รัฐธรรมนูญ | (n) constitution, Example: ตามรัฐธรรมนูญไทย รัฐกับศาสนามิได้แยกจากกัน และรัฐมีหน้าที่ต้องดูแลศาสนาด้วย, Count Unit: ฉบับ | ศาลรัฐธรรมนูญ | (n) constitutional court, Example: หากส.ส. คนใดต้องการอุทธรณ์ รัฐธรรมนูญเปิดช่องให้อุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญได้ภายใน 30 วัน | ร่างรัฐธรรมนูญ | (n) draft of a constitution, See also: constitutional draft, Example: พรรคสามัคคีธรรมดำเนินการเคลื่อนไหวเพื่อคัดค้านและต่อต้านร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้อย่างเปิดเผย, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: เค้าโครงของรัฐธรรมนูญ |
|
| กฎหมายรัฐธรรมนูญ | น. กฎหมายที่วางระเบียบการปกครองรัฐในทางการเมือง โดยกำหนดโครงสร้างของรัฐ ระบอบการปกครอง การใช้อำนาจอธิปไตย การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันที่ใช้อำนาจอธิปไตย. | พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำและยินยอมของฝ่ายนิติบัญญัติในเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ เช่น เรื่องเกี่ยวกับการเลือกตั้ง พรรคการเมือง ศาลรัฐธรรมนูญ และรัฐธรรมนูญกำหนดหลักเกณฑ์ในการเสนอ การพิจารณาและการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญไว้เป็นพิเศษแตกต่างจากพระราชบัญญัติ. | รัฐธรรมนูญ | (รัดถะทำมะนูน, รัดทำมะนูน) น. บทกฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ กำหนดรูปแบบและระบอบการปกครองของประเทศ สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ของประชาชน อำนาจหน้าที่ขององค์กร และความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร. | วันรัฐธรรมนูญ | น. วันที่ระลึกเนื่องในวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรกให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม. | ศาลรัฐธรรมนูญ | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยปัญหาข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญ. | กฎหมายมหาชน | น. กฎหมายที่วางระเบียบโครงสร้างและการปกครองของรัฐหรือการบริหารราชการแผ่นดิน รวมตลอดทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับเอกชน เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา กฎหมายปกครอง. | กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. | ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. | คณะรัฐมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีคนหนึ่ง และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ เพื่อทำหน้าที่บริหารราชการแผ่นดิน. | คณะองคมนตรี | น. คณะบุคคลซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้งตามพระราชอัธยาศัยจากผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยประธานองคมนตรีคนหนึ่ง และองคมนตรีอื่นอีกไม่เกินจำนวนที่รัฐธรรมนูญกำหนด มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราช-กรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ. | ผู้ตรวจการแผ่นดิน | น. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือการละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งอำนาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องต่อศาลปกครองหรือศาลรัฐธรรมนูญเมื่อเห็นว่ากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือการกระทำใดของบุคคลใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ. | ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ. | พระราชกฤษฎีกา | บทบัญญัติที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดิน. | พระราชกำหนด | น. รูปแบบของกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นให้มีผลใช้บังคับไปพลางก่อนตามคำแนะนำของฝ่ายบริหาร เนื่องจากเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ ตามเงื่อนไขที่กำหนดให้รัฐธรรมนูญ พระราชกำหนดเมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้วมีผลใช้บังคับเป็นพระราชบัญญัติ. | รับสนองพระบรมราชโองการ | ก. ลงนามที่จะปฏิบัติตามพระบรมราชโองการเพื่อให้เป็นพระบรมราชโองการที่ถูกต้องตามรัฐธรรมนูญ. | วุฒิสภา | น. สภานิติบัญญัติสภาหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกที่มาจากการแต่งตั้ง เลือกตั้ง หรือแต่งตั้งและเลือกตั้งผสมกัน มีหน้าที่กลั่นกรองกฎหมายและหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ | ก. บังคับเอาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นของเอกชนคืนมาเป็นของรัฐโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยรัฐต้องชดใช้ค่าทดแทนที่เป็นธรรม. | ศาลยุติธรรม | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง ที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร. | สภาผู้แทนราษฎร | น. สภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติของประเทศ ประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีหน้าที่ให้คำแนะนำและยินยอมในการตรากฎหมาย การควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน และหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด. | สหพันธรัฐ | น. รัฐหลายรัฐที่รวมกันเป็นรัฐรวม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้ดำเนินกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ละรัฐมีอำนาจเฉพาะกิจการภายในรัฐของตนเท่านั้น. | สิทธิ, สิทธิ์ | (สิดทิ, สิด) น. อำนาจอันชอบธรรม เช่น บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ เขามีสิทธิ์ในที่ดินแปลงนี้. (ป., ส.) | องคมนตรี | (องคะ-) น. ตำแหน่งที่มีหน้าที่ถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจทั้งปวงที่พระมหากษัตริย์ทรงปรึกษา และมีหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติในรัฐธรรมนูญ. | อัยการ | องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยประกอบด้วยคณะกรรมการอัยการ อัยการสูงสุด และพนักงานอัยการอื่น โดยมีสำนักงานอัยการสูงสุดเป็นหน่วยธุรการ มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาทั้งปวง ดำเนินคดีแพ่งหรือคดีปกครอง และให้คำปรึกษาด้านกฎหมาย ตรวจร่างสัญญาและเอกสารทางกฎหมายแก่รัฐบาลและหน่วยงานของรัฐ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน และอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในกฎหมาย เรียกว่า องค์กรอัยการ, เดิมเรียกว่า กรมอัยการ, ถ้าหมายถึงเจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะทนายแผ่นดิน เรียกว่า พนักงานอัยการ หรือ ข้าราชการอัยการ, โบราณเรียกว่า พนักงานรักษาพระอัยการ ยกกระบัตร หรือ ยกบัตร. |
| power, resulting | อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | law, constitutional | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | limitations, constitutional | ข้อจำกัดอำนาจโดยรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | liberty of assembly | เสรีภาพในการชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | rigid constitution | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขยาก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | resulting power | อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | referendum, mandatory | การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | right of accession | สิทธิที่จะสืบราชสันตติวงศ์ (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | recess | ๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | subject | ๑. คนในบังคับ (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. เรื่อง (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | accession, right of | สิทธิที่จะสืบราชสันตติวงศ์ (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | assemble | ๑. ชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ และ ก. ปกครอง)๒. มั่วสุม (ก. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | assembly, constituent | สภาร่างรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | assembly, liberty of | เสรีภาพในการชุมนุม (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | amendment, constitutional | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | question | ๑. ปัญหา (ก. ทั่วไป)๒. กระทู้ถาม (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Basic Law | กฎหมายหลักพื้นฐาน (รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ค.ศ. ๑๙๔๙) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | bill | ๑. ตั๋วเงิน (ก. แพ่ง)๒. ใบแจ้งหนี้ (ก. แพ่ง)๓. ร่างกฎหมายที่เสนอสภา (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | mandatory referendum | การลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญ, การลงประชามติแก้ไขกฎบัตร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | minority | ๑. ฝ่ายข้างน้อย (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. ภาวะผู้เยาว์ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | majority | ๑. นิติภาวะ (ก. แพ่ง)๒. เสียงข้างมาก (ในการประชุมบริษัท) (ก. พาณิชย์)๓. เสียงข้างมาก, ฝ่ายข้างมาก (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | monarchy, constitutional | ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | minister | ๑. รัฐมนตรี (ก. รัฐธรรมนูญ)๒. อัครราชทูต (ก. ระหว่างประเทศ)๓. ศาสนาจารย์ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constituent assembly | สภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constituent assembly | สภาร่างรัฐธรรมนูญ [ ดู constitutional convention ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional right | สิทธิตามรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional tribunal | คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional tribunal | ศาลรัฐธรรมนูญ, คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutionalism | รัฐธรรมนูญนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional amendment | การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional convention | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน)[ ดู constituent assembly ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional convention | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [ ดู constituent assembly ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional government | การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional limitations | ข้อจำกัดอำนาจโดยรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitutional limitations | ข้อจำกัดอำนาจฝ่ายนิติบัญญัติโดยรัฐธรรมนูญ (ในการออกกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitutional monarchy | ระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | chancellor | นายกรัฐมนตรี (ของบางประเทศ เช่น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | convention, constitutional | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | convention, constitutional | สภาร่างรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | chilling effect doctrine | ลัทธิที่ขัดขวางการใช้สิทธิของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ (ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | conference | ๑. การประชุมร่วม (ของผู้แทนองค์กรต่าง ๆ) (ก. ปกครอง)๒. การประชุมของคณะกรรมาธิการร่วมระหว่างสองสภา (ก. รัฐธรรมนูญ)๓. การปรึกษาระหว่างลูกความกับทนายความ (ป. วิ. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constituent power | อำนาจเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitution | รัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitution | รัฐธรรมนูญ, ธรรมนูญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | constitution, flexible | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขง่าย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitution, rigid | รัฐธรรมนูญที่แก้ไขยาก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitution, unwritten | รัฐธรรมนูญไม่เป็นลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | constitution, written | รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
| Constitution conventions | จารีตและประเพณีทางรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional amendments | การแก้ไขรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional courts | ศาลรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional history | ประวัติรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Constitutions | รัฐธรรมนูญ [TU Subject Heading] | Heads of State | ผู้แทนที่สำคัญที่สุดของรัฐ หรือประมุขของรัฐ ในบางกรณีอาจทำหน้าที่เป็นตัวแทนของรัฐ ในการเจริญความสัมพันธ์กับประเทศต่างๆ โดยมีอำนาจเต็มที่จะประกอบการใด ๆ ได้ ประมุขของรัฐนั้นอาจได้แก่ พระจักรพรรดิ (Emperor) พระเจ้าแผ่นดิน (King) พระราชินี (Queen) และประธานาธิบดี (President)ประมุขของรัฐย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเคารพ และการยอมรับนับถือจากประเทศอื่นๆ ในสังคมนานาประเทศ ในแง่พิธีการทูต ผู้ที่เป็นกษัตริย์อาจได้รับเกียรติแตกต่างกับผู้ที่เป็นประธานาธิบดี แต่ความแตกต่างเช่นนี้หามีความสำคัญในแง่กฎหมายอย่างใดไม่ เมื่อประมุขของรัฐเดินทางไปเยือนต่างประเทศ ตัวประมุขพร้อมด้วยบุคคลในครอบครัวและบริวารทั้งหลาย ตลอดจนถึงทรัพย์สินของประมุขจะไดรับความคุ้มกัน (Immunity) ทั้งในทางแพ่งและอาญาคำว่าประมุขของรัฐอาจหมายถึงหัวหน้าของรัฐบาลก็ได้ เช่น ในกรณีสหรัฐอเมริกา แต่ในบางประเทศ เช่น อังกฤษ ประมุขของรัฐมิได้เป็นหัวหน้าของรัฐบาล ผู้ที่เป็นหัวหน้าของรัฐบาลได้แก่ นายกรัฐมนตรี (Prime Minister) ในประเทศที่มีการปกครองในรูปสาธารณรัฐ (Republic) ถือว่าอำนาจอธิปไตยตกอยู่กับประชาชน แม้แต่ตัวประธานาธิบดีของประเทศก็ไม่มีอำนาจอธิปไตย หากแต่เป็นประชาชนพลเมืองคนหนึ่ง ซึ่งได้รับการเลือกตั้งให้เข้าไปบริหารประเทศตามกำหนดระยะเวลาหนึ่งภายใต้ รัฐธรรมนูญ และตัวประธานาธิบดี เช่น ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ก็อาจถูกฟ้องให้ขับออกจากตำแหน่งโดยรัฐสภา หรือสภานิติบัญญัติได้ เรียกว่า Impeachment [การทูต] |
| เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญ | [jēttanārom ratthathammanūn] (n, exp) EN: spirit of the constitution FR: esprit de la constitution [ m ] | แก้รัฐธรรมนูญ | [kaē ratthathammanūn = ratthammanūn] (v, exp) EN: amend a constitution FR: modifier la constitution ; amender la constitution | กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ | [kotmāi prakøp ratthathammanūn] (n, exp) EN: Organic Law | กฎหมายรัฐธรรมนูญ | [kotmāi ratthathammanūn = kotmāi ratthammanūn] (n, exp) EN: constitutional law | กฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ | [kotmāi ratthathammanūn prīepthīep] (n, exp) EN: comparative constitutional law | ร่างรัฐธรรมนูญ | [rāng ratthathammanūn = ratthammanūn] (n, exp) EN: draft of a constitution ; constitutional draft ; draft charter FR: projet de constitution [ m ] | รัฐธรรมนูญ | [ratthathammanūn = ratthammanūn] (n) EN: constitution FR: constitution [ f ] | รัฐธรรมนูญเฉพาะกาล | [ratthathammanūn chaphǿkān] (n, exp) EN: provisional constitution FR: constitution provisoire [ f ] | ศาลรัฐธรรมนูญ | [sān ratthathammanūn = sān ratthammanūn] (n, exp) EN: Constitutional Court | สภาร่างรัฐธรรมนูญ | [saphā rāng ratthathammanūn] (n, exp) EN: Constituent Assembly FR: assemblée constituante [ f ] | วันรัฐธรรมนูญ | [wan ratthathammanūn] (x) EN: Constitution Day FR: jour de la Constitution [ f ] |
| constitutional court | (org) ศาลรัฐธรรมนูญ ของประเทศไทยมีชื่อเต็มว่า The Constitutional Court of The Kingdom of Thailand มีโฮมเพจอยู่ที่ http://www.concourt.or.th/ | framer | [เฟรม-เมอ] (n) บุคคลผู้ซึ่งเขียนกฎหมายใหม่ หรือ แผนงานต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น "the framers of the Constitution" (บุคคลที่เขียนกฎหมายรัฐธรรมนูญ), See also: Constitution, law |
| bill | (n) ร่างกฎหมาย, See also: ร่างพระราชบัญญัติ, ร่างรัฐธรรมนูญ, Syn. act, law | charter | (n) กฎบัตร, See also: เอกสารทางการ, รัฐธรรมนูญ | constitution | (n) รัฐธรรมนูญ | Magna Carta | (n) กฎหมาย, See also: รัฐธรรมนูญ, Syn. Magna Charta | Magna Charta | (n) กฎหมาย, See also: รัฐธรรมนูญ, Syn. Magna Carta | unconstitutional | (adj) ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ, Ant. constitutional |
| ariticles of confederatio | รัฐธรรมนูญของ 13 อาณานิคมของอเมริกาในปี 1781 | constituent | (คันสทิช'ชุเอินทฺ) adj. เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ n. องค์ประกอบ, Syn. intrinsic, Ant. extrinsic | constitution | (คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น, การก่อตั้ง, การสถาปนา, ร่างกาย, อุปนิสัย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ, ระเบียบข้อบังคับ, รูปแบบการปกครอง, รากฐาน, Syn. composition | constitutional | (คอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. เป็นรากฐาน, เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, เป็นส่วนสำคัญ, ถูกต้องหรือเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ, เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ. n. การเดินหรือการออกกำลังกายที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, Syn. basic | constitutional law | n. วิชากฎหมายรัฐธรรมนูญ | constitutional monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | junta | (จัน'ทะ) n. กลุ่มเล็ก ๆ ที่บริหารประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหารและก่อนที่จะมีการจัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ) , สภาการเมือง, คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเอง, Syn. clique | limited monarchy | n. การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ, See also: constitutional monarch กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | magna carta | (แมก'นะคาร์'ทะ) n. กฎหมายที่ยิ่งใหญ่, รัฐธรรมนูญฉบับแรกของอังกฤษ | unconstitutional | (อันคอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. ไม่เป็นไปตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ |
| | Constitution Day | [คอนส-ติ-ติว-ฌัน เดย์] (n) วันรัฐธรรมนูญของไทย ซึ่งตรงกับ วันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี, See also: ประชาธิปไตย Image: | in breach of | ฝ่าฝืน เช่น in breath of the charter ฝ่าฝืนรัฐธรรมนูญ |
| 憲法 | [けんぽう, kenpou] (n) รัฐธรรมนูญ | 立憲君主政 | [りっけんくんしゅせい, rikkenkunshusei] (n) การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ |
| 立憲君主政体 | [りっけんくんしゅせいたい, rikkenkunshuseitai] การปกครองระบอบกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ | 憲法記念日 | [けんぽうきねんび, kenpoukinenbi] (n) วันรัฐธรรมนูญ |
| |
add this word
You know the meaning of this word? click [add this word] to add this word to our database with its meaning, to impart your knowledge for the general benefit
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |