตร ดาววานร ดาวงอนไถ หรือ ดาวงูผู้) มี ๕ ดวง ๑๑. บุรพผลคุนี, ปุรพผลคุนี, ปุพพผลคุนี (ดาววัวตัวผู้ หรือ ดาวงูเมีย) มี ๒ ดวง ๑๒. อุตรผลคุนี, อุตตรผลคุนี (ดาวเพดาน หรือ ดาววัวตัวเมีย) มี ๒ ดวง ๑๓. หัสต, หัสตะ, หัฏฐะ (ดาวศอกคู้ หรือ ดาวศีรษะช้าง) มี ๕ ดวง ๑๔. จิตระ, จิตรา (ดาวต่อมนํ้า ดาวไต้ไฟ ดาวตาจระเข้ หรือ ดาวเสือ) มี ๑ ดวง ๑๕. สวาดิ, สวาตี, สวัสติ (ดาวช้างพัง หรือ ดาวงูเหลือม) มี ๕ ดวง ๑๖. วิศาขา, วิสาขะ (ดาวคันฉัตร หรือ ดาวศีรษะกระบือ) มี ๕ ดวง ๑๗. อนุราธ, อนุราธะ, อนุราธา (ดาวประจำฉัตร หรือ ดาวนกยูง) มี ๔ ดวง ๑๘. เชษฐะ, เชษฐา (ดาวงาช้าง ดาวช้างใหญ่ ดาวคอนาค หรือ ดาวแพะ) มี ๑๔ ดวง ๑๙. มูล, มูละ, มูลา (ดาวช้างน้อย หรือ ดาวแมว) มี ๙ ดวง ๒๐. ปุรพษาฒ, บุรพอาษาฒ, บุพพาสาฬหะ (ดาวสัปคับช้าง หรือ ดาวราชสีห์ตัวผู้) มี ๓ ดวง ๒๑. อุตราษาฒ, อุตตรอาษาฒ, อุตตราสาฬหะ (ดาวแตรงอน หรือ ดาวราชสีห์ตัวเมีย) มี ๕ ดวง ๒๒. ศรวณะ, ศระวณ, สาวนะ (ดาวหลักชัย หรือ ดาวพระฤๅษี) มี ๓ ดวง ๒๓. ธนิษฐะ, ธนิษฐา (ดาวศรวิษฐา ดาวเศรษฐี ดาวไซ หรือ ดาวกา) มี ๔ ดวง ๒๔. ศตภิษัช, สตภิสชะ (ดาวพิมพ์ทอง หรือ ดาวยักษ์) มี ๔ ดวง ๒๕. บุรพภัทรบท, ปุพพภัททะ (ดาวโปฐบท ดาวแรดตัวผู้ หรือ ดาวหัวเนื้อทราย) มี ๒ ดวง ๒๖. อุตรภัทรบท, อุตตรภัทรบท, อุตตรภัททะ (ดาวแรดตัวเมีย หรือ ดาวไม้เท้า) มี ๒ ดวง ๒๗. เรวดี (ดาวปลาตะเพียน หรือ ดาวนาง) มี ๑๖ ดวง. | ใบท้องแดง | น. ต้นกระบือเจ็ดตัว. (ดู กระบือเจ็ดตัว). | พาหนะ | (-หะนะ) น. เครื่องนำไป, เครื่องขับขี่, สัตว์สำหรับขี่บรรทุกหรือลากเข็นมีช้าง ม้า โค กระบือเป็นต้น เรียกว่า สัตว์พาหนะ, ยานต่าง ๆ มีรถและเรือเป็นต้น เรียกว่า ยานพาหนะ. | มะเดื่อ | น. ชื่อไม้ต้นหลายชนิดในสกุล Ficus วงศ์ Moraceae เช่น มะเดื่อปล้อง (F. hispida L.f.) ใบสากคาย, มะเดื่ออุทุมพรหรือมะเดื่อชุมพร (F. racemosa L.) ใบเกลี้ยง ผลกินได้, มะเดื่อกวางหรือลิ้นกระบือ (F. callosa Willd.) ใบแข็งหนา. | ระคาง ๑ | น. เม็ดผดที่เกิดขึ้นตามขาด้วยระคายต้นหญ้าหรือขนกระบือ, ตะคาง ก็ว่า. | วิศาขา ๒, วิสาขะ ๑ | น. ดาวฤกษ์ที่ ๑๖ มี ๕ ดวง เห็นเป็นรูปแขนนาง หนองลาด เหมือง หรือไม้ฆ้อง, ดาวคันฉัตร หรือ ดาวศีรษะกระบือ ก็เรียก. | สัตว์พาหนะ | น. ช้าง ม้า โค กระบือ ล่อ ลา ซึ่งได้ทำหรือต้องทำตั๋วรูปพรรณตามกฎหมายว่าด้วยสัตว์พาหนะ. | สารบาญชี | (สาระ-) น. ทะเบียนรายชื่อไพร่บ้านพลเมือง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ทะเบียนหางว่าว, ทะเบียนสัตว์ ได้แก่ ช้าง ม้า โค กระบือ, ทะเบียนไร่นา, ทะเบียนบ้านเรือน. | เอื้องนางรุ้ง | ดู ลิ้นกระบือ ๓ (๑). |
|
| Boophilus microplus | เห็บโคกระบือเขตร้อน [TU Subject Heading] | Buffaloes | กระบือ [TU Subject Heading] | Cattle | โคกระบือ [TU Subject Heading] | Cattle trade | อุตสาหกรรมโคกระบือ [TU Subject Heading] | Cattle | โคกระบือ, วัวควาย [การแพทย์] | Cattle Diseases | โคกระบือ, โรค [การแพทย์] | anthrax | แอนแทรกซ์, โรคระบาดที่เกิดจากสัตว์เลี้ยงพวกโค กระบือ เนื่องจากเชื้อแบคทีเรีย เป็นโรคที่ร้ายแรงมาก มีผลทำให้สัตว์ตายได้คราวละมาก ๆ โรคนี้สามารถติอต่อถึงคนได้ สัตว์ที่เป็นโรคนี้จะต้องเผาทำลายหรือฝังในดินลึก ๆ เพื่อไม่ให้แพร่เชื้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| | กระบือ | [krabeū] (n) EN: water buffalo ; carabao FR: buffle [ m ] ; karbau [ m ] ; kérabau [ m ] | ลิ้นกระบือ | [linkrabeū] (n) EN: Picara |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |